SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 มารยาททางธุรกิจนับว่ามีความจาเป็นอย่างยิ่งในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกันและใน
กระบวนการเจรจาต่อรอง รวมทั้งการดาเนินการในทางธุรกิจ นี่อาจเป็นตัวกาหนดถึง
ความสาเร็จหรือความล้มเหลวเลยทีเดียว มารยาทและโดยเฉพาะมารยาทในทางธุรกิจ จึง
นับเป็นวิถีในการที่จะทาให้ศักยภาพทางธุรกิจของคุณสูงขึ้นหรือต่าลง
 กล่าวถึงมารยาททางธุรกิจแล้วก็คือการที่เราอยู่หรือติดต่อกับใครได้อย่างผ่อนคลาย รู้สึกดี
แบบสบายๆ สื่อสารกันได้ เข้ากันดี มีความไว้วางใจ สิ่งเหล่านี้เป็นบทบาทมารยาททางธุรกิจ
และมารยาททางสังคมที่จะเป็นตัวกาหนดให้เกิดขึ้นได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 มารยาททางธุรกิจมีความแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและวัฒนธรรมแต่ก็อาจกล่าวได้
ว่ามีเรื่องหลักๆที่เราควรให้ความสนใจก็คือ
 เรื่องของพฤติกรรม กริยาท่าทางและทัศนคติที่แต่ละคนมีจะเป็นเครื่องบ่งบอกตัวตนของ
คน และจะบอกได้ถึงคุณลักษณะข้างในของคนๆนั้น หากว่าเป็นคนที่ชอบเห็นแก่ตัว ไม่มี
วินัยซุ่มซ่ามไม่มีมารยาท ย่อมแน่นอนว่าความสัมพันธ์กับคนอื่นคงไปไม่รอด ดังนั้น การมี
มารยาทที่เหมาะสมจะส่งผลเชิงบวกต่ออุปนิสัยที่แสดงออก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความซื่อสัตย์ชื่อเสียงของคุณที่ได้รับการกล่าวขวัญจะไปในโลกธุรกิจ ขอให้ละลึกว่า
ความซื่อสัตย์สร้างขึ้นมาได้อย่างช้าๆ แต่ก็อาจสูญเสียไปได้อย่างรวดเร็ว
 คุณลักษณะ คุณลักษณะของคุณที่สุดแล้วก็เชื่อมโยงไปสู่การทาธุรกิจ มารยาททางธุรกิจ
จะช่วยในการที่คุณจะแสดงออกได้ถึงคุณภาพเชิงบวกของคุณ เช่น ให้รู้ถึงกาลเทศะ การ
แสดงออกของอารมณ์ ความรู้สึกหรือความมั่นใจจนไม่ถึงกับหยิ่งผยอง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความอ่อนไหว ความอ่อนไหวต่อสิ่งสาคัญรอบข้าง ตอบสนองอย่างคนที่มีดุลยพินิจและคิด
รอบคอบซึ่งก็ไม่ได้จากประสบการณ์และรู้ถึงมารยาททางธุรกิจนั่นเอง การหลีกเลี่ยงความไม่เข้าใจ
และการตีความผิดๆที่จะเกิดขึ้นได้ย่อมเป็นรากฐานการสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่เข้มแข็ง
 ว่าด้วยการทูต หลีกเลี่ยงคาพูดออกไปที่ปราศจากความคิด รวมทั้งการกระทาไม่เหมาะสม หาไม่
แล้วจะมีผลกระทบเชิงลบตามมา มารยาททางธุรกิจจึงเปรียบเสมือนการแสดงออกอย่างเหมาะสม
การระมัดระวังในเรื่องผลประโยชน์ของผู้อื่น และการแสดงออกในแบบที่เป็นที่ยอมรับนับว่าสาคัญ
 รูปลักษณ์ที่ปรากฏ การแต่งตัวที่เหมาะสมต่อกาลเทศะ รวมทั้งเรื่องของการยืน การเดิน การนั่ง ที่
ถูกเวลา ท่าทาง เมื่อมองดูแล้วมีความเจริญหูเจริญตา ล้วนสร้างความประทับใจ เรื่องของมารยาท
ทางธุรกิจจะช่วยสอนคุณได้ในเรื่องเหล่านี้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
หากได้มีการวิเคราะห์ทาความเข้าใจ และก็ดาเนินการให้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมก็
จะเป็นกุญแจที่จะไขไปสู่ความสาเร็จของการติดต่อกับคนต่างประเทศ และยังจะช่วยแก้ไข
ผ่อนคลายปัญหาอื่นๆ เช่น การที่อาจสื่อสารกันอย่างกะพร่องกะแพร่ง หรือความไม่เข้าใจ
ต่างๆ ก็จะช่วยนาไปสู่ความสาเร็จในชั้นต่อไปได้ สาหรับมารยาทที่สาคัญๆได้แก่
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การเขียนจดหมายติดต่อทางธุรกิจอาจไม่ใช่เรื่องการที่จะสื่อและแสดงออกทาง
ความคิดได้ชัดเจนทั้งหมด และหากไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องก็อาจส่งผลเชิงลบ
ตามมา รากฐานจริงๆ ของการเขียนจดหมายทางธุรกิจที่ดีก็คือ ขอให้คิดให้ดีก่อนที่จะเขียน
อะไรลงไป ขอให้พิจารณาให้มากกว่าจดหมายกาลังจะส่งถึงใคร อย่างไร และทาไม และนั่น
จะเป็นตัวกาหนดสไตล์เนื้อหาและโครงสร้างของจดหมาย
ต่อไปนี้เป็นข้อแนะนาแนวทางที่ดีในการเขียน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การจ่าหน้านาเรียน ขอให้ตรวจสอบให้ถูกต้องเสมอเกี่ยวกับการสะกดชื่อผู้รับให้ถูกต้อง ดู
- เหมือนว่าจะเป็นเรื่องง่ายแต่เห็นอยู่ไม่น้อยที่มีความผิดพลาด คนที่รับย่อมหงุดหงิดแน่ ในการระบุชื่อ
ผู้รับ ควรที่จะต้องใส่พวกคานาหน้า (นาย นาง นางสาว) และยศ ตาแหน่งทางวิชาการต่างๆ ที่สาคัญ
ด้วย (ดร.)
- คนทั่วไปใช้คาขึ้นต้นลงท้าย Dear Sir / Yours Faithfully นี่นับว่าเป็นการ
ใช้ทั่วไป เป็นปกติประจา
- และไม่ระบุบุคคลนัก แต่ถ้าหากเป็นเรื่องที่ต้องการรู้ มีข้อสอบถาม หรือการร้องเรียน ควรใช้ว่า
Dear Mr. …/ Yours Sincerely จะเหมาะสมกว่า
- และหากว่ามีความคุ้นเคยกันพอควรแล้วก็อาจใช้คาลงท้ายที่เป็นกันเองได้โดยไม่ถือว่าเสียมารยาท
เช่น Kind Regards หรือ All the Best
