SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน- ด้าน-ด้าน เวลา 50 นาที
ชั้นมัธยมศึกษาปี 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
ผู้สอน นายกิตติศักดิ์ นองนุช โรงเรียน-
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1.มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ(visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ(spatial reasoning)
ตัวชี้วัด ค 3.2 ม.2/1 ใชสมบัติเกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของ
เส้นขนานในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทาง คณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ
ทางคณิตศาสตรและ เชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิด
ริเริ่มสรางสรรค
ตัวชี้วัด ค 6.1 ม.2/1 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
2.สาระสาคัญ
ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดๆ มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน(ด.ด.ด.) กล่าวคือ มีด้านยาวเท่ากัน
สามคู่ แล้วรูปสามเหลี่ยมจะเท่ากันทกประการ
3.จุดประสงค์
1.นักเรียนบอกได้ว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดเท่ากันทุกประการ โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์กันแบบ
ด้าน- ด้าน-ด้าน (K)
2.นักเรียนสามารถบอกเหตุผลของรูปสามเหลี่ยมที่มีความเท่ากันทุกประการจากรูปที่กําหนดให้ได้ (P)
3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทํางาน (A)
4.สาระการเรียนรู้
รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์กันแบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน (ด.ด.ด.)
เช่น
จะได้ว่า JKQABC 
JQ=AC , JA ˆˆ 
JK=AB , KB ˆˆ 
KQ=BC , QC ˆˆ 
-มุมคู่ที่สมนัยกันที่เหลืออีก 3 คู่จะมีขนาดเท่ากันเป็นคู่ๆ
5.กิจกรรมเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที)
1) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนได้ทราบ
2) ทบทวนความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ
ด้าน- มุม-ด้าน, มุม-ด้าน-มุม
ครูถามนักเรียนว่า –สามเหลี่ยมสองรูปนี้มีด้านคู่ที่สมนัยกันยาวเท่ากันกี่คู่(2คู่)
-และมุมคู่ที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากันกี่คู่ (1คู่)
-รูปสามเหลี่ยมสองรูปดังกล่าวเท่ากันทุกประการหรือไม่(เท่ากันทุกประการ)
-และมีความสัมพันธ์กันแบบใด(ด.ม.ด.)
B K
JCA Q
A
C
B AD
F
E
ครูถามนักเรียนว่า –สามเหลี่ยมสองรูปนี้มีด้านคู่ที่สมนัยกันยาวเท่ากันกี่คู่(1คู่)
-และมุมคู่ที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากันกี่คู่ (2คู่)
-รูปสามเหลี่ยมสองรูปดังกล่าวเท่ากันทุกประการหรือไม่ (เท่ากันทุกประการ)
-และมีความสัมพันธ์กันแบบใด(ม.ด.ม.)
ขั้นเนื้อหา (20 นาที)
ครูสาธิตการสร้างรูปสามเหลี่ยม 2 รูป ให้มีด้านยาวเท่ากัน 3 คู่ โดยครูสาธิตการสร้าง พร้อมทั้ง
อธิบายขึ้นตอนการสร้าง
-ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มด้วยกัน โดยการนับ 1 2 3 4 5 แล้วใครนับได้เลยอะไรก็อยู่กลุ่มนั้น
-แล้วแจกโจทย์ ให้นักเรียนสร้างรูปสามเหลี่ยม โดยให้แต่ละคู่มีด้านยาวเท่ากัน 3 คู่ แล้วให้นักเรียนใช้กระดาษ
ลอกลายตรวจสอบดูว่าสามเหลี่ยมที่สร้างขึ้นนั้น เท่ากันทุกประการหรือไม่
-เมื่อแต่ละกลุ่มทําเสร็จแล้ว ครูใช้คําถามเพื่อให้ได้คําตอบว่าสามเหลี่ยมที่สร้างขึ้นนั้นเท่ากันทุกประการ จึงได้ข้อ
สรุปว่า รูปสามเหลี่ยมแต่ละรูปที่สร้างขึ้นเท่ากันทุกประการ เพราะสามารถนํารูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่ทับกันได้
สนิท และครุอธิบายเพิ่มเติมว่าเพื่อความสะดวกจะกล่าวว่า รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีด้านยาวเท่ากัน 3 คู่ (ด้าน
ต่อด้าน) เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน หรือเขียนแทนด้วย ด.ด.ด. และผลที่ได้
ตามมาคือมุมคู่ที่สมนัยกันที่เหลืออีก 3 คู่จะมีขนาดเท่ากันเป็นคู่ๆ
B
X A
M
E
T
N
A C
Z
YX
ครูยกตัวอย่าง 2 – 3 โจทย์ โดยการกําหนดสามเหลี่ยมมาสองรูป
