SlideShare a Scribd company logo
1 of 81
Download to read offline
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ e-commerce
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
(Building e-Commerce Web Sites)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective)
หลังจากได้อ่านและศึกษาจนจบบทนี้แล้วท่านจะสามารถ
1. เข้าใจในกระบวนการของวงจรการพัฒนาระบบที่ใช้เป็นแบบแผนการสร้างเว็บไซต์ อี
คอมเมิร์ซ
2. รู้จักเลือกวิธีการพัฒนาเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาขึ้นเอง หรือเอาต์
ซอร์ส และการเลือกใช้โฮสติ้ง บนพื้นฐานความต้องการและการตัดสินใจที่
เหมาะสม
3. มีความรู้ในการพิจารณาเลือกซื้อเว็บเซิร์ฟเวอร์และซอฟต์แวร์เพื่องานอีคอมเมิร์ซ
4. สามารถคัดเลือกฮาร์ดแวร์ที่เหมาะสมที่สุดสาหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
5. สามารถวางแผนการปรับขนาดระบบ เพื่อรองรับการใช้งานในอนาคตได้
6. รู้จักนาเครื่องมือเพิ่มเติมต่างๆ มาใช้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.1 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซในมุมมองเชิงระบบ
สิ่งสาคัญที่สุด 2 ประการที่ท้าทายเราในเรื่องการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซให้
ประสบผลสาเร็จก็คือ
1. ทาความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ทางธุรกิจของตนให้ชัดเจน ด้วยการสร้าง
แผนงานสาหรับการพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมา
2. รู้จักเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ เพื่อบรรลุถึงวัตถุประสงค์ดังกล่าว โดยต้อง
ทาความเข้าใจในโครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ ว่ามีส่วนประกอบพื้นฐาน
อะไรบ้าง แล้วปล่อยให้การดาเนินธุรกิจผลักดันตัวเทคโนโลยีที่จาเป็นต่อการใช้
งานต่อไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.1.1 ปัจจัยที่มีต่อการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
ขั้นแรกคุณจะต้องตระหนักถึงปัจจัยหลักๆ ที่คุณต้องตัดสินใจให้ได้ก่อน ซึ่งมีปัจจัยมากมายที่
จะต้องนามาพิจารณากับการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซในครั้งนี้ อันประกอบด้วย
1. ปัจจัยด้านขีดความสามารถขององค์กร
2. สถาปัตยกรรมฮาร์ดแวร์
3. ซอฟต์แวร์
4. ระบบสื่อสารและโทรคมนาคม
5. การออกแบบเว็บไซต์
6. ทรัพยากรมนุษย์
โดยในเบื้องต้นคุณต้องร่วมมือกับแผนกทรัพยากรบุคคล ในการเฟ้นหาบุคคลที่เกี่ยวข้องหรืออาจ
จัดตั้งทีมงานขึ้นมาสักทีหนึ่งที่มีความรู้และทักษะในการจัดการเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซให้ประสบ
ความสาเร็จ โดยทีมงานดังกล่าวจะทาการตัดสินใจในเรื่องหลักๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี การ
ออกแบบเว็บไซต์ และนโยบายทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายและจริยธรรม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.1.2 วงจรการพัฒนาระบบ
วงจรการพัฒนาระบบ (Systems Development Life Cycle : SDLC) จัดเป็นวิธีการพัฒนา
ระบบแบบดั้งเดิม ที่มักถูกนามาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาระบบสารสนเทศตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
กรอบการทางานใน SDLC นั้นมีโครงสร้างค่อนข้างชัดเจน ตรงไปตรงมา กิจกรรมในแต่ละระยะจะมี
ลาดับแน่นอน โดยเมื่อเสร็จสิ้นในระยะหนึ่งก็จะก้าวเข้าสู่ระยะถัดไป เช่น ได้ทาการวิเคราะห์เสร็จสิ้น
แล้ว ก็จะเข้าสู่ระยะการออกแบบ เป็นต้น สาหรับวงจรการพัฒนาระบบอีคอมเมิร์ซนั้น ประกอบด้วย
5 ระยะด้วยกัน คือ
1. การวางแผนและการวิเคราะห์ระบบ
2. การออกแบบระบบ
3. การสร้างระบบ
4. การทดสอบระบบ
5. การนาระบบไปใช้และการบารุงรักษา
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 1 : การวางแผนและการวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis/Planning)
โดยในระยะนี้เราจะต้องพยายามตอบคาถามให้ได้ว่า “เราต้องการให้เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซทาอะไร
ให้กับธุรกิจของพวกเรา” บทเรียนสาคัญต่อการเรียนรู้ในที่นี้คือ ควรปล่อยให้การตัดสินใจทางธุรกิจ
ผลักดันตัวเทคโนโลยี (มิใช่ทาแบบย้อนกลับ) เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า แพล็ตฟอร์มทางเทคโนโลยีที่
ใช้มีความสอดคล้องตรงกันกับธุรกิจของคุณ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 1 : การวางแผนและการวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis/Planning)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 1 : การวางแผนและการวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis/Planning)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 1 : การวางแผนและการวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis/Planning)
วิธีแรกที่จะต้องทาก ็็คือ การกาหนดวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ (Business Objectives)
ให้กับเว็บไซต์ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้นในเรื่องรายละเอียด จากนั้นจึงทาการพัฒนาฟังก์ชั่นการทางาน
ต่างๆ และความต้องการขึ้นมา ทั้งนี้วัตถุประสงค์ทางธุรกิจก็คือ เหล่าความสามารถต่างๆ ที่เรา
ต้องการให้เว็บไซต์ของเรามีนั่นเอง สาหรับในส่วนฟังก์ชั่นการทางานของระบบ (System
Functionality) ก็คือระบบสารสนเทศชนิดต่างๆ ที่นามาใช้เพื่อให้ธุรกิจของคุณสามารถบรรลุตรง
ตามวัตถุประสงค์ให้จงได้ ในขณะที่ความต้องการในข้อมูลข่าวสาร (Information Requirements) ก็
คือองค์ประกอบของข้อมูลที่ระบบจะต้องผลิตขึ้นมาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ และในฐานะ
ที่คุณเป็นผู้จัดการ จึงต้องรวบรวมรายการข้อมูลเหล่านี้ไปให้นักพัฒนาโปรแกรมและโปรแกรมเมอร์
เพื่อให้พวกเขารับทราบในสิ่งที่จะต้องทา และทาให้เขาพัฒนาระบบตรงตามที่คุณคาดหวังได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 2 : การออกแบบระบบ (System Design)
การออกแบบระบบ (System Design Specification) ซึ่งเป็นคาอธิบายถึงองค์ประกอบหลัก
ของระบบ และความสัมพันธ์กับส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และในการออกแบบระบบยังสามารถแบ่งออก
เป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ การออกแบบเชิงตรรกะ และการออกแบบเชิงกายภาพ
• การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) ประกอบด้วยแผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow
Diagram : DFD) ที่ใช้อธิบายการไหลของข้อมูลในเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ, ฟังชั่นการประมวลผลที่
จะต้องได้รับการจัดทาและฐานข้อมูลที่ใช้งาน นอกจากนี้การออกแบบเชิงตรรกะยังผนวกรวมใน
เรื่องรายละเอียดเกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัย การสารอง ข้อมูลฉุกเฉิน และการควบคุม
การใช้งาน
• การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) เป็นการแปลงแผนภาพเชิงตรรกะมาเป็น
ส่วนประกอบทางกายภาพ เช่น รายละเอียดในสถาปัตยกรรมของเครื่องเซิร์ฟเวอร์และ
ซอฟต์แวร์ ที่ต้องใช้ขนาดของระบบสื่อสารและโทรคมนาคมที่ต้องการเชื่อมโยงวิธีการสารอง
ข้อมูลและการป้องกันการบุกรุกจากบุคคลภายนอก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 2 : การออกแบบระบบ (System Design)
เปรียบเทียบระหว่างแผนภาพ
เชิงตรรกะ และเชิงกายภาพ (a)
แผนภาพกระแสข้อมูลที่อธิบาย
การไหลของข้อมูล เกี่ยวกับการ
ร้องขอและตอบสนองสาหรับ
เว็บไซต์อย่างง่าย (b) การ
ออกแบบเชิงกายภาพที่อธิบาย
ถึงการทางานของอุปกรณ์
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ทาให้
มองเห็นภาพจริง
(a)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 2 : การออกแบบระบบ (System Design)