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความลับ หากว่าเนื้อหาของจดหมายมีประเด็นอ่อนไหวเป็นส่วนตัวหรือมีความลับอยู่ ก็ควร
จะต้องมีการระบุไว้ที่จดหมายและที่ซองอย่างเหมาะสม โดยอาจระบุว่า “ลับ”
(Confidential) หากต้องการให้ผู้รับเป็นคนอ่านโดยตรงคนเดียว (เช่น ไม่
ต้องการให้มีการเปิดซองประทับตราลงรับ) ก็ขอให้ระบุว่า PA หรือ Private หรือ
Personal หรือ Strictly Confidential หากคุณได้รับจดหมายแบบนั้น
ในการตอบกลับก็อาจรักษาความลับในระดับเดียวกันในการสื่อสารกลับไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 สไตล์ สไตล์การเขียนจดหมายธุรกิจจะต้องมีความชัดเจนและก็ถือเป็นกฎว่าการเขียนควร
จะเป็นทางการถึงแม้ว่าผู้รับจะมีความคุ้นเคยกับคุณแล้วก็ตาม การรักษาระดับไว้ก็เพื่อที่ว่า
อาจมีการนาไปใช้อ้างอิงโดยบุคคลที่สามในโอกาสต่อไปอย่างไรก็ตามไม่ได้หมายถึงว่าการ
เขียนจดหมายนั้นจะใช้คาที่ยาวยืดยาด คาศัพท์แบบผิดปกติธรรมดาไปนัก เพราะนี่อาจดู
แปลกและทาให้จดหมายไม่น่าอ่าน เป็นการดีที่คนเขียนจะลองอ่านจดหมายดูก่อนและ
พิจารณาดูว่าหากเป็นการพูดคุยกันต่อหน้าคุณจะใช้ภาษาแบบนั้นหรือเปล่า หากไม่ก็ขอให้
ปรับเสียใหม่จดหมายนั้นควรเป็นการลงนามด้วยตนเอง หากเป็นการใช้เลขาหรือประทับตรา
ก็จะดูไม่ใช่การปฏิบัติที่ให้น้าหนักนัก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 อารมณ์ขัน อาจมีคาถามว่าเราจะใช้อารมณ์ขันในจดหมายได้มากน้อยเพียงใด ว่าไปแล้วก็
อาจใช้ได้แต่ต้องเป็นไปแบบออกเชิงบวกต่อผู้รับและก็เป็นที่เข้าใจได้ แต่เป็นการดีกว่าหาก
จะเลี่ยงในการที่จะใส่อารมณ์ขันในจดหมาย ทั้งนี้เพราะว่าจดหมายฉบับนั้นอาจถูกอ่าน
ในช่วงที่ผู้รับกาลังอยู่ในระหว่างวิกฤตอะไรสักอย่างอยู่ก็ได้ (ใครจะไปมีอารมณ์ขันใน
ช่วงเวลาดังกล่าว) หรือไม่ก็กาลังเพิ่งได้รับข่าวร้ายหรือสถานการณ์ที่เลวร้ายอะไรบางอย่าง
ประการต่อมา การเขียนอาจทาให้การตีความที่ต่างออกไป ถ้าหากเป็นการพูดต่อหน้าก็
พอที่จะทาให้เห็นตลกได้บ้าง ดังนั้น อาจทาให้ผู้รับตีความหมายผิดไปเลย ประการสุดท้ายก็
คือเป็นไปได้ว่าจดหมายอาจถูกอ่านโดยบุคคลที่สามในโอกาสต่อไปที่อาจเห็นว่าการตลก
แบบนั้นดูไม่เหมาะสมและอาจกลายเป็นการขาดความน่าเชื่อถือไปได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การตอบโต้ จดหมายทางธุรกิจที่ดีจะต้องมีการตอบโต้อย่างเหมาะกับเวลาหรือภายใต้
แนวทางที่แน่นอน โดยปกติคือการตอบให้ได้ภายใน 5 วันทาการ แต่ถ้าหากทาไม่ได้ก็
อาจต้องส่งข่าวให้รู้อาจโดยแฟกซ์ โทรศัพท์ หรืออีเมล์ เป็นต้น ขอให้ใช้ตัวเลขอ้างอิง
หนังสือให้ดี ระบุหัวข้อที่จะโต้ตอบให้ชัดว่าเป็นเรื่องอะไร เพื่อให้ผู้รับรู้ได้ทันทีและจัด
เตรียมการได้อย่างถูกต้องว่าเป็นของใคร อย่างไร และในการตอบกลับนั้นก็ควรมีการ
เรียงลาดับเนื้อหา และหัวข้อจดหมายให้รับกับจดหมายที่อีกฝ่ายส่งมาด้วย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การจัดการกับความขัดแย้ง บ่อยครั้งที่จดหมายก็เป็นเรื่องของข้อขัดแย้งและการโต้เถียงเรื่อง
ใดเรื่องหนึ่ง ในกรณีนี้หากว่าคุณเป็นฝ่ายเริ่มต้นประเด็นโต้เถียงก่อนก็ควรที่จะอธิบายให้
ชัดเจนถึงประเด็นและให้ทุกคนรู้มากที่สุด ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องแก่อีกฝ่ายเพื่อช่วยในการที่อีก
ฝ่ายจะให้คาตอบได้เร็วขึ้นและการกาหนดกรอบเวลาว่าจะให้อีกฝ่ายตอบภายในเมื่อใด
แต่ถ้าหากว่าคุณเป็นฝ่ายที่ได้รับจดหมายที่มีข้อโต้แย้งมากก็ควรที่จะรีบแจ้งให้ผู้บริหาร
ผู้อาวุโสทราบเพื่อจะได้ช่วยในการหาทางออกช่วยเหลือ
ประการถัดมาก็คือ เสนอร่างตอบโต้อีกฝ่ายให้ผู้บริหารพิจารณาดู ควรตอบโต้ด้วยเหตุผล
และข้อมูลมากกว่าด้วยอารมณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ประการสุดท้ายคือ ขอให้มีความสุภาพ อดทน
และมีมารยาทเอื้อเฟื้อ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ในการทาธุรกิจเกี่ยวกับต่างประเทศนั้น การใช้นามบัตรนับว่ามีความสาคัญมากในบาง
ประเทศ อาทิ ญี่ปุ่น แต่ในบางภูมิภาคอาจมีความสาคัญรองลงไปบ้าง เช่น อเมริกาเหนือ
และยุโรป
 ต่อไปนี้คือแนวทางทั่วไปของการจัดทาและแลกเปลี่ยนนามบัตรระหว่างกัน
 นามบัตรนับเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะช่วยบ่งบอกรายละเอียดบุคคลที่จะติดต่อกันต่อไป
 นามบัตรเป็นการเสนอตัวคุณเอง และจะบ่งบอกบุคลิกภาพและตัวตน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การเดินทางไปต่างประเทศ การจัดทานามบัตรอีกด้านเป็นภาษาของประเทศนั้นด้วยก็จะ
เป็นการดี
 จะมีการแลกนามบัตรกันอาจเป็นช่วงเริ่มต้นหรือช่วงท้ายก็ได้
 การยื่นนามบัตรให้อีกฝ่ายควรเป็นด้านภาษาที่เป็นของผู้รับแบบทิศทางที่อ่านได้