ครูถามนักเรียนว่าสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการหรือไม่ และมีความสัมพันธ์กันแบบใด
และให้สุ่มนักเรียนออกมาเขียน แสดงความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมบนกระดาน
ครูถามนักเรียนว่าสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการหรือไม่ และมีความสัมพันธ์กันแบบใด
และให้สุ่มนักเรียนออกมาเขียน แสดงความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมบนกระดาน
A
D
E
B
S
H
F
K
C
F
O
P
ขั้นปฏิบัติ (15 นาที)
ครูให้นักเรียนกลับเข้าโต๊ะของตัวเอง แล้วแจกใบงาน 5.1เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์
แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน ให้นักเรียนทํา ขณะที่นักเรียนทําใบงานครูคอยให้คําแนะนํา
ขั้นสรุป (5 นาที)
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสําคัญ
โดยวิธีถาม – ตอบ
คําถามที่ 1 : วันนี้เราได้เรียนเรื่องของอะไรไปบ้าง
ตอบ : รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน
คําถามที่ 2 : แล้วความสัมพันธ์แบบด้าน –ด้าน- ด้าน นี้เราจะรู้ได้ยังไงว่า สามเหลี่ยมสองรูปมี
ความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน เราดูจากอะไร
ตอบ : สามเหลี่ยมสองรูปนั้นมีด้านคู่ที่สมนัยกันยาวเท่ากัน 3 คู่
คําถามที่ 3 : แล้วมุมคู่ที่สมนัยกันที่เหลืออีก 3 คู่จะเท่ากันหรือไม่
ตอบ : มุมคู่ที่สมนัยกันที่เหลือจะเท่ากันเป็นคู่ๆ
-ครูบอกนักเรียนว่าสําหรับคาบเรียนหน้า ครูจะมาสอนเกี่ยวกับ การนําสมบัติของความเท่ากันทุกประการของรูป
สามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน ไปใช้อ้างอิงในการพิสูจน์กัน
6.สื่อการเรียนการสอน/แหล่งการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
2.ใบงานที่ 5.1 เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน
3.รูปสามเหลี่ยม ต่างๆ
7.การวัดและประเมินผล
7.1 การวัดผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือการวัดผล
1.นักเรียนบอกได้ว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดเท่ากันทุก
ประการ โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์กันแบบ ด้าน-
ด้าน-ด้าน (K)
-ตรวจใบงานที่5.1 -ใบงานที่ 5.1
2.นักเรียนสามารถบอกเหตุผลของรูปสามเหลี่ยมที่มี
ความเท่ากันทุกประการจากรูปที่กําหนดให้ได้ (P)
-ตรวจใบงานที่ 5.1 -ใบงานที่ 5.1
3.นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทํางาน(A) -สังเกตพฤติกรรมขณะ
เรียน
-การตอบคําถามของ
นักเรียน
-แบบสังเกตพฤติกรรม
รายบุคคล
-คําถาม
7.2 เกณฑ์การประเมิน
ด้านความรู้
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดีมาก (4) ดี (3) กําลังพัฒนา (2) ต้องปรับปรุง (1)
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง รูป
สามเหลี่ยมสองรูปที่มี
ความสัมพันธ์แบบ ด้าน-
ด้าน-ด้าน
ทําใบงานที่ 5.1
ถูกต้องร้อยละ80
ขึ้นไป
ทําใบงานที่ 5.1
ถูกต้องร้อยละ
70-79
ทําใบงานที่ 5.1
ถูกต้องร้อยละ
40-69
ทําใบงานที่ 5.1
ถูกต้องร้อยละ 40
ด้านทักษะกระบวนการ
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดีมาก (4) ดี (3) กําลังพัฒนา (2) ต้องปรับปรุง (1)
ความมุ่งมั่นในการ
ทํางาน
ตั้งใจและ
รับผิดชอบในการ
ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมายให้สําเร็จ
มีการปรับปรุงและ
พัฒนาการทํางาน
ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ตั้งใจและ
รับผิดชอบในการ
ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมายให้สําเร็จ
มีการปรับปรุงและ
พัฒนาการทํางาน
ให้ดีขึ้น
ตั้งใจและ
รับผิดชอบในการ
ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมายให้สําเร็จ
มีการปรับปรุงการ
ทํางานให้ดีขึ้น
ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
หน้าที่ในการ
ทํางาน
7.3 เกณฑ์การตัดสิน
- รายบุคคล นักเรียนมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ํากว่าระดับ 2 ซึ่งถือว่าผ่าน