(b)
พิจารณาจากรูป (a) เป็นแผนภาพกระแสข้อมูลในระดับ High-level Logical Design ที่ได้รับการ
ออกแบบอย่างเรียบง่าย โดยอธิบายถึงเว็บไซต์ได้มีการส่งหน้าแคตตาล็อกสินค้าในรูปแบบ เอกสาร HTML
กลับไป เพื่อตอบสนองการร้องขอ HTTP จากเบราเซอร์ลูกค้า ในขณะที่รูป (b) เป็นแผนภาพที่ได้รับการ
ออกแบบในเชิงกายภาพ (สอดคล้องกับแผนภาพเชิงตรรกะ) นอกจากนี้ กระบวนการหลักๆ ในแต่ละโปรเซส
ยังสามารถแตกย่อยให้เป็นลาดับที่ต่าลงมา (Lower-level) เพื่อแสดงถึงวิธีการไหลของข้อมูลว่าเป็นอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์อะไร
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 3 : การสร้างระบบ (Building the System)
ในระยะนี้จะเริ่มต้นพิจารณาถึงวิธีการสร้างเว็บไซต์จริงๆ ขึ้นมาซึ่งก็มีทางเลือกอยู่หลายทาง
ด้วยกัน เช่น การพัฒนาขึ้นเอง (In-House) โดยทีมงานภายใน หรือจะเลือกใช้วิธีการเอาต์ซอร์ส
(Outsourcing)
การเอาต์ซอร์ส (Outsourcing) เป็นการจ้างหน่วยงานภายนอก ซึ่งเป็นผู้ให้บริการในเรื่อง
การพัฒนาเว็บไซต์ แทนที่เราจะใช้บุคคลภายใน เนื่องจากบุคคลภายในอาจมีทักษะไม่มากพอหรือ
ตามเทคโนโลยีไม่ทัน ในขณะที่ทีมงานเอาต์ซอร์สจะมีทีมผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สูง
เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว อย่างไรก็ตาม เมื่อตัดสินใจได้แล้วว่าจะเลือกพัฒนาด้วยวิธีใด (ไม่ว่าจะเลือก
แบบ In-House หรือ Outsource ก็ตาม) เรื่องถัดมาที่ต้องได้รับการตัดสินใจก็คือ การพิจารณาถึง
โฮสต์ คอมพิวเตอร์ เช่น จะติดตั้งเว็บเซิร์ฟเวอร์ไว้ที่บริษัท หรือใช้บริการเช่าโฮสต์ (Web
Hosting) จากผู้ให้บริการ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 3 : การสร้างระบบ (Building the System)
ทางเลือกในการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซและโฮสติ้ง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 3 : การสร้างระบบ (Building the System)
วิธีการสร้างและเลือกใช้โฮสต์อีคอมเมิร์ซ ว่าจะเลือกทาเองหรือเอาต์ซอร์ส อีกทั้งยังสามารถ
เลือกวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือเลือกแบบผสมก็ได้ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้
• Build:In, Host:In เป็นการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ พร้อมกับการติดตั้งโฮสต์ด้วยทีมงาน
ภายในองค์กร
• Build:In, Host:Out เป็นการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซโดยทีมงานภายใน แต่จะเช่าเว็บโฮสต์
จากหน่วยงานภายนอกที่เปิดให้บริการ
• Build:Out, Host:In เป็นการว่าจ้างหน่วยงานภายนอกสร้างเว็บไซต์ให้ แต่องค์กรจะมีโฮสต์
เป็นของตนเอง
• Build:Out, Host:Out เป็นการเอาต์ซอร์สจากผู้ให้บริการทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการสร้าง
เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซและโฮสติ้ง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 3 : การสร้างระบบ (Building the System)
นอกจากนี้ก็ยังมีอีกทางเลือกหนึ่งที่เรียกว่า Co-Locate ซึ่งเป็นการเช่าพื้นที่วางเซิฟเวอร์
เช่น บริษัทได้ตกลงซื้อหรือเช่าซื้อเว็บเซิร์ฟเวอร์กับผู้ให้บริการ แต่แหล่งที่ตั้งเซิร์ฟเวอร์แทนที่จะ
ตั้งไว้ที่ตัวบริษัท ก็จะฝากไว้กับผู้ขายหรือผู้ให้บริการแทน ทั้งนี้ทางผู้ให้บริการจะอานวยความ
สะดวกทางกายภาพในการจัดหาแหล่งที่ตั้งให้ (มักอยู่ในรูปแบบของ Data Center) พร้อมกับ
บารุงรักษาตัวเครื่องและสายสื่อสาร ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ดีมีความเสถียรสูง และมีระบบความ
ปลอดภัยครบครัน ด้วยการทาสัญญาข้อตกลงระหว่างกัน (ส่วนใหญ่จะคิดค่าบริการแบบรายเดือน)
สาหรับการเอาต์ซอร์สโฮสติ้ง ในด้านดีก็คือ ความวางใจในมืออาชีพของผู้ให้บริการที่สามารถดูแล
โฮสต์ให้เราให้สามารถทางานได้ตลอด 24 ชั่วโมง และตั้งอยู่ในสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มี
ระบบความ ปลอดภัยสูง แต่ข้อเสียก็มีอยู่เช่นกัน ดังนั้นควรคัดเลือกผู้ขายที่มีขีดความสามารถพอ
มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับและพร้อมที่จะเติบโตไปพร้อมกับเรา
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ : 4 การทดสอบระบบ (Testing the System)
โดยการทดสอบระบบจะประกอบด้วย การทดสอบหน่วยย่อย (Unit Testing) เกี่ยวข้อง
กับการทดสอบโปรแกรมของเว็บไซต์ในแต่ละโมดูล พูดตรวจสอบจะต้องทดสอบใช้งานจนกระทั่ง
เชื่อใจได้ว่า โปรแกรมโมดูลดังกล่าวปราศจากข้อผิดพลาด ส่วน การทดสอบทั้งระบบ (System
Testing) เกี่ยวข้องกับการทดสอบฟังก์ชั่นการทางานต่างๆ ของเว็บไซต์ทั้งระบบ ว่าทางานได้
อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามความต้องการหรือไม่ โดยทดสอบในลักษณะเดียวกันกับผู้ใช้ทั่วไป
ที่ได้ท่องเข้ามายังเว็บไซต์ ท้ายสุดก็จะเข้าสู่การทดสอบการยอมรับในระบบ (Acceptance
Testing) ที่จะให้บุคคลสาคัญหรือผู้จัดการในแต่ละแผนกเข้าร่วมทดสอบ เช่น ผู้จัด การแผนก
การตลาด แผนกการผลิต แผนกขาย และผู้จัดการทั่วไป ได้ทดลองใช้ระบบจริงที่ถูกติดตั้งทดสอบ
บนอินเทอร์เน็ตหรือเซิร์ฟเวอร์อินทราเน็ต ทั้งนี้ในการทดสอบการยอมรับในระบบ จะต้อง
ตรวจสอบการทางานของระบบโดยรวมว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ทางธุรกิจของบริษัทหรือไม่
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 5 : การนาระบบไปใช้และการบารุงรักษา
(Implementation and Maintenance)
หลายองค์กรคาดหวังว่าจะสามารถใช้ระบบที่ลงทุนมานี้ได้ยาวนานหลายปี คุ้มค่า หรือตาม
อายุขัยของมัน แต่ก็ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้วย
อย่างไรก็ตาม ระบบก็สามารถล้มเหลวได้จากหลายเหตุผลด้วยกัน ซึ่งส่วนใหญ่มักคาดการณ์ไม่ได้
ดังนั้นแนวทางป้องกันก็คือ ต้องมีการดูแลตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง มีการทดสอบและซ่อมแซมส่วน
ที่สึกหรอหรือเสียหาย ดังนั้นงานบารุงรักษาระบบ จึงเป็นส่วนสาคัญ แต่ในบางครั้งบริษัทหลาย
แห่งกลับไม่มีการตั้งงบประมาณจัดการกับสิ่งนี้เลย ซึ่งโดยทั่วไปแล้วต้นทุนการบารุงรักษา
ประจาปี เมื่อคิดโดยประมาณแล้วจะเท่าๆ กับต้นทุนการพัฒนา เช่น ต้นทุนการพัฒนาเว็บไซต์อี
คอมเมิร์ซอยู่ที่ 50,000 บาท อาจต้องเตรียมงบประมาณเพื่อบารุงรักษาระบบประจาปีอยู่ที่
50,000 บาท เป็นต้น ในขณะที่เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซขนาดใหญ่ ต้นทุนการบารุงรักษาจะลดลงตาม
การประหยัดทางขนาด (Economies of Scale) เช่น ต้นทุนพัฒนาเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซอยู่ที่
1,000,000 บาท งบประมาณในการบารุงรักษาประจาปีอาจอยู่ที่ประมาณ 500,000 ถึง 700,000
บาท เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 5 : การนาระบบไปใช้และการบารุงรักษา
(Implementation and Maintenance)
การบารุงรักษาระบบเป็นสิ่งสาคัญก็เพราะว่า เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซจะมีกระบวนการเปลี่ยน
แปลงอยู่ตลอดเวลา กล่าวคือ ต้องปรับปรุงและแก้ไขอย่างไม่มีที่สิ้นสุดนั่นเอง ตามปัจจัยต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องดังนี้
• การยกระดับความสามารถของเซิร์ฟเวอร์ เช่น การอัพเกรดซีพียู การติดตั้งเซิร์ฟเวอร์
เพิ่มเติม เช่น ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ เมลเซิร์ฟเวอร์ และแอดเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น
• การปรับปรุงระบบสื่อสารให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น ตั้งติดต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
เพื่อเพิ่มความเร็วอินเทอร์เน็ต
• การปรับปรุงลิงก์เชื่อมโยงไปยังหน้าเว็บต่างๆ ในกรณีที่ลิงก์เดิม (โดยเฉพาะลิงก์เชื่อมโยง