 พยายามหาจุดพูดคุยเกี่ยวกับนามบัตรนั้น แบบว่าแสดงถึงความสนใจถึงเจ้าของ
นามบัตร ก่อนจะมีการเก็บหรือวางไว้บนโต๊ะที่พูดคุยกันสักพัก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การใช้โทรศัพท์นับว่าเป็นเครื่องมือการสื่อสารที่สาคัญ แต่การใช้โทรศัพท์ใช่ว่าง่าย
สังเกตได้จากว่าเวลาเราวางหูโทรศัพท์ภายหลังจากการพูดคุยแล้วนับว่ามีอารมณ์ที่
หลากหลายทั้งเข้าใจ ไม่เข้าใจ ไม่ชัดเจน หรือแม้แต่อารมณ์โกรธ
 การพูดคุยทางธุรกิจนั้นต้องมีการเตรียมตัว การพูดคุยทางโทรศัพท์ก็เช่นกันต้องแบบว่า
สั้นและกระชับ รวมทั้งมีความชัดเจน ต่อไปนี้คือแนวทางปฏิบัติที่สาคัญ คือ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ให้รู้จุดเฉพาะที่จะพูดคุย เบื้องหลังความคิดว่าต้องการอะไร อย่าทึกทักเอาว่าอีกฝ่าย
เข้าใจอยู่แล้วว่าคุณโทรมาหาเพราะเหตุอะไร ดังนั้น จึงควรให้ข้อมูลและอธิบาย
วัตถุประสงค์ให้ชัดเจน
 การส่งผ่านข้อมูล ที่ผู้รับจะเข้าใจได้ ยินดีกับข้อมูลและเห็นว่ามีประโยชน์หากพูดเรื่อง
ทั่วๆไปก็จะทาให้ขาดความน่าสนใจและสะท้อนถึงผู้โทรที่อาจถูกมองว่าไม่ได้เรื่อง
 การพูดคุยกับคนที่ไม่รูจัก ขอให้หลีกเลี่ยงการพูดคุยแบบไม่เป็นทางการ แต่เมื่อคุ้นเคยกัน
มากแล้วจึงจะเป็นแบบเป็นกันเอง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความเป็นส่วนตัว ขอให้ระมัดระวังประเด็นนี้หรือการพูดคุยในประเด็นที่อ่อนไหวทาง
โทรศัพท์ก็อาจต้องสอบถามผู้รับว่าเหมาะสมหรือไม่ อย่างไรก่อน หรือควรจะพูดคุยกันซึ่ง
หน้าดี
 ความอดทน การแสดงออกถึงมารยาทที่ดีก็คือขอให้มีความสงบใจเย็นและทนต่อสิ่งกดดัน
ต่างๆในทุกสถานการณ์ หากอดทนได้ก็จะส่งผลให้เกิดการยอมรับนับถือในที่สุด
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การรับประทานอาหารกลางวันแล้วมีการพูดคุยเชิงธุรกิจไปด้วยนับว่าเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ
ทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่พบเห็นกันได้ทั่วไป ทั้งนี้อาหารนับเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มัก
นามาแสดงออกให้อีกฝ่ายเห็นและมีไม่น้อยที่แต่ละชาติก็จะมีความภูมิใจในอาหารของชาติ
ตนและอยากที่จะให้คนอื่นๆได้ลิ้มลอง แต่อย่างไรก็ตาม ในระหว่างการรับประทานอาหาร
วัฒนธรรมของการพูดคุยทางธุรกิจก็จะมีความแตกต่างกันไป บางวัฒนธรรมเห็นเป็นเพียง
โอกาสการพูดคุยเท่านั้น แต่ในบางวัฒนธรรมนี่คือโอกาสสาคัญในการที่จะพูดคุยทางธุรกิจ
แบบให้ได้เรื่องได้ราวกันเลย หรือแบบที่เรียกกันว่ารับประทานอาหารกลางวันแบบให้ได้งาน
(Working Lunch)
 ดังที่ได้กล่าวแล้วว่าแต่ละวัฒนธรรมในเรื่องนี้ที่แตกต่างกันไปของคนทั่วโลก ซึ่งต่อไปนี้เป็น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 อาหารกลางวันไม่ใช่กิจกรรมใหญ่โตอะไรกับประเทศในเครือสหราชอาณาจักร โดยปกติ
ทั่วไปแล้วคนก็จะรับประทานกันแบบง่ายๆ เช่น แซนด์วิช โดยรับประธานกันที่โต๊ะทางานกัน
เลย ดังนั้น การรับประทานอาหารกลางวันในเชิงธุรกิจจึงจะไปจัดกันที่ภัตตาคารหรือผับ
สาหรับคนอังกฤษชอบที่จะมีความเป็นส่วนตัวแบบแยกชีวิตส่วนตัวกับงานออกจากกัน
เว้นเสียแต่ว่าหากมีความคุ้นเคยกันมากแล้วอาจมีการพูดคุยธุรกิจในยามรับประทานอาหาร
กลางวันไปด้วยได้ แต่หากไม่แล้วการพูดคุยจะเป็นเรื่องทั่วๆไป ที่มักเป็นเรื่องของกีฬา
การเมือง หรือ ไม่ก็สภาพภูมิอากาศ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การวางตัวบนโต๊ะอาหารมีรูปแบบพอควร มีการใช้มีดและส้อม ผ้าเช็ดปาก หากจัดไว้ก็จะ
นามาวางที่ตัก ต้องการของอะไรบนโต๊ะก็ควรใช้วิธีร้องขอให้คนส่งให้ มากกว่าการเอนตัว
การเอื้อมผ่านคนอื่นไปและก็ควรหลีกเลี่ยงการพูดคุยเสียงดัง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 มื้อกลางวันนับว่าเป็นมื้อหลักของวัน ดังนั้นหากอยู่ในประเทศญี่ปุ่นก็ขอให้ตระหนักว่าคนญี่ปุ่นชอบที่จะ
รับประทาน ดังนั้น อาหารมื้อนี้จึงอาจประกอบด้วยหลายๆ จานตามมา
 ร้านอาหารในญี่ปุ่นส่วนใหญ่ในปัจจุบันมีการจัดโต๊ะที่นั่งในแบบทางตะวันตกอยู่มาก แต่ก็มีการจัดที่นั่ง
แบบของญี่ปุ่นแบบโต๊ะพื้นเตียงก็ยังนับว่ามีอยู่ทั่วไปเช่นกัน การใช้ตะเกียบนับว่าพบเห็นทั่วไป คุณควร
หัดใช้และเมื่อใช้แล้วควรวางให้ถูกกับที่ที่จัดไว้ อย่าทาแบบว่าเอาตะเกียบทิ่มไว้กับชามข้าวหรือชาม
อาหาร และก็ไม่ควรใช้ตะเกียบคีบอาหารส่งผ่านให้คนอื่น และในยามเครื่องดื่มเหล้าก็ควรเป็นลักษณะ
การช่วยเสิร์ฟรินให้กับคนอื่นไม่ใช่ลักษณะรินให้กับตัวเอง
 การพูดคุยกันแบบเบาๆถึงแม้มีเรื่องธุรกิจก็จะไม่เป็นแบบทางการเหมือนกาลังปฏิบัติหน้าที่ และก็
พยายามทาอะไรตามแบบของเจ้าภาพ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 อาหารกลางวันนับว่าเป็นมื้อที่ดีจะมีความสุขกับการดื่มกินและการพูดคุยกัน ไม่ควรจะ