- รายกลุ่ม ร้อยละ 80 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมดมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ํากว่าระดับ 2
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ
ดีมาก (4) ดี (3) กําลังพัฒนา (2) ต้องปรับปรุง (1)
สามารถบอกเหตุผลของ
รูปสามเหลี่ยมที่มีความ
เท่ากันทุกประการจาก
รูปที่กําหนดให้ได้
สามารถให้เหตุผล
ของรูปสามเหลี่ยม
ที่มีความเท่ากันทุก
ประการจากรูปที่
กําหนดให้ได้
สามารถให้เหตุผล
ของรูปสามเหลี่ยม
ที่มีความเท่ากันทุก
ประการจากรูปที่
กําหนดให้ได้ถูกต้อง
บางส่วน
สามารถให้เหตุผล
ของรูปสามเหลี่ยม
ที่มีความเท่ากันทุก
ประการจากรูปที่
กําหนดให้ไม่
ถูกต้อง
ไม่สามารถให้
เหตุผลของรูป
สามเหลี่ยมที่มี
ความเท่ากันทุก
ประการจากรูปที่
กําหนดให้
8.ข้อเสนอแนะ
ใช้สอนได้……………………………………………………………………………………………………………….
ต้องปรับปรุง……………………………………………………………………………….......…………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ…………………………………..ครูพี่เลี้ยง
( )
วันที่……เดือน…………..พ.ศ……
9.บันทึกหลังการสอน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้
ดี พอใช้ ปรับปรุง……………………………............................................................
ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการทํากิจกรรม
ดี พอใช้ ปรับปรุง……………………………............................................................
ความเหมาะสมของเกณฑ์การประเมิน
ดี พอใช้ ปรับปรุง……………………………............................................................
อื่น ๆ…………………………………………………………………………………………………..............................................
10.ข้อสังเกต/ค้นพบ
จากการตรวจผลงานของนักเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.แนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อปรับปรุง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
12.ผลการพัฒนา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ…………………………………..ครูผู้สอน
( )
วันที่……เดือน…………..พ.ศ……
บันทึกหลังการสอน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน- ด้าน-ด้าน
นักเรียนจํานวน..................... คน มีผลการเรียนรู้อยู่ในระดับ 1 / ปรับปรุง
นักเรียนจํานวน..................... คน มีผลการเรียนรู้อยู่ในระดับ 2 / พอใช้
นักเรียนจํานวน..................... คน มีผลการเรียนรู้อยู่ในระดับ 3 / ดี
นักเรียนจํานวน..................... คน มีผลการเรียนรู้อยู่ในระดับ 4 / ดีมาก
1.ผลการเรียน
1.1ผลการเรียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1.2ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1.3ผลการปฏิบัติ/ผลงาน/ชิ้นงานที่มอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.ข้อคิดเห็นที่เกิดจากการเรียนการสอน/เทคนิคการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ…………………………………..ครูผู้สอน
( นายกิตติศักดิ์ นองนุช )
สรุปผลการประเมินผู้เรียน (K)
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 1
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 2
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 3
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 4
สรุปโดยภาพรวมมีนักเรียนจํานวน…..คน คิดเป็นร้อยละ………ที่ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 ขึ้นไป ซึ่งสูง(ต่ํา)
กว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ร้อยละ 80 มีนักเรียน……คน คิดเป็นร้อยละ…….ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กําหนด
สรุปผลการประเมินผู้เรียน (P)
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 1
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 2
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 3
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 4
สรุปโดยภาพรวมมีนักเรียนจํานวน…..คน คิดเป็นร้อยละ………ที่ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 ขึ้นไป ซึ่งสูง(ต่ํา)