ภายนอก) ได้ตายไปแล้ว (Dead Link) ซึ่งอาจเกิดจากเว็บไซต์นั้นถูกปิดหรือมีการเปลี่ยน
แปลงลิงก์ใหม่
• การปรับปรุงสคริปต์ ป้ายโฆษณา รายงาน และไฟล์ข้อมูล
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ระยะที่ 5 : การนาระบบไปใช้และการบารุงรักษา
(Implementation and Maintenance)
• การปรับปรุงรูปแบบการนาเสนอบนเว็บ เพื่อให้ลูกค้าสามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการ
• การอัพเกรดเว็บ เพื่อรองรับการใช้งานบนโทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ทโฟน
• การปรับปรุงฐานข้อมูลลูกค้าหรือสมาชิก
• การปรับปรุงข้อมูลในแคตตาล็อกสินค้าบนเว็บไซต์ เช่น การเพิ่มผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ การ
เปลี่ยนแปลงราคา การส่งเสริมการขาย และการเพิ่มช่องทางการชาระเงิน เป็นต้น
• การปรับปรุงลิงก์เชื่อมโยงที่ส่งไปยังฐานข้อมูล เพื่อให้งานส่วน Back End นาไปประมวลผล
ได้อย่างถูกต้อง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.1.3 ปัจจัยในการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์
จุดประสงค์ของเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซก็คือ การจัดส่งเนื้อหาข่าวสารไปยังลูกค้า และทาธุรกรรม
ที่เกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ สาหรับความรวดเร็วและความน่าเชื่อถือ จัดเป็นวัตถุประสงค์สาคัญใน
มุมมองเชิงการค้า ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพโดยตรง ดังนั้นหากคุณเป็นผู้จัดการหรือผู้บริหารทาง
การตลาด ก็ย่อมต้องการให้เว็บไซต์ของคุณสามารถปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังของ
ลูกค้าได้ ซึ่งมีปัจจัยอย่างน้อย 3 ประการ ที่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์
ประกอบด้วย
1. เนื้อหาของหน้าเว็บ
2. การก่อกาเนิดหน้าเว็บ
3. การส่งมอบหน้าเว็บ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
การเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์ ด้วยเทคนิค Page Content, Page Generation และ Page Delivery
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
การออกแบบเนื้อหาหน้าเว็บ (Page Desige/Page Content) อย่างมีประสิทธิภาพนั้นช่วย
ลดเวลาในการสนองลงได้ 2-5 วินาที ซึ่งประกอบ ด้วยขั้นตอนง่ายๆ คือ ให้โหลดข้อความหมายเหตุ
(Comment) และช่องว่าง (White space) ภายใน โค้ดคาสั่ง HTML, การใช้ภาพกราฟฟิคที่เหมาะสม
และหลีกเลี่ยงลิงก์ที่เชื่อมโยงไปยังหน้าเว็บอื่นๆ ที่ไม่จาเป็นลง
การก่อกาเนิดหน้าเว็บ (Page Generation) สามารถเพิ่มความเร็วด้วยการแบ่ง Server
ออกเป็นหลายๆ ตัว เพื่อช่วยกันทางาน (เช่น ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ แอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ และเมล์
เซิร์ฟเวอร์) รวมถึงการนาอุปกรณ์ต่างๆ จากผู้ขายมาใช้เพื่อเพิ่มความเร็วให้กับเซิร์ฟเวอร์เหล่านั้น
ทั้งนี้การใช้เครื่องเซิร์ฟเวอร์เพียงเครื่องเดียวเพื่อรับภาระงานประมวลผลทั้งหมด ทาให้เครื่องมีภาระ
หนักเกินไป ในขณะเดียวกันหากมีการแบ่งการประมวลผลให้กับเซิร์ฟเวอร์อื่นๆ จะช่วยลดปริมาณ
งานในช่วงเวลาหนึ่งหนึ่งได้กว่า 50% เลยทีเดียว
การส่งมอบหน้าเว็บ (Page Delivery) สามารถเพิ่มความเร็วได้ด้วยการเพิ่มขยายแบนด์วิดธ์
หรืออาจเรียกใช้บริการอย่างซึ่งมีลักษณะการทางานคล้ายกับ Proxy Server เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.2 การเลือกซอฟต์แวร์สาหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
7.2.1 สถาปัตยกรรมระบบ (System Architecture)
การพัฒนาเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซในอดีต มีหลักการทางานง่ายๆ คือ เว็บไซต์จะส่งมอบหน้าเว็บ
ไปยังผู้ใช้ตามที่ได้ร้องขอผ่านโปรแกรมเบราเซอร์ของเขา ในขณะที่ซอฟต์แวร์บนเว็บไซต์ก็ทางาน
อย่างเรียบง่าย โดยตัวระบบจะประกอบด้วยคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ที่อย่างน้อยต้องติดตั้งซอฟต์แวร์
เว็บเซิร์ฟเวอร์เป็นขั้นต่า และงานทั้งหลายก็จะถูกประมวลผลโดยเครื่องเซิร์ฟเวอร์นั้นเพียงเครื่อง
เดียว เราเรียกรูปแบบการจัดการดังกล่าวว่า สถาปัตยกรรมระบบซิงเกิ้ลเทียร์ (Single-Tier
System Architecture)
สถาปัตยกรรมระบบ (System Architecture) หมายถึง การจัดการซอฟต์แวร์ เครื่องจักร
และงานต่างๆ ในระบบสารสนเทศ เพื่อนาไปสู่การบรรลุผลตามฟังก์ชั่นการทางานนั้นๆ อย่างไรก็
ตาม การพัฒนาอีคอมเมิร์ซจาเป็นต้องมีฟังก์ชั่นการโต้ตอบระหว่างกัน มากกว่าการส่งหน้าเว็บไปยัง
ผู้ใช้ตามที่ร้องขอเท่านั้น เช่น ความสามารถในการตอบสนองผู้ใช้ในเรื่องการป้อนข้อมูล (เช่น
แบบฟอร์มการป้อนข้อมูลชื่อ ที่อยู่) การรับคาสั่งซื้อจากลูกค้า การจัดการการชาระเงินผ่านบัตรเคดิต
รวมถึงการปรับรูปแบบการโฆษณาที่แสดงอยู่บนหน้าจอ ให้ตรงกับคุณลักษณะของผู้ใช้แต่ละราย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.2 การเลือกซอฟต์แวร์สาหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
นอกจากแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์แล้ว เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซยังต้องสามารถดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลออกมา
ใช้งานได้อีกด้วย นั่นหมายถึง ดาต้าเบส (Database Servers) ที่ผู้ใช้บรรจุข้อมูลที่จาเป็น อันได้แก่ ข้อมูล
ลูกค้า ข้อมูลสินค้า ข้อมูลพนักงาน ข้อมูลผู้ขาย ทรานแซกชั่นที่เกี่ยวกับการทาธุรกรรมต่างๆ เป็นต้น ซึ่งจัด
อยู่ในงานส่วนหลัง (Back End) และระบบงานส่วนหลังเหล่านี้ จะเป็นลาดับชั้นที่ถูกเพิ่มเข้าไปใน
สถาปัตยกรรมระบบในรูปแบบมันติเทียร์นั่นเอง ลองคิดดูว่า หากกรณีของเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซที่มีลูกค้าใช้
บริการมาก ในแต่ละวันจะมีจานวนทรานแซกชั่น นับหมื่นนับแสนรายการ หากสถาปัตยกรรมระบบมีการแบ่ง
ภาระการทางานในรูปแบบมัลติเทียร์ ย่อมสามารถกระจายงานไปยังเซิร์ฟเวอร์ต่างๆ เพื่อรับผิดชอบงานของ
ตน และนาไปประมวลผลเป็นการเฉพาะ นั่นย่อมดีกว่าการนางานทุกๆ อย่างมาตกอยู่ที่เซิร์ฟเวอร์เพียงเครื่อง
เดียว
ซึ่งสิ่งเหล่านี้ถือเป็นส่วนขยายที่เกี่ยวข้องกับแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ ที่เราจาเป็นต้องพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อ
รองรับกับฟังก์ชั่นการทางานดังกล่าว รวมถึงสถาปัตยกรรมระบบก็จะต้องได้รับการขยับขยายมาเป็นใน
รูปแบบมันติเทียร์ (Multi-Tiered System) เพื่อรองรับงานประมวลผลที่หนักหน่วงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้
แอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ ก็คือเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่มีการติดตั้งโปรแกรมซอฟต์แวร์เฉพาะ เพื่อใช้ประมวลผลงาน
ธุรกรรมต่างๆ ที่จาเป็นในอีคอมเมิร์ซ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
สถาปัตยกรรมแบบทูเทียร์ (Two-Tier Architecture) ซึ่งบางครั้งอาจเรียกสถาปัตยกรรมนี้
ว่า Client/Server โดยเซิร์ฟเวอร์จะตอบสนองต่อการร้องขอหน้าเว็บและใช้ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์เป็น
สื่อจัดเก็บข้อมูลให้กับงานส่วนหลัง ในทางตรงกันข้ามรูปที่เป็น สถาปัตยกรรมแบบทรีเทียร์
(Tree-Tier Architecture) ที่เว็บเซิร์ฟเวอร์จะเป็นตัวกลางที่ถูกเชื่อมโยงเข้ากับเทียร์ต่างๆ ซึ่ง
ประกอบด้วยแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้สาหรับประมวลผลงาน เฉพาะด้าน (เช่น งานประมวลผล
คาสั่งซื้อและระบบการชาระเงิน) และดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ (เช่น ฐานข้อมูลแคตตาล็อกสินค้า, ลูกค้า,
ผู้ขาย และฐานข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง) ที่รับหน้าที่ดึงข้อมูลไปให้ส่วนประมวลผลนาไปใช้งาน และ