มีการพูดธุรกิจกันในตอนนี้เพราะดูเหมือนว่าทุกคนพยายามผ่อนคลายแบบว่าหลบลม
ร้อน การที่จะมีอาหารมื้อกลางวันจึงเป็นเพื่อสร้างความสัมพันธ์กันให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น จึง
สนุกกับการพูดคุยกันอย่างมากในเรื่องเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน เรื่องกีฬา หรืออาจ
พูดคุยซักถามเกี่ยวกับเรื่องของประเทศของเขา แต่ขอให้ระวังที่จะไม่พูดถามเกี่ยวกับ
เรื่องของการเมือง ศาสนา รวมทั้งการไปถามเรื่องอะไรเกี่ยวกับครอบครัวที่มากเกินไปก็
ไม่ดี
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 หากมีการจัดมื้ออาหารตามแบบเดิมๆก็จะเป็นการรับประทานกันที่พื้น การนั่งควรจะเป็น
การนั่งแบบขัดสมาธิ หรือไม่ก็แบบพับเพียบ อย่านั่งแบบว่าขาเหยียดยาวออกไป หาก
เป็นการรับประทานอาหารด้วยมือก็อาจใช้มือกอบอาหารแบบเป็นคาๆแล้วป้ อนเข้าปาก
และก็ขอให้ตระหนักว่าห้ามใช้มือซ้ายไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหารหรือหยิบอาหาร
ส่งผ่านให้ใคร
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การประชุมทางธุรกิจนับว่ามีความสาคัญต่อการนาไปสู่ความสาเร็จในการทาธุรกิจ
ร่วมกัน ดังนั้น การทาความเข้าใจในเรื่องนี้นับว่าเป็นความจาเป็น ในที่นี้จะอธิบายถึง
มารยาทในการประชุมทั้งที่ไม่เป็นทางการและแบบที่เป็นทางการ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เป็นการประชุมแบบผ่อนคลายและก็อาจไม่เป็นการประชุมที่จัดในสานักงานหรือแบบเป็น
ห้องประชุม แต่ก็ใช่ว่าจะทาตัวแบบอะไรก็ได้ การมีมารยาทที่ดีนับว่าจาเป็น โดยมีประเด็น
สาคัญ 7 ประเด็นที่ควรใส่ใจ คือ
 ตามมารยาททางธุรกิจหากใครเรียกประชุมคนนั้นก็ควรเป็นประธาน ควรเป็นผู้อาวุโสและ
เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องนั้น
 ประธานควรเป็นคนกาหนดเวลา สถานที่ และวาระการประชุม รายละเอียดเหล่านี้ควรที่
จะมีการแจ้งให้ทุกคนได้ทราบโดยทั่วกันเพื่อความเห็นชอบและหลีกเลี่ยงเรื่องความไม่
สะดวก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ประธานทาหน้าที่บอกกล่าวให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้เข้าใจวัตถุประสงค์ให้แจ่มแจ้ง รวมทั้งจะ
ใช้เวลาประมาณเท่าไร และคาดหวังอะไรจากผู้ที่เข้าประชุม เช่น ข้อมูลหรือเอกสารอะไรที่
ต้องการประกอบการประชุม การให้ข้อมูลไม่ควรนับว่าเป็นเรื่องเลวร้าย
 การตรงต่อเวลานับว่าเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งไม่ควรให้ใครต้องรอ
 ประธานต้องดาเนินการให้มั่นใจว่าทุกอย่างเดินไปตามกรอบตามวาระที่กาหนด ดังนั้นจึง
ควรให้การประชุมสั้นที่สุด ควรให้มีข้อที่ไม่เห็นด้วยให้น้อยที่สุด
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ประธานควรมอบหมายให้ใครบางคนบันทึกการประชุม จัดเตรียมเอกสารที่ต้องมีการ
ตัดสินใจหรือที่ต้องดาเนินการ ซึ่งก็อาจเป็นการส่งให้ผู้เข้าร่วมประชุมในภายหลังเพื่อใช้
เป็นการอ้างอิงได้
 ถ้าหากว่าผลการประชุมมีผลกระทบต่อผู้อื่นที่ไม่ได้เข้าประชุม ก็ควรที่จะต้องแจ้งให้เขา
ได้ทราบโดยเร็ว
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การประชุมที่เป็นทางการเป็นรูปแบบการประชุมของหน่วยงาน คณะกรรมการหรือการ
เจรจาต่อรอง การประชุมดังกล่าวนี้นับว่ามีรูปแบบ ตัวอย่าง เช่น ประธานมักจะเป็นคน
เดิม วาระ บันทึกการประชุม รายงาน มักจะมีการแจ้งล่วงหน้า
 ต่อไปนี้คือ 10 ประเด็น สาคัญที่ควรใส่ใจในการประชุมแบบเป็นทางการ
 ขอให้เตรียมตัวให้พร้อม การมีส่วนร่วมของคุณต่อการเข้าสู่การประชุมนับว่าสาคัญ และ
การใช้สถิติ รายงาน หรือเอกสารต่างๆ ควรที่จะต้องมีการส่งให้ผู้เข้าร่วมอย่างน้อย 3
วันล่วงหน้าก่อนการประชุม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ขอให้แต่งตัวให้ดี มาให้ตรงเวลา แสดงถึงความเป็นมืออาชีพ
 ขอให้ปิดโทรศัพท์มือถือระหว่างการประชุมเสมอ
 หากมีการกาหนดที่นั่งก็ให้ว่าไปตามนั้น หากไม่แน่ใจก็ให้ถาม
 ขอให้กล่าวตอบเอ่ยถึงบุคคลอื่นที่พูดถึงหรือขอบคุณปรานทุกครั้งที่พูดถึงแบบมีมารยาท
 เมื่อเริ่มดาเนินการพูดคุยหรือกล่าวเปิดแล้ว เป็นการดีที่จะให้ผู้อาวุโสได้กล่าวอะไรก่อน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ไม่ควรไปขัดจังหวะใครในยามที่กาลังพูด แม้คุณจะรู้สึกไม่เห็นด้วยอย่างแรง ควรต้องรอ
ให้พูดจบ แล้วยกมือขออนุญาตประธานเพื่อให้ความเห็น
 ในยามที่คุณพูดขอให้สั้นกระชับ และตรงประเด็นที่เกี่ยวข้อง
 ขอให้พูดกับประธานเว้นแต่ว่าคนอื่นๆ ไม่ได้ทากัน
 ไม่ควรเปิดเผยข้อมูลให้กับบุคคลภายนอกอื่นทราบ ขอให้พิจารณาว่าทุกการพูดคุยเป็น
ความลับ