กว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ร้อยละ 80 มีนักเรียน……คน คิดเป็นร้อยละ…….ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กําหนด
สรุปผลการประเมินผู้เรียน (A)
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 1
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 2
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 3
นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 4
สรุปโดยภาพรวมมีนักเรียนจํานวน…..คน คิดเป็นร้อยละ………ที่ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 ขึ้นไป ซึ่งสูง(ต่ํา)
กว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ร้อยละ 80 มีนักเรียน……คน คิดเป็นร้อยละ…….ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กําหนด
ลงชื่อ...........................................ผู้สอน
( นายกิตติศักดิ์ นองนุช )
แบบสรุปผลการประเมินผลแผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน- ด้าน-ด้าน
ตัวชี้วัด ค 3.2 ม.2/1 ใชสมบัติเกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของ
เส้นขนานในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด ค 6.1 ม.2/1 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ที่ ชื่อ - สกุล ด้าน
ความรู้
(K)
ด้านทักษะ
(P)
ด้านคุณลักษณะ
(A)
รวม
คะแนน
ระดับ
1 นางสาวพัณนิดา แซ่ย่าง
2 นางสาวสุภาพรรณ กันธิ
3 นางสาวสาวิตตรี บางทวี
4 นางสาวณัฏฐ์ชญา สามคูเมือง
5 นางสาวแสงจันทร์ พิทยาการนุรัตน์
6 นายปฏิพล ภิมาลย์
7 นายวีระ กล้าพันธุ์ดี
8 นางสาววันดี หยกลักษมีรุ่ง
9 นางสาวรุ่งทิพย์ แก้วกุฬา
10 นางสาวธมลวรรณ ฝั้นสัญจร
11 นางสาวนุชศรา วรรณศรี
12 นางสาวรุ่งนภา ลางอินทร์
13 นางสาวพรทิพย์ สหเจริญชัย
14 นางสาวกรรณิการ์ กุลพินิจ
15 นางสาวรสสุคนธ์ แก้วสอาด
16 นายปราโมทย์ เอี่ยมสําอางค์
17 นายกิตติพงศ์ ศรีเงิน
18 นางสาวสุวกาญจน์ จูโล่
19 นางสาวจันทิมา ดีสอน
20 นางสาวสุชาวดี เขียวบ้านยาง
21 นายธีระพล ปัญญาใส
22 นางสาวปิยะวดี อัมวงศ์
23 นายณัฐวุฒิ โพธิ์เอี่ยม
24 นางสาวประภารัตน์ พันธเสน
การสรุปภาพรวมของผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จะสรุปเป็นระดับคุณภาพดังนี้
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
12 – 11
10 – 8
7 – 5
ต่ํากว่า 5
4 (ดีมาก)
3 (ดี)
2 (พอใช้)
1 (ปรับปรุง)
การประกันคุณภาพผลการเรียนรู้และผลการสอน
รายบุคคล : นักเรียนมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ํากว่าระดับ 2 ซึ่งถือว่าผ่าน
รายกลุ่ม : ร้อยละ 80 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมดมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ํากว่าระดับ 2
ที่ ชื่อ - สกุล ด้าน
ความรู้
(K)
ด้านทักษะ
(P)
ด้านคุณลักษณะ
(A)
รวม
คะแนน
ระดับ
25 นายปวริศ เทพรักษ์
26 นายอภิเกียรติ ชื่นสมบัติ
27 นายกฤษณ์ดนัย ศรีใจวงศ์
28 นายสิทธิชัย พานิชย์วิไล
29 นายปัญญาวัฒน์ อิ่มเต็ม
กิจกรรม สารวจ ด้าน ด้าน ด้าน
 ให้นักเรียนสร้างรูปสามเหลี่ยมจากรูปสามเหลี่ยมที่กําหนดให้ โดยแต่มีด้านยาวเท่ากัน 3 คู่ และตั้งชื่อ
ของรูปสามเหลี่ยม
1.
2.
B
A C
F
E G
กลุ่มที่…………
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน – ด้าน – ด้าน
คาชี้แจง พิจารณาว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน และเท่ากันแบบด้าน-ด้าน-ด้าน
ใช้หรือไม่แล้วทําเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ต้องการ
ข้อ
ความสัมพันธ์แบบ
ด้าน-ด้าน-ด้าน
รูปสามเหลี่ยมสองรูปเท่ากัน
ทุกประการแบบ ด้าน-ด้าน-
ด้าน
ใช่ ไม่ใช่ เท่ากัน ไม่เท่ากัน
1)
2)
3)
4.
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน – ด้าน – ด้าน
คาชี้แจง พิจารณาว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน และเท่ากันแบบด้าน-ด้าน-ด้าน
ใช้หรือไม่แล้วทําเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ต้องการ
ข้อ
ความสัมพันธ์แบบ
ด้าน-ด้าน-ด้าน
รูปสามเหลี่ยมสองรูปเท่ากัน
ทุกประการแบบ ด้าน-ด้าน-
ด้าน
ใช่ ไม่ใช่ เท่ากัน ไม่เท่ากัน
1)
2)
3)
4.