จัดเก็บข้อมูลสารสนเทศสาคัญๆ ของบริษัท ทั้งนี้สถาปัตยกรรมแบบมัลติเทียร์นั้น สามารถถูก
ออกแบบให้ใช้งานได้อย่างหลากหลาย เพื่อแบ่งปันภาระงานให้กับคอมพิวเตอร์เครื่องต่างๆ เช่น
อาจขยับขยายระบบเป็น Four-Tier อย่างไรก็ตาม สถาปัตยกรรมที่มีเทียร์มากกว่าสามขึ้นไปส่วน
ใหญ่มักเรียกว่า n-Tier Architectures
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
การไหลของข่าวสารในสถาปัตยกรรมแบบ 2-Tier
การไหลของข่าวสารในสถาปัตยกรรมแบบ 3-Tier
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.2.2 ซอฟต์แวร์สาหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์
ซอฟต์แวร์สาหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์ชั้นนาที่มีความ
นิยมมากกว่า 60% นั่นคือ อาปาเช่ (Apache) ซึ่ง
ทางานภายใต้ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) และ
ลินุกซ์ (Linux) โดยยูนิกซ์ถือเป็นภาษาโปรแกรมที่เป็น
ต้นกาเนิดของอินเทอร์เน็ตและเว็บ ในขณะที่
ลินุกซ์นั้นเป็นลูกหลานของยูนิกซ์ ที่ได้รับการออกแบบ
มาเพื่อใช้งานบนพีซีคอมพิวเตอร์ อาปาเช่นั้นได้รับการ
พัฒนามาจากโปรแกรมเมอร์ตามชุมชนทั่วโลกบน
อินเทอร์เน็ต และด้วยเป็นซอฟต์แวร์ระบบเปิดนี้เอง
จึงสามารถดาวน์โหลดนามาใช้งานได้ฟรีจากเว็บไซต์
ต่างๆ ที่มีอยู่มากมาย
กราฟแสดงส่วนแบ่งทางการตลาดของซอฟต์แวร์
สาหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์ (ผลสารวจเมื่อปี ค.ศ. 2011)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
สาหรับค่ายไมโครซอฟท์ก็มี IIS (Microsoft Internet Information Service) ซึ่งเป็นตัวชูโรง
เกี่ยวกับซอฟต์แวร์สาหรับเซิร์ฟเวอร์ที่ได้รับการพัฒนามาโดยตลอดเช่นกัน โดยได้รับความนิยม
เป็นอันดับสอง IIS เป็นซอฟต์แวร์ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของระบบปฏิบัติการวินโดว์ มีจุดเด่นคือ ความ
เข้า กันได้ดีกับชุดซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ต่างๆ ที่มาจากค่ายไมโครซอฟท์
ฟังก์ชั่นการทางานพื้นฐานของเว็บเซิร์ฟเวอร์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.2.3 แอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ (Application Servers)
เว็บแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ เป็นโปรแกรมซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการฟังก์ชั่นการทางานทาง
ธุรกิจ โดยเฉพาะซึ่งถือเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับเว็บไซต์ แนวคิดพื้นฐานของแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์
ก็คือ การแยกแอปพลิเคชั่นทางธุรกิจจากงานส่วนหน้า (Front End) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแสดง
รายละเอียดหน้าเว็บไปยังผู้ใช้ ในขณะเดียวกันงานส่วนหลัง (Back End) ก็จะเกี่ยวข้องกับ
รายละเอียดการ เชื่อมต่อเข้ากับฐานข้อมูลเพื่อนาไปประมวลผลธุรกรรมต่อไป ดังนั้น
แอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ จึงเปรียบ เสมือนเป็นประเภทหนึ่งของซอฟต์แวร์ตัวกลาง (Middleware)
ที่แยกแอปพลิเคชั่นทางธุรกิจออกจากเว็บเซิร์ฟเวอร์และฐานข้อมูล ในขณะเดียวกันก็ใช้เป็น
ตัวกลางในการเชื่อมต่อเข้ากับระบบงานขององค์กร เพื่อบริการงานให้กับลูกค้าได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
จากตารางได้แสดงถึงความหลากหลายของแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ที่มีอยู่ในตลาดไอที ด้วย
การมุ่งประเด็นถึงแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ฝั่ง “Sell Side” ที่ออกแบบมาเพื่อใช้สาหรับการขาย
สินค้า ในขณะที่แอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ฝั่ง “Buy Side” และ “Link” จะมุ่งประเด็นในเรื่องของธุรกิจ
ที่ต้องการเชื่อมต่อเข้ากับคู่ค้าในโซ่อุทานของตน หรือเพื่อค้นหาผู้ขายปัจจัยการผลิตที่จาหน่าย
ชิ้นส่วน อุปกรณ์เพื่อการประกอบตัวสินค้า ซึ่งทั้ง Buy Side และ Link เหล่านี้ ล้วนเกี่ยวข้องกับ
การ อีคอมเมิร์ซในรูปแบบ B2B, การจัดการโซ่อุปทาน และการทาการค้าแบบร่วมมือ
(Collaborative Commerce) ทั้งนี้มีผู้ค้าชอฟต์แวร์นับพันราย ที่ได้จัดเตรียมซอฟต์แวร์แอปพลิชั่น
เซิร์ฟเวอร์เหล่านี้ เพื่อจาหน่ายในเชิงพาณิชย์ แต่อย่างไรก็ตาม ก็มีอีกหนึ่งทางเลือกที่ผู้ใช้สามารถ
หาดาวน์โหลด ซอฟต์แวร์เหล่านี้ไปใช้งานได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งส่วนใหญ่มักอยู่บน
สภาพแวดล้อมของระบบปฎิบัติการลินุกซ์และยูนิกซ์ โดยหลายบริษัทด้วยกันก็ใช้ทางเลือก
ดังกล่าว สาหรับซอฟแวร์เครื่องมือช่วยสร้างระบบอีคอมเมิร์ซที่รวมหลายๆ ฟังก์ชั่น เราจะเรียกว่า
Merchant Server Software
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.2.4 ฟังก์ชั่นการทางานของซอฟต์แวร์อีคอมเมิร์ซ
ซอฟต์แวร์สาหรับงานอีคอมเมิร์ซ (e-Commerce Merchant Server Software) จะจัด
เตรียมฟังก์ชั่นการทางานพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับงานขายออนไลน์ อันประกอบด้วย แคตาล็อก
ออนไลน์ การซื้อออนไลน์ผ่านรถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ และการประมวลผลบัตรเครดิต ซึ่งเป็นไปตาม
รายละเอียดดังนี้
• แคตาล็อกออนไลน์ (Online Catalog)
สาหรับซอฟต์แวร์ Merchant Server จะมีความสามารถในเรื่องการจัดการฐานข้อมูลสินค้า
โดยจะช่วยสร้างแคตาล็อกออนไลน์ ที่ผู้ใช้สามารถกาหนดรูปแบบหรือปรับแต่งได้ตามที่ตน
ต้องการ ความซับซ้อนของแคตาล็อก จะขึ้นอยู่กับขนาดของบริษัทและสายผลิตภัณฑ์ (Product
Line) เป็นหลัก โดยบริษัทขนาดเล็กหรือบริษัทที่มีสายผลิตภัณฑ์ขนาดเล็ก อาจแจ้งรายละเอียด
สินค้าแบบเรียบง่าย ผ่านคาอธิบายรายละเอียดสินค้าพร้อมรูปถ่าย ส่วนเว็บไซต์ขนาดใหญ่อาจ
ผนวกเสียงพูด ภาพเคลื่อนไหว หรือวิดีโอ เข้าไปในแคตาล็อกเพื่อสร้างประโยชน์ต่อการสาธิต
สินค้าให้ลูกค้าชม รวมถึงการโต้ตอบข้อซักถามให้กับลูกค้าผ่านการส่งข้อความแบบทันทีทันใด
(Instant Messaging)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
หนึ่งในหน้าที่ของชุดซอฟต์แวร์
Merchant Server กับแคตาล็อก
ออนไลน์
• รถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ (Electronic Shopping Carts)
การช้อปปิ้งออนไลน์ผ่านระบบรถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ เปรียบเสมือนการช้อปปิ้งตามห้าง
สรรพสินค้า แต่ในด้านความแตกต่าง ก็คือ รถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ซึ่งถือเป็นหนึ่งในโมดูลซอฟต์แวร์
Merchant Server นั้น จะอยู่ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่อนุญาตให้ลูกค้าหยิบสินค้าใส่ลงในรถเข็นจาก
การคลิกที่ปุ่มเท่านั้น จากนั้นตัวซอฟต์แวร์ Merchant Server นอกจากนี้ลูกค้ายังสามารถทบทวน
รายการสินค้าที่บรรจุอยู่ในตะกร้าหรือรถเข็น รวมถึงการแก้ไขตามความจาเป็น เช่น ยกเลิกสินค้า
บางรายการ หรือเพิ่ม/ลดจานวนสินค้า เป็นต้น ซึ่งตัวระบบจะนับสะสมรายการสินค้าล่าสุด และ
คานวณยอดเงินสุทธิพร้อมค่าขนส่ง (ถ้ามี) โดยอัตโนมัติ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
หนึ่งในหน้าที่ของชุดซอฟต์แวร์ Merchant
Server กับระบบรถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ ที่
จะบรรจุรายการสินค้าไว้ในรถเข็นหรือ
ตะกร้าในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
การประมวลผลบัตรเครดิต (Credit Card Processing)
ระบบรถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ปกติจะทางานร่วมกันกับซอฟต์แวร์ประมวลผลบัตรเครดิต ซึ่งจะ
ทาการตรวจสอบบัตรเครดิตของลูกค้า แล้วดาเนินการตัดบัญชีบัตรเครดิตโดยอัตโนมัติ ทางนี้
ลูกค้าไม่ต้องกังวลกับการชาระเงินออนไลน์ผ่านบัตรเครดิต เนื่องจากตัวระบบจะมีความปลอดภัยที่