More Related Content

What's hot

เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553Krumai Kjna
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรChainarong Maharak
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานHero Siamza
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจารุวรรณ ชื่นใจชน
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 

What's hot (20)

เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 

Viewers also liked

บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างบทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างTeetut Tresirichod
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติTeetut Tresirichod
 
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่างWannarat Wattana
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติบทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนTeetut Tresirichod
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingTeetut Tresirichod
 
Negotiation skills
Negotiation skillsNegotiation skills
Negotiation skillsManish Kumar
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศAmarin Unchanum
 
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนคุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนThida Noodaeng
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจTeetut Tresirichod
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มินบทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มินTeetut Tresirichod
 
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรงบทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรงTeetut Tresirichod
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
การเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจการเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจPat Ninlawan
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างบทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
 
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
 
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติบทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
 
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
America
AmericaAmerica
America
 
Negotiation skills
Negotiation skillsNegotiation skills
Negotiation skills
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนคุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
 
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มินบทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
 
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรงบทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
 
การเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจการเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจ
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง

  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  มารยาททางธุรกิจนับว่ามีความจาเป็นอย่างยิ่งในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกันและใน กระบวนการเจรจาต่อรอง รวมทั้งการดาเนินการในทางธุรกิจ นี่อาจเป็นตัวกาหนดถึง ความสาเร็จหรือความล้มเหลวเลยทีเดียว มารยาทและโดยเฉพาะมารยาทในทางธุรกิจ จึง นับเป็นวิถีในการที่จะทาให้ศักยภาพทางธุรกิจของคุณสูงขึ้นหรือต่าลง  กล่าวถึงมารยาททางธุรกิจแล้วก็คือการที่เราอยู่หรือติดต่อกับใครได้อย่างผ่อนคลาย รู้สึกดี แบบสบายๆ สื่อสารกันได้ เข้ากันดี มีความไว้วางใจ สิ่งเหล่านี้เป็นบทบาทมารยาททางธุรกิจ และมารยาททางสังคมที่จะเป็นตัวกาหนดให้เกิดขึ้นได้
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  มารยาททางธุรกิจมีความแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและวัฒนธรรมแต่ก็อาจกล่าวได้ ว่ามีเรื่องหลักๆที่เราควรให้ความสนใจก็คือ  เรื่องของพฤติกรรม กริยาท่าทางและทัศนคติที่แต่ละคนมีจะเป็นเครื่องบ่งบอกตัวตนของ คน และจะบอกได้ถึงคุณลักษณะข้างในของคนๆนั้น หากว่าเป็นคนที่ชอบเห็นแก่ตัว ไม่มี วินัยซุ่มซ่ามไม่มีมารยาท ย่อมแน่นอนว่าความสัมพันธ์กับคนอื่นคงไปไม่รอด ดังนั้น การมี มารยาทที่เหมาะสมจะส่งผลเชิงบวกต่ออุปนิสัยที่แสดงออก
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความซื่อสัตย์ชื่อเสียงของคุณที่ได้รับการกล่าวขวัญจะไปในโลกธุรกิจ ขอให้ละลึกว่า ความซื่อสัตย์สร้างขึ้นมาได้อย่างช้าๆ แต่ก็อาจสูญเสียไปได้อย่างรวดเร็ว  คุณลักษณะ คุณลักษณะของคุณที่สุดแล้วก็เชื่อมโยงไปสู่การทาธุรกิจ มารยาททางธุรกิจ จะช่วยในการที่คุณจะแสดงออกได้ถึงคุณภาพเชิงบวกของคุณ เช่น ให้รู้ถึงกาลเทศะ การ แสดงออกของอารมณ์ ความรู้สึกหรือความมั่นใจจนไม่ถึงกับหยิ่งผยอง