More Related Content

What's hot

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...เล็ก น่ารัก
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังkatokung
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลังการประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลังkroojaja
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์sarawut saoklieo
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1guychaipk
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลัง
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
 
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลังการประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 

Viewers also liked

บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1KruGift Girlz
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 

Viewers also liked (7)

ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 

Similar to เเผนสามเหลี่ยม ม2

4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์krutew Sudarat
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาwichudaaon
 

Similar to เเผนสามเหลี่ยม ม2 (20)

Learning management plan 3
Learning management plan 3Learning management plan 3
Learning management plan 3
 
แบบรูป1
แบบรูป1แบบรูป1
แบบรูป1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
 

เเผนสามเหลี่ยม ม2

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน- ด้าน-ด้าน เวลา 50 นาที ชั้นมัธยมศึกษาปี 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ผู้สอน นายกิตติศักดิ์ นองนุช โรงเรียน- ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ(visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ(spatial reasoning) ตัวชี้วัด ค 3.2 ม.2/1 ใชสมบัติเกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของ เส้นขนานในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทาง คณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและ เชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิด ริเริ่มสรางสรรค ตัวชี้วัด ค 6.1 ม.2/1 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม 2.สาระสาคัญ ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดๆ มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน(ด.ด.ด.) กล่าวคือ มีด้านยาวเท่ากัน สามคู่ แล้วรูปสามเหลี่ยมจะเท่ากันทกประการ 3.จุดประสงค์ 1.นักเรียนบอกได้ว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดเท่ากันทุกประการ โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์กันแบบ ด้าน- ด้าน-ด้าน (K) 2.นักเรียนสามารถบอกเหตุผลของรูปสามเหลี่ยมที่มีความเท่ากันทุกประการจากรูปที่กําหนดให้ได้ (P) 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทํางาน (A)
  • 2. 4.สาระการเรียนรู้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์กันแบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน (ด.ด.ด.) เช่น จะได้ว่า JKQABC  JQ=AC , JA ˆˆ  JK=AB , KB ˆˆ  KQ=BC , QC ˆˆ  -มุมคู่ที่สมนัยกันที่เหลืออีก 3 คู่จะมีขนาดเท่ากันเป็นคู่ๆ 5.กิจกรรมเรียนรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (10 นาที) 1) ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นักเรียนได้ทราบ 2) ทบทวนความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน- มุม-ด้าน, มุม-ด้าน-มุม ครูถามนักเรียนว่า –สามเหลี่ยมสองรูปนี้มีด้านคู่ที่สมนัยกันยาวเท่ากันกี่คู่(2คู่) -และมุมคู่ที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากันกี่คู่ (1คู่) -รูปสามเหลี่ยมสองรูปดังกล่าวเท่ากันทุกประการหรือไม่(เท่ากันทุกประการ) -และมีความสัมพันธ์กันแบบใด(ด.ม.ด.) B K JCA Q A C B AD F E