น่าเชื่อถือ ครั้นเมื่อมีการเชื่อมต่อไปยังธนาคารที่เป็นเจ้าของบัตรเครดิต (ระบบตัวกลาง) ได้แล้ว ก็
จะมีการให้กรอกข้อมูลพร้อมรหัส ก่อนที่จะยืนยันเพื่อการตัดบัญชี จากนั้นตัวระบบก็จะส่งอีเมลไป
ยังเมลบ็อกซ์ของลูกค้า เกี่ยวกับรายการสินค้าที่สั่งซื้อพร้อมรายละเอียดการชาระเงิน ซึ่งถือเป็นอัน
เสร็จสิ้นกระบวนการสั่งซื้อและชาระเงินที่ใช้เวลาเพียงไม่กี่นาที จากนั้นลูกค้าก็เพียงรอรับสินค้าที่
บ้านตามเงื่อนไขการส่งมอบสินค้าที่ได้ตกลงกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
หนึ่งในหน้าที่ของชุดซอฟต์แวร์ Merchant Server กับการประมวลผลบัตรเครดิต ซึ่งหากระบบได้ตัดบัญชีบัตรเครดิต เป็น
ที่เรียบร้อยแล้ว จะมีการส่งอีเมลแจ้งไปยังลูกค้าให้รับทราบโดยทันที
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.3 การเลือกฮาร์ดแวร์สาหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
ในฐานะที่คุณเป็นผู้จัดการที่มีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ คุณยังต้อง
ดูแลเรื่องประสิทธิภาพของการดาเนินงานด้วย ไม่ว่าคุณจะเลือกวิธีการติดตั้งโฮสต์ไว้ที่สานักงาน หรือ
เอาต์ซอร์สก็ตาม คุณก็ยังต้องมีความรู้ในเรื่องของแพล็ตฟอร์มฮาร์ดแวร์ (Hardware Platform) ซึ่ง
หมายถึงอุปกรณ์เพื่อการประมวลผลทั้งปวง ที่ระบบต้องนามาใช้เพื่อให้ระบบอีคอมเมิร์ซบรรลุผลตาม
ฟังก์ชั่นการทางานของมัน เป้าหมายของคุณก็คือ แพล็ตฟอร์มฮาร์ดแวร์ดังกล่าวจะต้องมีขีดความ
สามารถเพียงพอต่อความต้องการสูงสุดที่คุณยอมรับได้ เช่น จานวนผู้ใช้สูงสุดที่ระบบสามารถรองรับ
ได้ ช่องทางการสื่อสารเพียงพอต่อการบริการลูกค้าจานวนมากที่เข้าถึงพร้อมๆ กันได้หรือไม่ ซึ่งขีด
ความสามารถดังกล่าวใช่ว่าจะต้องเสียค่าใช้จ่ายจานวนมากทุกครั้งไป ในการตั้งขีดความสามารถ
สูงสุด นั้น ก็เพื่อป้องกันหรือหลีกเลี่ยงระบบเกิดโอเวอร์โหลด ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบล่มหรือการ
ประมวลผลช้าลงอย่างเห็นได้ชัด และการที่คุณจะสามารถตอบคาถามเหล่านี้ได้ คุณก็จะต้องเข้าใจถึง
ปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อความเร็ว ความจุ และการปรับขยายระบบของเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ ซึ่งจะ
อธิบายในหัวข้อย่อยต่างๆ ดังต่อไปนี้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.3.1 การปรับขนาดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์ :
ด้านอุปสงค์ (Right-Sizing Your Hardware Platform : The Demand Side)
ความต้องการในเว็บไซต์มีความซับซ้อนพอควรเลยทีเดียว และยังขึ้นอยู่กับประเภทของเว็บไซต์
ที่คุณดาเนินงานอยู่ด้วย สาหรับข้อมูลต่อไปนี้เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อความเร็วของเว็บไซต์
• จานวนผู้ใช้ที่เข้าถึงพร้อมๆ กันสูงสุดใน
ช่วงเวลาหนึ่ง
• ลักษณะของการร้องขอของลูกค้า (User
Profile)
• ประเภทของเนื้อหา (เว็บเพจแบบ Static
หรือแบบ Dynamic)
• ระบบความปลอดภัยที่จาเป็น
• จานวนสินค้าที่มีอยู่ในคลัง
• จานวนการร้องขอหน้าเว็บ
• ความเร็วของระบบงานเดิมที่ต้องจัดส่ง
ทรัพยากรข้อมูลต่างๆ ไปยังหน้าเว็บ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
กราฟแสดงประสิทธิภาพด้านเวลาตอบสนองของระบบล่าช้า ตามจานวนการใช้ทรัพยากร
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
กราฟแสดงประสิทธิภาพด้านอัตราการประมวลผลธุรกรรมของระบบช้าลง จานวนผู้ใช้ที่เชื่อมต่อมากขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
แน่นอนว่าหนึ่งในปัจจัยที่สาคัญที่สุดมักถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณาเป็นอันดับแรก ก็คือ
แนวโน้มของผู้ใช้ที่มีการเข้าถึงพร้อมๆ กันบนเว็บไซต์ของเรา ซึ่งโดยทั่วไปแล้วภาระงานที่ถูกสร้าง
ขึ้น จากลูกค้าแต่ละรายบนเซิร์ฟเวอร์นั้น ปกติมักจะเกิดขึ้นเพียงชั่วครู่เท่านั้น กล่าวคือ การเปิด
เชสชั่น (Session) บนเว็บนั้น ปกติจะเป็นในลักษณะ Stateless ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง
ที่ว่า เซิร์ฟเวอร์นั้นมิได้ดารงรักษาการปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าตลอดเวลา กล่าวคือ เซสซั่นที่เปิดไม่
จาเป็นต้องมีการปฏิสัมพันธ์เพื่อการถือครองกับลูกค้าไปโดยตลอดนั่นเอง แต่เซสซั่นที่ถูกเรียกใช้
งาน ปกติจะเป็นไปตามสถานะนั้นๆ โดยเริ่มจากสถานะ Page Request -> Server Replies ->
Session Ended ดังนั้นเซสซั่นหนึ่งๆ ที่ถูกเปิดอาจมีอายุการใช้งานเพียงไม่กี่วินาทีต่อผู้ใช้หนึ่งคน
อย่างไรก็ตาม ประสิทธิภาพโดยรวมของระบบจะลดต่าลง และจะลดต่าลงขึ้นไปอีกหากผู้ใช้ได้ร้อง
ขอบริการพร้อมๆ กัน ส่งผลต่อระบบการตอบสนองกลับไปยังผู้ใช้ล่าช้า ทั้งนี้ความล่าช้าจะค่อยๆ
แผ่ขยายเป็นวงกว้างมากขึ้นจากเดิม เช่น เดิมใช้เวลาเพียง 1 วินาทีต่อการประมวลทรานแซกชั่น
หนึ่งๆ จนกระทั่งเกิดเวลาแฝง (Latency) มากขึ้น และก่อให้เกิดความล่าช้า (Delay) จนถึงขีดสุดที่
ส่งผลต่อคุณภาพงานบริการ ที่ไม่สามารถยอมรับได้อีกต่อไปซึ่งเป็นไปตามกราฟ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ในด้านงานบริการเว็บเพจแบบสแตติก (Static Web Page) มักเกี่ยวข้องกับ I/O Intensive ซึ่ง
หมายถึงมีการเรียกร้องการดาเนินงานเกี่ยวกับอินพุต/เอาต์พุต (I/O) มากกว่าพลังการประมวลผล
ของโปรเซสเซอร์ ดังนั้นประสิทธิภาพการทางานของเว็บไซต์นั้น จะเกิดจากข้อจากัดหลักๆ ทางด้าน
I/O ของเซิร์ฟเวอร์และการเชื่อมต่อเข้ากับระบบโทรคมนาคมมากกว่าความเร็วของหน่วยประมวลผล
มีบางขั้นตอนที่คุณสามารถนาไปดาเนินการ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าคุณภาพของงานบริการ
อยู่ในระบบที่ยังคงยอมรับได้อยู่ ขั้นแรกก็คือ ให้เลือกซื้อเซิร์ฟเวอร์ที่มีพลังการประมวลผลสูง, การใช้
ซีพียูแบบมัลติโปรเซสเซอร์ (บนเมนบอร์ดเดียว) หรือเลือกฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูง อย่างไรก็ตาม
ผลลัพธ์ที่ได้จากการปรับปรุงประสิทธิภาพตามคาแนะนาดังกล่าว มิได้ส่งผลออกมาในรูปแบบเชิงเส้น
แต่อย่างใด ในขณะที่การปรับปรุงบางจุด อาจกายเป็นต้นทุนที่ไม่ได้ก่อเกิดประสิทธิภาพใดๆ จากรูป
ได้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในเชิงทฤษฎีของเว็บเซิร์ฟเวอร์ กับกรณีการเพิ่มพลังการ ประมวลผล
ของโปรเซสเซอร์จาก 1 ตัว มาเป็น 8 ตัว และจากการเพิ่มจานวนโปรเซสเซอร์ถึง 8 ตัว นั้น ได้ช่วย
เพิ่มขีดความสามารถในการรับภาระการเข้าถึงของผู้ใช้พร้อมๆ กันสูงมากขึ้นถึง 3 เท่า
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ปัจจัยในลาดับถัดไปที่จะถูกนามาพิจารณาก็คือ User Profile ซึ่งเกี่ยวข้องกับลักษณะการ ร้อง
ขอของลูกค้า และพฤติกรรมของลูกค้าในเว็บไซต์ของคุณ (เช่น จานวนหน้าเว็บที่ลูกค้าร้องขอ และ
ชนิดของงานบริการที่พวกเขาต้องการ) ซึ่งทราบว่าจะทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพกับงาน บริการ
เว็บเพจแบบสแตติก อย่างไรก็ตาม หากลูกค้าได้มีการร้องของานบริการขั้นสูงมากกว่านั้น เช่น การ
ค้นหาเว็บไซต์ การลงทะเบียน การสั่งซื้อสินค้าผ่านระบบรถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ หรือการดาวน์โหลด
ไฟล์วิดีโอ สิ่งเหล่านี้ล้วนต้องการพลังงานการประมวลผลมากขึ้น
งานบริการเว็บเพจแบบสแตติกของเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่
ใช้โปรเซสเซอร์ Intel Xeon 3GHz เพียงหนึ่งตัว
สามารถรองรับผู้ใช้ พร้อมๆ กันได้ประมาณ 8,000
คน ซึ่งหากเพิ่มโปรเซสเซอร์มาเป็นแปดตัว ให้กับ
คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกันนี้ ทาให้สามารถรองรับ
ผู้ใช้ ได้พร้อมพร้อมกันได้กว่า 25,000 คน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
อีกปัจจัยหนึ่งที่เราจะนามาพิจารณาก็คือ เนื้อหาของเว็บไซต์ ซึ่งหากเว็บไซต์ของคุณนาเสนอ