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความอ่อนไหว ความอ่อนไหวต่อสิ่งสาคัญรอบข้าง ตอบสนองอย่างคนที่มีดุลยพินิจและคิด รอบคอบซึ่งก็ไม่ได้จากประสบการณ์และรู้ถึงมารยาททางธุรกิจนั่นเอง การหลีกเลี่ยงความไม่เข้าใจ และการตีความผิดๆที่จะเกิดขึ้นได้ย่อมเป็นรากฐานการสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่เข้มแข็ง  ว่าด้วยการทูต หลีกเลี่ยงคาพูดออกไปที่ปราศจากความคิด รวมทั้งการกระทาไม่เหมาะสม หาไม่ แล้วจะมีผลกระทบเชิงลบตามมา มารยาททางธุรกิจจึงเปรียบเสมือนการแสดงออกอย่างเหมาะสม การระมัดระวังในเรื่องผลประโยชน์ของผู้อื่น และการแสดงออกในแบบที่เป็นที่ยอมรับนับว่าสาคัญ  รูปลักษณ์ที่ปรากฏ การแต่งตัวที่เหมาะสมต่อกาลเทศะ รวมทั้งเรื่องของการยืน การเดิน การนั่ง ที่ ถูกเวลา ท่าทาง เมื่อมองดูแล้วมีความเจริญหูเจริญตา ล้วนสร้างความประทับใจ เรื่องของมารยาท ทางธุรกิจจะช่วยสอนคุณได้ในเรื่องเหล่านี้
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ หากได้มีการวิเคราะห์ทาความเข้าใจ และก็ดาเนินการให้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมก็ จะเป็นกุญแจที่จะไขไปสู่ความสาเร็จของการติดต่อกับคนต่างประเทศ และยังจะช่วยแก้ไข ผ่อนคลายปัญหาอื่นๆ เช่น การที่อาจสื่อสารกันอย่างกะพร่องกะแพร่ง หรือความไม่เข้าใจ ต่างๆ ก็จะช่วยนาไปสู่ความสาเร็จในชั้นต่อไปได้ สาหรับมารยาทที่สาคัญๆได้แก่
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ การเขียนจดหมายติดต่อทางธุรกิจอาจไม่ใช่เรื่องการที่จะสื่อและแสดงออกทาง ความคิดได้ชัดเจนทั้งหมด และหากไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องก็อาจส่งผลเชิงลบ ตามมา รากฐานจริงๆ ของการเขียนจดหมายทางธุรกิจที่ดีก็คือ ขอให้คิดให้ดีก่อนที่จะเขียน อะไรลงไป ขอให้พิจารณาให้มากกว่าจดหมายกาลังจะส่งถึงใคร อย่างไร และทาไม และนั่น จะเป็นตัวกาหนดสไตล์เนื้อหาและโครงสร้างของจดหมาย ต่อไปนี้เป็นข้อแนะนาแนวทางที่ดีในการเขียน
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การจ่าหน้านาเรียน ขอให้ตรวจสอบให้ถูกต้องเสมอเกี่ยวกับการสะกดชื่อผู้รับให้ถูกต้อง ดู - เหมือนว่าจะเป็นเรื่องง่ายแต่เห็นอยู่ไม่น้อยที่มีความผิดพลาด คนที่รับย่อมหงุดหงิดแน่ ในการระบุชื่อ ผู้รับ ควรที่จะต้องใส่พวกคานาหน้า (นาย นาง นางสาว) และยศ ตาแหน่งทางวิชาการต่างๆ ที่สาคัญ ด้วย (ดร.) - คนทั่วไปใช้คาขึ้นต้นลงท้าย Dear Sir / Yours Faithfully นี่นับว่าเป็นการ ใช้ทั่วไป เป็นปกติประจา - และไม่ระบุบุคคลนัก แต่ถ้าหากเป็นเรื่องที่ต้องการรู้ มีข้อสอบถาม หรือการร้องเรียน ควรใช้ว่า Dear Mr. …/ Yours Sincerely จะเหมาะสมกว่า - และหากว่ามีความคุ้นเคยกันพอควรแล้วก็อาจใช้คาลงท้ายที่เป็นกันเองได้โดยไม่ถือว่าเสียมารยาท เช่น Kind Regards หรือ All the Best
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความลับ หากว่าเนื้อหาของจดหมายมีประเด็นอ่อนไหวเป็นส่วนตัวหรือมีความลับอยู่ ก็ควร จะต้องมีการระบุไว้ที่จดหมายและที่ซองอย่างเหมาะสม โดยอาจระบุว่า “ลับ” (Confidential) หากต้องการให้ผู้รับเป็นคนอ่านโดยตรงคนเดียว (เช่น ไม่ ต้องการให้มีการเปิดซองประทับตราลงรับ) ก็ขอให้ระบุว่า PA หรือ Private หรือ Personal หรือ Strictly Confidential หากคุณได้รับจดหมายแบบนั้น ในการตอบกลับก็อาจรักษาความลับในระดับเดียวกันในการสื่อสารกลับไป
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  สไตล์ สไตล์การเขียนจดหมายธุรกิจจะต้องมีความชัดเจนและก็ถือเป็นกฎว่าการเขียนควร จะเป็นทางการถึงแม้ว่าผู้รับจะมีความคุ้นเคยกับคุณแล้วก็ตาม การรักษาระดับไว้ก็เพื่อที่ว่า อาจมีการนาไปใช้อ้างอิงโดยบุคคลที่สามในโอกาสต่อไปอย่างไรก็ตามไม่ได้หมายถึงว่าการ เขียนจดหมายนั้นจะใช้คาที่ยาวยืดยาด คาศัพท์แบบผิดปกติธรรมดาไปนัก เพราะนี่อาจดู แปลกและทาให้จดหมายไม่น่าอ่าน เป็นการดีที่คนเขียนจะลองอ่านจดหมายดูก่อนและ พิจารณาดูว่าหากเป็นการพูดคุยกันต่อหน้าคุณจะใช้ภาษาแบบนั้นหรือเปล่า หากไม่ก็ขอให้ ปรับเสียใหม่จดหมายนั้นควรเป็นการลงนามด้วยตนเอง หากเป็นการใช้เลขาหรือประทับตรา ก็จะดูไม่ใช่การปฏิบัติที่ให้น้าหนักนัก
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  อารมณ์ขัน อาจมีคาถามว่าเราจะใช้อารมณ์ขันในจดหมายได้มากน้อยเพียงใด ว่าไปแล้วก็ อาจใช้ได้แต่ต้องเป็นไปแบบออกเชิงบวกต่อผู้รับและก็เป็นที่เข้าใจได้ แต่เป็นการดีกว่าหาก จะเลี่ยงในการที่จะใส่อารมณ์ขันในจดหมาย ทั้งนี้เพราะว่าจดหมายฉบับนั้นอาจถูกอ่าน ในช่วงที่ผู้รับกาลังอยู่ในระหว่างวิกฤตอะไรสักอย่างอยู่ก็ได้ (ใครจะไปมีอารมณ์ขันใน ช่วงเวลาดังกล่าว) หรือไม่ก็กาลังเพิ่งได้รับข่าวร้ายหรือสถานการณ์ที่เลวร้ายอะไรบางอย่าง ประการต่อมา การเขียนอาจทาให้การตีความที่ต่างออกไป ถ้าหากเป็นการพูดต่อหน้าก็ พอที่จะทาให้เห็นตลกได้บ้าง ดังนั้น อาจทาให้ผู้รับตีความหมายผิดไปเลย ประการสุดท้ายก็ คือเป็นไปได้ว่าจดหมายอาจถูกอ่านโดยบุคคลที่สามในโอกาสต่อไปที่อาจเห็นว่าการตลก แบบนั้นดูไม่เหมาะสมและอาจกลายเป็นการขาดความน่าเชื่อถือไปได้
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การตอบโต้ จดหมายทางธุรกิจที่ดีจะต้องมีการตอบโต้อย่างเหมาะกับเวลาหรือภายใต้ แนวทางที่แน่นอน โดยปกติคือการตอบให้ได้ภายใน 5 วันทาการ แต่ถ้าหากทาไม่ได้ก็ อาจต้องส่งข่าวให้รู้อาจโดยแฟกซ์ โทรศัพท์ หรืออีเมล์ เป็นต้น ขอให้ใช้ตัวเลขอ้างอิง หนังสือให้ดี ระบุหัวข้อที่จะโต้ตอบให้ชัดว่าเป็นเรื่องอะไร เพื่อให้ผู้รับรู้ได้ทันทีและจัด เตรียมการได้อย่างถูกต้องว่าเป็นของใคร อย่างไร และในการตอบกลับนั้นก็ควรมีการ เรียงลาดับเนื้อหา และหัวข้อจดหมายให้รับกับจดหมายที่อีกฝ่ายส่งมาด้วย