  • 3. ครูถามนักเรียนว่า –สามเหลี่ยมสองรูปนี้มีด้านคู่ที่สมนัยกันยาวเท่ากันกี่คู่(1คู่) -และมุมคู่ที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากันกี่คู่ (2คู่) -รูปสามเหลี่ยมสองรูปดังกล่าวเท่ากันทุกประการหรือไม่ (เท่ากันทุกประการ) -และมีความสัมพันธ์กันแบบใด(ม.ด.ม.) ขั้นเนื้อหา (20 นาที) ครูสาธิตการสร้างรูปสามเหลี่ยม 2 รูป ให้มีด้านยาวเท่ากัน 3 คู่ โดยครูสาธิตการสร้าง พร้อมทั้ง อธิบายขึ้นตอนการสร้าง -ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มด้วยกัน โดยการนับ 1 2 3 4 5 แล้วใครนับได้เลยอะไรก็อยู่กลุ่มนั้น -แล้วแจกโจทย์ ให้นักเรียนสร้างรูปสามเหลี่ยม โดยให้แต่ละคู่มีด้านยาวเท่ากัน 3 คู่ แล้วให้นักเรียนใช้กระดาษ ลอกลายตรวจสอบดูว่าสามเหลี่ยมที่สร้างขึ้นนั้น เท่ากันทุกประการหรือไม่ -เมื่อแต่ละกลุ่มทําเสร็จแล้ว ครูใช้คําถามเพื่อให้ได้คําตอบว่าสามเหลี่ยมที่สร้างขึ้นนั้นเท่ากันทุกประการ จึงได้ข้อ สรุปว่า รูปสามเหลี่ยมแต่ละรูปที่สร้างขึ้นเท่ากันทุกประการ เพราะสามารถนํารูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่ทับกันได้ สนิท และครุอธิบายเพิ่มเติมว่าเพื่อความสะดวกจะกล่าวว่า รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีด้านยาวเท่ากัน 3 คู่ (ด้าน ต่อด้าน) เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน หรือเขียนแทนด้วย ด.ด.ด. และผลที่ได้ ตามมาคือมุมคู่ที่สมนัยกันที่เหลืออีก 3 คู่จะมีขนาดเท่ากันเป็นคู่ๆ B X A M E T N A C Z YX
  • 4. ครูยกตัวอย่าง 2 – 3 โจทย์ โดยการกําหนดสามเหลี่ยมมาสองรูป ครูถามนักเรียนว่าสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการหรือไม่ และมีความสัมพันธ์กันแบบใด และให้สุ่มนักเรียนออกมาเขียน แสดงความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมบนกระดาน ครูถามนักเรียนว่าสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการหรือไม่ และมีความสัมพันธ์กันแบบใด และให้สุ่มนักเรียนออกมาเขียน แสดงความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมบนกระดาน A D E B S H F K C F O P
  • 5. ขั้นปฏิบัติ (15 นาที) ครูให้นักเรียนกลับเข้าโต๊ะของตัวเอง แล้วแจกใบงาน 5.1เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์ แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน ให้นักเรียนทํา ขณะที่นักเรียนทําใบงานครูคอยให้คําแนะนํา ขั้นสรุป (5 นาที) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสําคัญ โดยวิธีถาม – ตอบ คําถามที่ 1 : วันนี้เราได้เรียนเรื่องของอะไรไปบ้าง ตอบ : รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน คําถามที่ 2 : แล้วความสัมพันธ์แบบด้าน –ด้าน- ด้าน นี้เราจะรู้ได้ยังไงว่า สามเหลี่ยมสองรูปมี ความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน เราดูจากอะไร ตอบ : สามเหลี่ยมสองรูปนั้นมีด้านคู่ที่สมนัยกันยาวเท่ากัน 3 คู่ คําถามที่ 3 : แล้วมุมคู่ที่สมนัยกันที่เหลืออีก 3 คู่จะเท่ากันหรือไม่ ตอบ : มุมคู่ที่สมนัยกันที่เหลือจะเท่ากันเป็นคู่ๆ -ครูบอกนักเรียนว่าสําหรับคาบเรียนหน้า ครูจะมาสอนเกี่ยวกับ การนําสมบัติของความเท่ากันทุกประการของรูป สามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน ไปใช้อ้างอิงในการพิสูจน์กัน 6.สื่อการเรียนการสอน/แหล่งการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 2.ใบงานที่ 5.1 เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน 3.รูปสามเหลี่ยม ต่างๆ
  • 6. 7.การวัดและประเมินผล 7.1 การวัดผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือการวัดผล 1.นักเรียนบอกได้ว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดเท่ากันทุก ประการ โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์กันแบบ ด้าน- ด้าน-ด้าน (K) -ตรวจใบงานที่5.1 -ใบงานที่ 5.1 2.นักเรียนสามารถบอกเหตุผลของรูปสามเหลี่ยมที่มี ความเท่ากันทุกประการจากรูปที่กําหนดให้ได้ (P) -ตรวจใบงานที่ 5.1 -ใบงานที่ 5.1 3.นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทํางาน(A) -สังเกตพฤติกรรมขณะ เรียน -การตอบคําถามของ นักเรียน -แบบสังเกตพฤติกรรม รายบุคคล -คําถาม 7.2 เกณฑ์การประเมิน ด้านความรู้ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (4) ดี (3) กําลังพัฒนา (2) ต้องปรับปรุง (1) ใบงานที่ 5.1 เรื่อง รูป สามเหลี่ยมสองรูปที่มี ความสัมพันธ์แบบ ด้าน- ด้าน-ด้าน ทําใบงานที่ 5.1 ถูกต้องร้อยละ80 ขึ้นไป ทําใบงานที่ 5.1 ถูกต้องร้อยละ 70-79 ทําใบงานที่ 5.1 ถูกต้องร้อยละ 40-69 ทําใบงานที่ 5.1 ถูกต้องร้อยละ 40