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การจัดการกับความขัดแย้ง บ่อยครั้งที่จดหมายก็เป็นเรื่องของข้อขัดแย้งและการโต้เถียงเรื่อง ใดเรื่องหนึ่ง ในกรณีนี้หากว่าคุณเป็นฝ่ายเริ่มต้นประเด็นโต้เถียงก่อนก็ควรที่จะอธิบายให้ ชัดเจนถึงประเด็นและให้ทุกคนรู้มากที่สุด ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องแก่อีกฝ่ายเพื่อช่วยในการที่อีก ฝ่ายจะให้คาตอบได้เร็วขึ้นและการกาหนดกรอบเวลาว่าจะให้อีกฝ่ายตอบภายในเมื่อใด แต่ถ้าหากว่าคุณเป็นฝ่ายที่ได้รับจดหมายที่มีข้อโต้แย้งมากก็ควรที่จะรีบแจ้งให้ผู้บริหาร ผู้อาวุโสทราบเพื่อจะได้ช่วยในการหาทางออกช่วยเหลือ ประการถัดมาก็คือ เสนอร่างตอบโต้อีกฝ่ายให้ผู้บริหารพิจารณาดู ควรตอบโต้ด้วยเหตุผล และข้อมูลมากกว่าด้วยอารมณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ประการสุดท้ายคือ ขอให้มีความสุภาพ อดทน และมีมารยาทเอื้อเฟื้อ
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ในการทาธุรกิจเกี่ยวกับต่างประเทศนั้น การใช้นามบัตรนับว่ามีความสาคัญมากในบาง ประเทศ อาทิ ญี่ปุ่น แต่ในบางภูมิภาคอาจมีความสาคัญรองลงไปบ้าง เช่น อเมริกาเหนือ และยุโรป  ต่อไปนี้คือแนวทางทั่วไปของการจัดทาและแลกเปลี่ยนนามบัตรระหว่างกัน  นามบัตรนับเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะช่วยบ่งบอกรายละเอียดบุคคลที่จะติดต่อกันต่อไป  นามบัตรเป็นการเสนอตัวคุณเอง และจะบ่งบอกบุคลิกภาพและตัวตน
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การเดินทางไปต่างประเทศ การจัดทานามบัตรอีกด้านเป็นภาษาของประเทศนั้นด้วยก็จะ เป็นการดี  จะมีการแลกนามบัตรกันอาจเป็นช่วงเริ่มต้นหรือช่วงท้ายก็ได้  การยื่นนามบัตรให้อีกฝ่ายควรเป็นด้านภาษาที่เป็นของผู้รับแบบทิศทางที่อ่านได้  พยายามหาจุดพูดคุยเกี่ยวกับนามบัตรนั้น แบบว่าแสดงถึงความสนใจถึงเจ้าของ นามบัตร ก่อนจะมีการเก็บหรือวางไว้บนโต๊ะที่พูดคุยกันสักพัก
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การใช้โทรศัพท์นับว่าเป็นเครื่องมือการสื่อสารที่สาคัญ แต่การใช้โทรศัพท์ใช่ว่าง่าย สังเกตได้จากว่าเวลาเราวางหูโทรศัพท์ภายหลังจากการพูดคุยแล้วนับว่ามีอารมณ์ที่ หลากหลายทั้งเข้าใจ ไม่เข้าใจ ไม่ชัดเจน หรือแม้แต่อารมณ์โกรธ  การพูดคุยทางธุรกิจนั้นต้องมีการเตรียมตัว การพูดคุยทางโทรศัพท์ก็เช่นกันต้องแบบว่า สั้นและกระชับ รวมทั้งมีความชัดเจน ต่อไปนี้คือแนวทางปฏิบัติที่สาคัญ คือ
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ให้รู้จุดเฉพาะที่จะพูดคุย เบื้องหลังความคิดว่าต้องการอะไร อย่าทึกทักเอาว่าอีกฝ่าย เข้าใจอยู่แล้วว่าคุณโทรมาหาเพราะเหตุอะไร ดังนั้น จึงควรให้ข้อมูลและอธิบาย วัตถุประสงค์ให้ชัดเจน  การส่งผ่านข้อมูล ที่ผู้รับจะเข้าใจได้ ยินดีกับข้อมูลและเห็นว่ามีประโยชน์หากพูดเรื่อง ทั่วๆไปก็จะทาให้ขาดความน่าสนใจและสะท้อนถึงผู้โทรที่อาจถูกมองว่าไม่ได้เรื่อง  การพูดคุยกับคนที่ไม่รูจัก ขอให้หลีกเลี่ยงการพูดคุยแบบไม่เป็นทางการ แต่เมื่อคุ้นเคยกัน มากแล้วจึงจะเป็นแบบเป็นกันเอง
  • 18. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความเป็นส่วนตัว ขอให้ระมัดระวังประเด็นนี้หรือการพูดคุยในประเด็นที่อ่อนไหวทาง โทรศัพท์ก็อาจต้องสอบถามผู้รับว่าเหมาะสมหรือไม่ อย่างไรก่อน หรือควรจะพูดคุยกันซึ่ง หน้าดี  ความอดทน การแสดงออกถึงมารยาทที่ดีก็คือขอให้มีความสงบใจเย็นและทนต่อสิ่งกดดัน ต่างๆในทุกสถานการณ์ หากอดทนได้ก็จะส่งผลให้เกิดการยอมรับนับถือในที่สุด
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การรับประทานอาหารกลางวันแล้วมีการพูดคุยเชิงธุรกิจไปด้วยนับว่าเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ ทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่พบเห็นกันได้ทั่วไป ทั้งนี้อาหารนับเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มัก นามาแสดงออกให้อีกฝ่ายเห็นและมีไม่น้อยที่แต่ละชาติก็จะมีความภูมิใจในอาหารของชาติ ตนและอยากที่จะให้คนอื่นๆได้ลิ้มลอง แต่อย่างไรก็ตาม ในระหว่างการรับประทานอาหาร วัฒนธรรมของการพูดคุยทางธุรกิจก็จะมีความแตกต่างกันไป บางวัฒนธรรมเห็นเป็นเพียง โอกาสการพูดคุยเท่านั้น แต่ในบางวัฒนธรรมนี่คือโอกาสสาคัญในการที่จะพูดคุยทางธุรกิจ แบบให้ได้เรื่องได้ราวกันเลย หรือแบบที่เรียกกันว่ารับประทานอาหารกลางวันแบบให้ได้งาน (Working Lunch)  ดังที่ได้กล่าวแล้วว่าแต่ละวัฒนธรรมในเรื่องนี้ที่แตกต่างกันไปของคนทั่วโลก ซึ่งต่อไปนี้เป็น
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  อาหารกลางวันไม่ใช่กิจกรรมใหญ่โตอะไรกับประเทศในเครือสหราชอาณาจักร โดยปกติ ทั่วไปแล้วคนก็จะรับประทานกันแบบง่ายๆ เช่น แซนด์วิช โดยรับประธานกันที่โต๊ะทางานกัน เลย ดังนั้น การรับประทานอาหารกลางวันในเชิงธุรกิจจึงจะไปจัดกันที่ภัตตาคารหรือผับ สาหรับคนอังกฤษชอบที่จะมีความเป็นส่วนตัวแบบแยกชีวิตส่วนตัวกับงานออกจากกัน เว้นเสียแต่ว่าหากมีความคุ้นเคยกันมากแล้วอาจมีการพูดคุยธุรกิจในยามรับประทานอาหาร กลางวันไปด้วยได้ แต่หากไม่แล้วการพูดคุยจะเป็นเรื่องทั่วๆไป ที่มักเป็นเรื่องของกีฬา การเมือง หรือ ไม่ก็สภาพภูมิอากาศ
  • 21. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การวางตัวบนโต๊ะอาหารมีรูปแบบพอควร มีการใช้มีดและส้อม ผ้าเช็ดปาก หากจัดไว้ก็จะ นามาวางที่ตัก ต้องการของอะไรบนโต๊ะก็ควรใช้วิธีร้องขอให้คนส่งให้ มากกว่าการเอนตัว การเอื้อมผ่านคนอื่นไปและก็ควรหลีกเลี่ยงการพูดคุยเสียงดัง