  • 7. ด้านทักษะกระบวนการ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (4) ดี (3) กําลังพัฒนา (2) ต้องปรับปรุง (1) ความมุ่งมั่นในการ ทํางาน ตั้งใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายให้สําเร็จ มีการปรับปรุงและ พัฒนาการทํางาน ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง ตั้งใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายให้สําเร็จ มีการปรับปรุงและ พัฒนาการทํางาน ให้ดีขึ้น ตั้งใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายให้สําเร็จ มีการปรับปรุงการ ทํางานให้ดีขึ้น ไม่ตั้งใจปฏิบัติ หน้าที่ในการ ทํางาน 7.3 เกณฑ์การตัดสิน - รายบุคคล นักเรียนมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ํากว่าระดับ 2 ซึ่งถือว่าผ่าน - รายกลุ่ม ร้อยละ 80 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมดมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ํากว่าระดับ 2 ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (4) ดี (3) กําลังพัฒนา (2) ต้องปรับปรุง (1) สามารถบอกเหตุผลของ รูปสามเหลี่ยมที่มีความ เท่ากันทุกประการจาก รูปที่กําหนดให้ได้ สามารถให้เหตุผล ของรูปสามเหลี่ยม ที่มีความเท่ากันทุก ประการจากรูปที่ กําหนดให้ได้ สามารถให้เหตุผล ของรูปสามเหลี่ยม ที่มีความเท่ากันทุก ประการจากรูปที่ กําหนดให้ได้ถูกต้อง บางส่วน สามารถให้เหตุผล ของรูปสามเหลี่ยม ที่มีความเท่ากันทุก ประการจากรูปที่ กําหนดให้ไม่ ถูกต้อง ไม่สามารถให้ เหตุผลของรูป สามเหลี่ยมที่มี ความเท่ากันทุก ประการจากรูปที่ กําหนดให้
  • 8. 8.ข้อเสนอแนะ ใช้สอนได้………………………………………………………………………………………………………………. ต้องปรับปรุง……………………………………………………………………………….......……………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ…………………………………..ครูพี่เลี้ยง ( ) วันที่……เดือน…………..พ.ศ…… 9.บันทึกหลังการสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้ ดี พอใช้ ปรับปรุง……………………………............................................................ ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการทํากิจกรรม ดี พอใช้ ปรับปรุง……………………………............................................................ ความเหมาะสมของเกณฑ์การประเมิน ดี พอใช้ ปรับปรุง……………………………............................................................ อื่น ๆ………………………………………………………………………………………………….............................................. 10.ข้อสังเกต/ค้นพบ จากการตรวจผลงานของนักเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 9. 11.แนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อปรับปรุง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 12.ผลการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ครูผู้สอน ( ) วันที่……เดือน…………..พ.ศ……
  • 10. บันทึกหลังการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน- ด้าน-ด้าน นักเรียนจํานวน..................... คน มีผลการเรียนรู้อยู่ในระดับ 1 / ปรับปรุง นักเรียนจํานวน..................... คน มีผลการเรียนรู้อยู่ในระดับ 2 / พอใช้ นักเรียนจํานวน..................... คน มีผลการเรียนรู้อยู่ในระดับ 3 / ดี นักเรียนจํานวน..................... คน มีผลการเรียนรู้อยู่ในระดับ 4 / ดีมาก 1.ผลการเรียน 1.1ผลการเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3ผลการปฏิบัติ/ผลงาน/ชิ้นงานที่มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.ข้อคิดเห็นที่เกิดจากการเรียนการสอน/เทคนิคการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ครูผู้สอน ( นายกิตติศักดิ์ นองนุช )
  • 11. สรุปผลการประเมินผู้เรียน (K) นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 1 นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 2 นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 3 นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 4 สรุปโดยภาพรวมมีนักเรียนจํานวน…..คน คิดเป็นร้อยละ………ที่ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 ขึ้นไป ซึ่งสูง(ต่ํา) กว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ร้อยละ 80 มีนักเรียน……คน คิดเป็นร้อยละ…….ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กําหนด สรุปผลการประเมินผู้เรียน (P) นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 1 นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 2 นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 3 นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 4 สรุปโดยภาพรวมมีนักเรียนจํานวน…..คน คิดเป็นร้อยละ………ที่ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 ขึ้นไป ซึ่งสูง(ต่ํา) กว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ร้อยละ 80 มีนักเรียน……คน คิดเป็นร้อยละ…….ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กําหนด สรุปผลการประเมินผู้เรียน (A) นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 1 นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 2 นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 3 นักเรียนจํานวน..................... คน คิดเป็นร้อยละ....................... มีผลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดับ 4 สรุปโดยภาพรวมมีนักเรียนจํานวน…..คน คิดเป็นร้อยละ………ที่ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 ขึ้นไป ซึ่งสูง(ต่ํา) กว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ร้อยละ 80 มีนักเรียน……คน คิดเป็นร้อยละ…….ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กําหนด ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ( นายกิตติศักดิ์ นองนุช )
  • 12. แบบสรุปผลการประเมินผลแผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ ด้าน- ด้าน-ด้าน ตัวชี้วัด ค 3.2 ม.2/1 ใชสมบัติเกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของ เส้นขนานในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ค 6.1 ม.2/1 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ที่ ชื่อ - สกุล ด้าน ความรู้ (K) ด้านทักษะ (P) ด้านคุณลักษณะ (A) รวม คะแนน ระดับ 1 นางสาวพัณนิดา แซ่ย่าง 2 นางสาวสุภาพรรณ กันธิ 3 นางสาวสาวิตตรี บางทวี 4 นางสาวณัฏฐ์ชญา สามคูเมือง 5 นางสาวแสงจันทร์ พิทยาการนุรัตน์ 6 นายปฏิพล ภิมาลย์ 7 นายวีระ กล้าพันธุ์ดี 8 นางสาววันดี หยกลักษมีรุ่ง 9 นางสาวรุ่งทิพย์ แก้วกุฬา 10 นางสาวธมลวรรณ ฝั้นสัญจร 11 นางสาวนุชศรา วรรณศรี 12 นางสาวรุ่งนภา ลางอินทร์ 13 นางสาวพรทิพย์ สหเจริญชัย 14 นางสาวกรรณิการ์ กุลพินิจ 15 นางสาวรสสุคนธ์ แก้วสอาด 16 นายปราโมทย์ เอี่ยมสําอางค์ 17 นายกิตติพงศ์ ศรีเงิน 18 นางสาวสุวกาญจน์ จูโล่ 19 นางสาวจันทิมา ดีสอน 20 นางสาวสุชาวดี เขียวบ้านยาง 21 นายธีระพล ปัญญาใส 22 นางสาวปิยะวดี อัมวงศ์ 23 นายณัฐวุฒิ โพธิ์เอี่ยม 24 นางสาวประภารัตน์ พันธเสน
  • 13. การสรุปภาพรวมของผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จะสรุปเป็นระดับคุณภาพดังนี้ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 – 11 10 – 8 7 – 5 ต่ํากว่า 5 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) การประกันคุณภาพผลการเรียนรู้และผลการสอน รายบุคคล : นักเรียนมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ํากว่าระดับ 2 ซึ่งถือว่าผ่าน รายกลุ่ม : ร้อยละ 80 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมดมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ํากว่าระดับ 2 ที่ ชื่อ - สกุล ด้าน ความรู้ (K) ด้านทักษะ (P) ด้านคุณลักษณะ (A) รวม คะแนน ระดับ 25 นายปวริศ เทพรักษ์ 26 นายอภิเกียรติ ชื่นสมบัติ 27 นายกฤษณ์ดนัย ศรีใจวงศ์ 28 นายสิทธิชัย พานิชย์วิไล 29 นายปัญญาวัฒน์ อิ่มเต็ม
  • 14. กิจกรรม สารวจ ด้าน ด้าน ด้าน  ให้นักเรียนสร้างรูปสามเหลี่ยมจากรูปสามเหลี่ยมที่กําหนดให้ โดยแต่มีด้านยาวเท่ากัน 3 คู่ และตั้งชื่อ ของรูปสามเหลี่ยม 1. 2. B A C F E G กลุ่มที่…………
  • 15. ใบงานที่ 5.1 เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน – ด้าน – ด้าน คาชี้แจง พิจารณาว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน และเท่ากันแบบด้าน-ด้าน-ด้าน ใช้หรือไม่แล้วทําเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ต้องการ ข้อ ความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน รูปสามเหลี่ยมสองรูปเท่ากัน ทุกประการแบบ ด้าน-ด้าน- ด้าน ใช่ ไม่ใช่ เท่ากัน ไม่เท่ากัน 1) 2) 3) 4.
  • 16. ใบงานที่ 5.1 เรื่อง รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์แบบ ด้าน – ด้าน – ด้าน คาชี้แจง พิจารณาว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน และเท่ากันแบบด้าน-ด้าน-ด้าน ใช้หรือไม่แล้วทําเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ต้องการ ข้อ ความสัมพันธ์แบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน รูปสามเหลี่ยมสองรูปเท่ากัน ทุกประการแบบ ด้าน-ด้าน- ด้าน ใช่ ไม่ใช่ เท่ากัน ไม่เท่ากัน 1) 2) 3) 4.