  • 22. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  มื้อกลางวันนับว่าเป็นมื้อหลักของวัน ดังนั้นหากอยู่ในประเทศญี่ปุ่นก็ขอให้ตระหนักว่าคนญี่ปุ่นชอบที่จะ รับประทาน ดังนั้น อาหารมื้อนี้จึงอาจประกอบด้วยหลายๆ จานตามมา  ร้านอาหารในญี่ปุ่นส่วนใหญ่ในปัจจุบันมีการจัดโต๊ะที่นั่งในแบบทางตะวันตกอยู่มาก แต่ก็มีการจัดที่นั่ง แบบของญี่ปุ่นแบบโต๊ะพื้นเตียงก็ยังนับว่ามีอยู่ทั่วไปเช่นกัน การใช้ตะเกียบนับว่าพบเห็นทั่วไป คุณควร หัดใช้และเมื่อใช้แล้วควรวางให้ถูกกับที่ที่จัดไว้ อย่าทาแบบว่าเอาตะเกียบทิ่มไว้กับชามข้าวหรือชาม อาหาร และก็ไม่ควรใช้ตะเกียบคีบอาหารส่งผ่านให้คนอื่น และในยามเครื่องดื่มเหล้าก็ควรเป็นลักษณะ การช่วยเสิร์ฟรินให้กับคนอื่นไม่ใช่ลักษณะรินให้กับตัวเอง  การพูดคุยกันแบบเบาๆถึงแม้มีเรื่องธุรกิจก็จะไม่เป็นแบบทางการเหมือนกาลังปฏิบัติหน้าที่ และก็ พยายามทาอะไรตามแบบของเจ้าภาพ
  • 23. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  อาหารกลางวันนับว่าเป็นมื้อที่ดีจะมีความสุขกับการดื่มกินและการพูดคุยกัน ไม่ควรจะ มีการพูดธุรกิจกันในตอนนี้เพราะดูเหมือนว่าทุกคนพยายามผ่อนคลายแบบว่าหลบลม ร้อน การที่จะมีอาหารมื้อกลางวันจึงเป็นเพื่อสร้างความสัมพันธ์กันให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น จึง สนุกกับการพูดคุยกันอย่างมากในเรื่องเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน เรื่องกีฬา หรืออาจ พูดคุยซักถามเกี่ยวกับเรื่องของประเทศของเขา แต่ขอให้ระวังที่จะไม่พูดถามเกี่ยวกับ เรื่องของการเมือง ศาสนา รวมทั้งการไปถามเรื่องอะไรเกี่ยวกับครอบครัวที่มากเกินไปก็ ไม่ดี
  • 24. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  หากมีการจัดมื้ออาหารตามแบบเดิมๆก็จะเป็นการรับประทานกันที่พื้น การนั่งควรจะเป็น การนั่งแบบขัดสมาธิ หรือไม่ก็แบบพับเพียบ อย่านั่งแบบว่าขาเหยียดยาวออกไป หาก เป็นการรับประทานอาหารด้วยมือก็อาจใช้มือกอบอาหารแบบเป็นคาๆแล้วป้ อนเข้าปาก และก็ขอให้ตระหนักว่าห้ามใช้มือซ้ายไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหารหรือหยิบอาหาร ส่งผ่านให้ใคร
  • 25. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การประชุมทางธุรกิจนับว่ามีความสาคัญต่อการนาไปสู่ความสาเร็จในการทาธุรกิจ ร่วมกัน ดังนั้น การทาความเข้าใจในเรื่องนี้นับว่าเป็นความจาเป็น ในที่นี้จะอธิบายถึง มารยาทในการประชุมทั้งที่ไม่เป็นทางการและแบบที่เป็นทางการ
  • 26. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เป็นการประชุมแบบผ่อนคลายและก็อาจไม่เป็นการประชุมที่จัดในสานักงานหรือแบบเป็น ห้องประชุม แต่ก็ใช่ว่าจะทาตัวแบบอะไรก็ได้ การมีมารยาทที่ดีนับว่าจาเป็น โดยมีประเด็น สาคัญ 7 ประเด็นที่ควรใส่ใจ คือ  ตามมารยาททางธุรกิจหากใครเรียกประชุมคนนั้นก็ควรเป็นประธาน ควรเป็นผู้อาวุโสและ เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องนั้น  ประธานควรเป็นคนกาหนดเวลา สถานที่ และวาระการประชุม รายละเอียดเหล่านี้ควรที่ จะมีการแจ้งให้ทุกคนได้ทราบโดยทั่วกันเพื่อความเห็นชอบและหลีกเลี่ยงเรื่องความไม่ สะดวก
  • 27. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ประธานทาหน้าที่บอกกล่าวให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้เข้าใจวัตถุประสงค์ให้แจ่มแจ้ง รวมทั้งจะ ใช้เวลาประมาณเท่าไร และคาดหวังอะไรจากผู้ที่เข้าประชุม เช่น ข้อมูลหรือเอกสารอะไรที่ ต้องการประกอบการประชุม การให้ข้อมูลไม่ควรนับว่าเป็นเรื่องเลวร้าย  การตรงต่อเวลานับว่าเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งไม่ควรให้ใครต้องรอ  ประธานต้องดาเนินการให้มั่นใจว่าทุกอย่างเดินไปตามกรอบตามวาระที่กาหนด ดังนั้นจึง ควรให้การประชุมสั้นที่สุด ควรให้มีข้อที่ไม่เห็นด้วยให้น้อยที่สุด
  • 28. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ประธานควรมอบหมายให้ใครบางคนบันทึกการประชุม จัดเตรียมเอกสารที่ต้องมีการ ตัดสินใจหรือที่ต้องดาเนินการ ซึ่งก็อาจเป็นการส่งให้ผู้เข้าร่วมประชุมในภายหลังเพื่อใช้ เป็นการอ้างอิงได้  ถ้าหากว่าผลการประชุมมีผลกระทบต่อผู้อื่นที่ไม่ได้เข้าประชุม ก็ควรที่จะต้องแจ้งให้เขา ได้ทราบโดยเร็ว
  • 29. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การประชุมที่เป็นทางการเป็นรูปแบบการประชุมของหน่วยงาน คณะกรรมการหรือการ เจรจาต่อรอง การประชุมดังกล่าวนี้นับว่ามีรูปแบบ ตัวอย่าง เช่น ประธานมักจะเป็นคน เดิม วาระ บันทึกการประชุม รายงาน มักจะมีการแจ้งล่วงหน้า  ต่อไปนี้คือ 10 ประเด็น สาคัญที่ควรใส่ใจในการประชุมแบบเป็นทางการ  ขอให้เตรียมตัวให้พร้อม การมีส่วนร่วมของคุณต่อการเข้าสู่การประชุมนับว่าสาคัญ และ การใช้สถิติ รายงาน หรือเอกสารต่างๆ ควรที่จะต้องมีการส่งให้ผู้เข้าร่วมอย่างน้อย 3 วันล่วงหน้าก่อนการประชุม
  • 30. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ขอให้แต่งตัวให้ดี มาให้ตรงเวลา แสดงถึงความเป็นมืออาชีพ  ขอให้ปิดโทรศัพท์มือถือระหว่างการประชุมเสมอ  หากมีการกาหนดที่นั่งก็ให้ว่าไปตามนั้น หากไม่แน่ใจก็ให้ถาม  ขอให้กล่าวตอบเอ่ยถึงบุคคลอื่นที่พูดถึงหรือขอบคุณปรานทุกครั้งที่พูดถึงแบบมีมารยาท  เมื่อเริ่มดาเนินการพูดคุยหรือกล่าวเปิดแล้ว เป็นการดีที่จะให้ผู้อาวุโสได้กล่าวอะไรก่อน
  • 31. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ไม่ควรไปขัดจังหวะใครในยามที่กาลังพูด แม้คุณจะรู้สึกไม่เห็นด้วยอย่างแรง ควรต้องรอ ให้พูดจบ แล้วยกมือขออนุญาตประธานเพื่อให้ความเห็น  ในยามที่คุณพูดขอให้สั้นกระชับ และตรงประเด็นที่เกี่ยวข้อง  ขอให้พูดกับประธานเว้นแต่ว่าคนอื่นๆ ไม่ได้ทากัน  ไม่ควรเปิดเผยข้อมูลให้กับบุคคลภายนอกอื่นทราบ ขอให้พิจารณาว่าทุกการพูดคุยเป็น ความลับ