เนื้อหาในรูปแบบของไดนามิกเว็บเพจ ภาระของโปรเซสเซอร์ก็จะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว และ
ประสิทธิภาพก็จะลดต่าลงตามมา เว็บเพจไดนามิคและการทาธุรกรรมทางธุรกิจ เช่น การสั่งซื้อ
ผ่าน ระบบรถเข็นอิเล็กทรอนิกส์เป็นการปฏิบัติงานแบบ CPU-Intensive ซึ่งหมายถึงต้องใช้
พลังงานใน การประมวลผลของโปรเซสเซอร์มากเป็นพิเศษ ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ที่นาเสนอเนื้อหา
บนเว็บแบบ ไดนามิก มีประสิทธิภาพตามความคาดหวังภายใต้โพรเซสเซอร์เพียงหนึ่งตัว โดย
สมมติว่ามีอัตราลด ระดับลง 1 ใน 10 ดังนั้นแทนที่ระบบจะบริการแก่ผู้ใช้ พร้อมๆ กันอย่างมี
ประสิทธิภาพถึง 8,000 คน แต่ระบบของคุณอาจรองรับได้ประมาณ 1,000 คน เท่านั้น ซึ่งเกี่ยวข้อง
กับธุรกรรมการโต้ตอบกับผู้ใช้ในทุกๆ เรื่อง ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงฐานข้อมูล, การกรอกแบบฟอร์ม
ข้อมูล, การหยิบสินค้าลงในรถเข็น/ตะกร้า, การสั่งซื้อ, การชาระเงิน และการ ตอบแบบสอบถาม
เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนสร้างภาระงานอันหนักอึ้งให้กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ในเรื่องของการ
ประมวลผลทั้งสิ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ความสัมพันธ์ระหว่างแบนด์วิดธ์กับจานวน
ผู้เข้าใช้
สาหรับปัจจัยสุดท้ายที่ต้องพิจารณาก็คือ ระบบ
โทรคมนาคม ที่เชื่อมโยงเข้ากับเว็บไซต์ของคุณ รวมถึงลักษณะ
การเชื่อมต่อของลูกค้าที่เชื่อมโยงมายังเว็บไซต์ของคุณ จากรูป
ได้แสดงให้เห็นว่า จานวนผู้เข้าชมเว็บต่อวินาที (Hit Per
Second) ของเว็บไซต์ ขึ้นอยู่กับแบนด์วิดธ์ของระบบสื่อสาร
ดังนั้นหากแบนด์วิดธ์ของระบบสื่อสารมีขนาดใหญ่ ย่อมเปิด
โอกาสให้ลูกค้าเข้ามายังเว็บไซต์ พร้อมๆ กันได้มากขึ้น
ตัวอย่างเช่น ถ้าการเชื่อมต่อไปยังเว็บมีความเร็วที่ 1.5 เมกะบิต
ต่อวินาที (Mbps) ด้วยสาย DSL จานวนสูงสุดของผู้เยี่ยมชมต่อ
วินาทีสาหรับการร้องขอไฟล์ข้อมูลขนาด 1 กิโลไบต์ ก็จะอยู่ที่
ประมาณ 100 คน อย่างไรก็ตาม สาหรับธุรกิจโดยส่วนใหญ่
โฮสต์เว็บไซต์ของ พวกเขาที่มี ISP เป็นผู้ดูแลจัดการนั้น มัก
เตรียมแบนด์วิดธ์ไว้อย่างเพียงพอให้กับเว็บไซต์ของคุณ เพื่อ
ตอบสนองความต้องการสูงสุดได้อยู่แล้ว
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.3.2 การปรับขนาดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแพล็ตฟอร์มฮาร์ดแวร์ : ด้านอุปทาน (Right-
Sizing Your Hardware Platform : The Supply Side)
เมื่อคุณประมาณความต้องการที่เหมาะสมให้กับเว็บไซต์ได้แล้ว ขั้นตอนต่อไปก็คือ คุณจะต้อง
พิจารณาว่าจะขยายความสามารถของระบบเว็บไซต์ เพื่อรับประกันถึงขีดความสามารถสูงสุด ได้
อย่างไร หรือที่เรียกว่า Scalability โดยมีอยู่ 3 ขั้นตอนด้วยกันที่คุณสามารถดาเนินการเพื่อ
ตอบสนองงานบริการของเว็บไซต์ได้ตรงตามต้องการ อันประกอบด้วย
1. การปรับขนาดตามแนวตั้ง (Vertical Scaling)
2. การปรับขนาดตามแนวนอน (Horizontal Scaling)
3. การปรับปรุงสถาปัตยกรรมการประมวลผลของเว็บไซต์ (Improving The Processing
Architecture)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
การปรับขนาดตามแนวตั้ง เกี่ยวข้องกับการเพิ่มพลังการประมวลผลให้กับอุปกรณ์แต่ละ
ตัว ด้วยการเพิ่มพลังการประมวลผลให้กับซีพียู หรือเพิ่มจานวนซีพียูให้กับคอมพิวเตอร์เครื่อง
หนึ่งๆ ส่วน
การปรับขนาดตามแนวนอน เกี่ยวข้องกับการนาคอมพิวเตอร์ทั้งหลายๆ เครื่องมาช่วย
แบ่งปันภาระงานร่วมกัน ทาให้ภาระงานถูกกระจายไปยังเครื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ไม่ต้องตกอยู่
บนเครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ
การปรับปรุงสถาปัตยกรรมการประมวลผล เป็นการนาเทคนิคการปรับขนาด ทั้งแบบ
แนวตั้งและแนวนอนรวมเข้าด้วยกัน
การปรับขนาดเว็บไซต์ตามแนวตั้ง
สามารถทาได้โดยเพิ่มพลังการ
ประมวลผลให้กับโพรเซสเซอร์และ
การเพิ่มจานวนซีพีอยู่ใน เครื่อง
เซิร์ฟเวอร์ (Multiple CPU)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
การปรับขนาดเว็บไซต์ตาม
แนวนอนเพื่อตอบสนองความ
ต้องการ ด้วยการเพิ่มเซิร์ฟเวอร์
แบบซีพียูเดียวซึ่งมีราคาไม่แพง
จานวนหลายๆ เครื่อง เชื่อมต่อ
เข้ากับเว็บไซต์ด้วยซอฟต์แวร์
Load-Balancing โดยอุปกรณ์
Cisco LocalDirector จะเป็นตัว
จัดสรร ความต้องการของลูกค้า
เพื่อเข้าถึงเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้
อย่างถูกต้อง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
จากตารางข้างต้น ได้แสดงถึงขั้นตอนทั่วไปที่คุณสามารถนามาใช้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ
เว็บไซต์ของคุณ โดยขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ ส่วนใหญ่จะแยกภาระงานเพื่อรองรับกิจกรรม ทั้งแบบ
I/O-Intensive และ CPU-Intensive ครั้นเมื่อมีการแบ่งแยกการทางานออกจากกัน คุณก็ สามารถ
ปรับแต่งเซิร์ฟเวอร์แต่ละเครื่องตามโหลดภาระงาน โดยหนึ่งในขั้นตอนของการปรับแต่งที่มี
ค่าใช้จ่ายต่าก็คือ การเพิ่มหน่วยความจาหลัก (RAM) ให้กับเซิร์ฟเวอร์ เพื่อจัดเก็บหน้าเว็บ HTML
ทั้งหมดไว้ในหน่วยความจาหลัก ซึ่งช่วยลดภาระงานให้กับฮาร์ดดิสของคุณ และเพิ่มความเร็วให้กับ
ระบบโดยรวมได้ เนื่องจากความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลบนหน่วยความจาหลัก มีความเร็วมากกว่า
ฮาร์ดดิสมาก จึงถือเป็นการลดภาระในเรื่อง I/O-Intensive ส่วนขั้นตอนสาคัญในลาดับถัดไปก็คือ
การลดภาระในเรื่อง CPU-Intensive ด้วยการเพิ่มหน่วยประมวลผล เพื่อใช้กับการประมวลผล
ธุรกรรมต่างๆ ที่ต้องใช้พลังการประมวลผลสูง เช่น การจัดการในเรื่องการสั่งซื้อ การเข้าถึง
ฐานข้อมูล เป็นต้น รวมถึงเปิดโอกาสให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงเว็บ เพื่อทาธุรกรรมพร้อมๆ กันได้
จานวนมากขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.4 เครื่องมืออื่นๆ สาหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
คือการออกแบบเว็บไซต์ให้มีความสอดคล้องตรงกันกับความพยายามในการทาธุรกิจของคุณ
ซึ่งไม่จาเป็นต้องสร้างเว็บไซต์ให้มีผู้เยี่ยมชมมีความรู้สึกถึง ความน่าตื่นเต้น แต่คุณควรรู้วิธีการ
สร้างเนื้อหาที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอด (Active Content) เพื่อตอบสนองความต้องการของ
ผู้ใช้ ที่ไม่ใช่แค่เพียงการแสดงหน้าเว็บแบบคงที่ และแน่นอนว่าคุณต้องการความสามารถในการ
ติดตามลูกค้าที่แวะเข้ามาและออกจากเว็บไป ตัวอย่างเช่น กรณี ผู้เยี่ยมชม/ลูกค้า ได้กลับมายัง
เว็บไซต์ของเราอีกครั้ง การทักทายกับเขาด้วยถ้อยคา เช่น “สวัสดีค่ะ…คุณองอาจ” หรือ “ยินดี
ต้อนรับในการกลับมาของ…คุณชูใจ” นอกจากนี้คุณยังต้องติด ตามลูกค้าตลอดช่วงเวลาที่เขาได้
ท่องอยู่ในเว็บของคุณ จากนั้นก็เก็บข้อมูลเพื่อนาไปสู่การนาเสนอ สินค้า/บริการตามคุณลักษณะ
เฉพาะตัวของเขา หรือให้เขาสามารถปรับแต่งความต้องการในสินค้า/ บริการตามที่เขาต้องการได้
และท้ายสุดคุณต้องสร้างชุดของนโยบายเกี่ยวกับข้อมูลสาหรับเว็บไซต์ เช่น นโยบายความเป็น
ส่วนตัว เงื่อนไข และนโยบายการเข้าถึงและการรักษาข้อมูล เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
7.4.1 การออกแบบเว็บไซต์ : ควรพิจารณาถึงพื้นฐานการทาธุรกิจ
หน้าร้านแบบออนไลน์ที่ปรากฏอยู่บนหน้าเว็บ ควรได้รับการ ออกแบบเพื่อดึงดูดความสนใจ
ลูกค้า ดังนั้นคุณจึงต้องสื่อสารร่วมกับทีมงานนักออกแบบ เว็บไซต์เพื่อให้รับทราบถึงแนวคิดต่างๆ
เพื่อจะได้ออกแบบเว็บไซต์ได้ตรงตามที่คุณต้องการ อย่างไรก็ ตาม ความต้องการขั้นต่าก็คือ ลูกค้า
ของคุณจะต้องค้นหาในสิ่งที่พวกเขาต้องการได้บนเว็บไซต์เพื่อ ซื้อสินค้าจนกระทั่งออกไปจาก
เว็บไซต์ของคุณได้อย่างสะดวก
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ

More Related Content

What's hot

คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ  อินเทอร์เน็ตและเว็บบทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ  อินเทอร์เน็ตและเว็บ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บTeetut Tresirichod
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต...
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต...บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต...
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต...Teetut Tresirichod
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณา
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณาบทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณา
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณาTeetut Tresirichod
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองพัน พัน
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 

What's hot (20)

คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ  อินเทอร์เน็ตและเว็บบทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ  อินเทอร์เน็ตและเว็บ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต...
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต...บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต...
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต...
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณา
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณาบทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณา
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาดบนอินเทอร์เน็ตและการโฆษณา
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 

Similar to บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ

Chapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesChapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesTeetut Tresirichod
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Instructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningInstructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningBoonlert Aroonpiboon
 
แปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eแปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eSchool
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลkamolphan_sri
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมDuangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
Cybersecurity ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์
Cybersecurity ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์Cybersecurity ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์
Cybersecurity ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์maruay songtanin
 
หนังสือเล่มเล็ก4
หนังสือเล่มเล็ก4หนังสือเล่มเล็ก4
หนังสือเล่มเล็ก4Magicianslove Beer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะKoNg KoNgpop
 

Similar to บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (20)

Chapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesChapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologies
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
Instructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningInstructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-Learning
 
แปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eแปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of e
 
08
0808
08
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอม
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
 
งานคอม บท2
งานคอม บท2งานคอม บท2
งานคอม บท2
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Cybersecurity ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์
Cybersecurity ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์Cybersecurity ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์
Cybersecurity ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์
 
หนังสือเล่มเล็ก4
หนังสือเล่มเล็ก4หนังสือเล่มเล็ก4
หนังสือเล่มเล็ก4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
 
ICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU StudentsICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU Students
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ

  • 1. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ e-commerce บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective) หลังจากได้อ่านและศึกษาจนจบบทนี้แล้วท่านจะสามารถ 1. เข้าใจในกระบวนการของวงจรการพัฒนาระบบที่ใช้เป็นแบบแผนการสร้างเว็บไซต์ อี คอมเมิร์ซ 2. รู้จักเลือกวิธีการพัฒนาเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาขึ้นเอง หรือเอาต์ ซอร์ส และการเลือกใช้โฮสติ้ง บนพื้นฐานความต้องการและการตัดสินใจที่ เหมาะสม 3. มีความรู้ในการพิจารณาเลือกซื้อเว็บเซิร์ฟเวอร์และซอฟต์แวร์เพื่องานอีคอมเมิร์ซ 4. สามารถคัดเลือกฮาร์ดแวร์ที่เหมาะสมที่สุดสาหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ 5. สามารถวางแผนการปรับขนาดระบบ เพื่อรองรับการใช้งานในอนาคตได้ 6. รู้จักนาเครื่องมือเพิ่มเติมต่างๆ มาใช้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.1 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซในมุมมองเชิงระบบ สิ่งสาคัญที่สุด 2 ประการที่ท้าทายเราในเรื่องการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซให้ ประสบผลสาเร็จก็คือ 1. ทาความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ทางธุรกิจของตนให้ชัดเจน ด้วยการสร้าง แผนงานสาหรับการพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมา 2. รู้จักเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ เพื่อบรรลุถึงวัตถุประสงค์ดังกล่าว โดยต้อง ทาความเข้าใจในโครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ ว่ามีส่วนประกอบพื้นฐาน อะไรบ้าง แล้วปล่อยให้การดาเนินธุรกิจผลักดันตัวเทคโนโลยีที่จาเป็นต่อการใช้ งานต่อไป
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.1.1 ปัจจัยที่มีต่อการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ ขั้นแรกคุณจะต้องตระหนักถึงปัจจัยหลักๆ ที่คุณต้องตัดสินใจให้ได้ก่อน ซึ่งมีปัจจัยมากมายที่ จะต้องนามาพิจารณากับการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซในครั้งนี้ อันประกอบด้วย 1. ปัจจัยด้านขีดความสามารถขององค์กร 2. สถาปัตยกรรมฮาร์ดแวร์ 3. ซอฟต์แวร์ 4. ระบบสื่อสารและโทรคมนาคม 5. การออกแบบเว็บไซต์ 6. ทรัพยากรมนุษย์ โดยในเบื้องต้นคุณต้องร่วมมือกับแผนกทรัพยากรบุคคล ในการเฟ้นหาบุคคลที่เกี่ยวข้องหรืออาจ จัดตั้งทีมงานขึ้นมาสักทีหนึ่งที่มีความรู้และทักษะในการจัดการเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซให้ประสบ ความสาเร็จ โดยทีมงานดังกล่าวจะทาการตัดสินใจในเรื่องหลักๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี การ ออกแบบเว็บไซต์ และนโยบายทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายและจริยธรรม
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.1.2 วงจรการพัฒนาระบบ วงจรการพัฒนาระบบ (Systems Development Life Cycle : SDLC) จัดเป็นวิธีการพัฒนา ระบบแบบดั้งเดิม ที่มักถูกนามาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาระบบสารสนเทศตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กรอบการทางานใน SDLC นั้นมีโครงสร้างค่อนข้างชัดเจน ตรงไปตรงมา กิจกรรมในแต่ละระยะจะมี ลาดับแน่นอน โดยเมื่อเสร็จสิ้นในระยะหนึ่งก็จะก้าวเข้าสู่ระยะถัดไป เช่น ได้ทาการวิเคราะห์เสร็จสิ้น แล้ว ก็จะเข้าสู่ระยะการออกแบบ เป็นต้น สาหรับวงจรการพัฒนาระบบอีคอมเมิร์ซนั้น ประกอบด้วย 5 ระยะด้วยกัน คือ 1. การวางแผนและการวิเคราะห์ระบบ 2. การออกแบบระบบ 3. การสร้างระบบ 4. การทดสอบระบบ 5. การนาระบบไปใช้และการบารุงรักษา
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 1 : การวางแผนและการวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis/Planning) โดยในระยะนี้เราจะต้องพยายามตอบคาถามให้ได้ว่า “เราต้องการให้เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซทาอะไร ให้กับธุรกิจของพวกเรา” บทเรียนสาคัญต่อการเรียนรู้ในที่นี้คือ ควรปล่อยให้การตัดสินใจทางธุรกิจ ผลักดันตัวเทคโนโลยี (มิใช่ทาแบบย้อนกลับ) เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า แพล็ตฟอร์มทางเทคโนโลยีที่ ใช้มีความสอดคล้องตรงกันกับธุรกิจของคุณ
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 1 : การวางแผนและการวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis/Planning)
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 1 : การวางแผนและการวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis/Planning)
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 1 : การวางแผนและการวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis/Planning) วิธีแรกที่จะต้องทาก ็็คือ การกาหนดวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ (Business Objectives) ให้กับเว็บไซต์ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้นในเรื่องรายละเอียด จากนั้นจึงทาการพัฒนาฟังก์ชั่นการทางาน ต่างๆ และความต้องการขึ้นมา ทั้งนี้วัตถุประสงค์ทางธุรกิจก็คือ เหล่าความสามารถต่างๆ ที่เรา ต้องการให้เว็บไซต์ของเรามีนั่นเอง สาหรับในส่วนฟังก์ชั่นการทางานของระบบ (System Functionality) ก็คือระบบสารสนเทศชนิดต่างๆ ที่นามาใช้เพื่อให้ธุรกิจของคุณสามารถบรรลุตรง ตามวัตถุประสงค์ให้จงได้ ในขณะที่ความต้องการในข้อมูลข่าวสาร (Information Requirements) ก็ คือองค์ประกอบของข้อมูลที่ระบบจะต้องผลิตขึ้นมาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ และในฐานะ ที่คุณเป็นผู้จัดการ จึงต้องรวบรวมรายการข้อมูลเหล่านี้ไปให้นักพัฒนาโปรแกรมและโปรแกรมเมอร์ เพื่อให้พวกเขารับทราบในสิ่งที่จะต้องทา และทาให้เขาพัฒนาระบบตรงตามที่คุณคาดหวังได้
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 2 : การออกแบบระบบ (System Design) การออกแบบระบบ (System Design Specification) ซึ่งเป็นคาอธิบายถึงองค์ประกอบหลัก ของระบบ และความสัมพันธ์กับส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และในการออกแบบระบบยังสามารถแบ่งออก เป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ การออกแบบเชิงตรรกะ และการออกแบบเชิงกายภาพ • การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) ประกอบด้วยแผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram : DFD) ที่ใช้อธิบายการไหลของข้อมูลในเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ, ฟังชั่นการประมวลผลที่ จะต้องได้รับการจัดทาและฐานข้อมูลที่ใช้งาน นอกจากนี้การออกแบบเชิงตรรกะยังผนวกรวมใน เรื่องรายละเอียดเกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัย การสารอง ข้อมูลฉุกเฉิน และการควบคุม การใช้งาน • การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) เป็นการแปลงแผนภาพเชิงตรรกะมาเป็น ส่วนประกอบทางกายภาพ เช่น รายละเอียดในสถาปัตยกรรมของเครื่องเซิร์ฟเวอร์และ ซอฟต์แวร์ ที่ต้องใช้ขนาดของระบบสื่อสารและโทรคมนาคมที่ต้องการเชื่อมโยงวิธีการสารอง ข้อมูลและการป้องกันการบุกรุกจากบุคคลภายนอก
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 2 : การออกแบบระบบ (System Design) เปรียบเทียบระหว่างแผนภาพ เชิงตรรกะ และเชิงกายภาพ (a) แผนภาพกระแสข้อมูลที่อธิบาย การไหลของข้อมูล เกี่ยวกับการ ร้องขอและตอบสนองสาหรับ เว็บไซต์อย่างง่าย (b) การ ออกแบบเชิงกายภาพที่อธิบาย ถึงการทางานของอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ทาให้ มองเห็นภาพจริง (a)
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 2 : การออกแบบระบบ (System Design) (b) พิจารณาจากรูป (a) เป็นแผนภาพกระแสข้อมูลในระดับ High-level Logical Design ที่ได้รับการ ออกแบบอย่างเรียบง่าย โดยอธิบายถึงเว็บไซต์ได้มีการส่งหน้าแคตตาล็อกสินค้าในรูปแบบ เอกสาร HTML กลับไป เพื่อตอบสนองการร้องขอ HTTP จากเบราเซอร์ลูกค้า ในขณะที่รูป (b) เป็นแผนภาพที่ได้รับการ ออกแบบในเชิงกายภาพ (สอดคล้องกับแผนภาพเชิงตรรกะ) นอกจากนี้ กระบวนการหลักๆ ในแต่ละโปรเซส ยังสามารถแตกย่อยให้เป็นลาดับที่ต่าลงมา (Lower-level) เพื่อแสดงถึงวิธีการไหลของข้อมูลว่าเป็นอย่างไร และเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์อะไร
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 3 : การสร้างระบบ (Building the System) ในระยะนี้จะเริ่มต้นพิจารณาถึงวิธีการสร้างเว็บไซต์จริงๆ ขึ้นมาซึ่งก็มีทางเลือกอยู่หลายทาง ด้วยกัน เช่น การพัฒนาขึ้นเอง (In-House) โดยทีมงานภายใน หรือจะเลือกใช้วิธีการเอาต์ซอร์ส (Outsourcing) การเอาต์ซอร์ส (Outsourcing) เป็นการจ้างหน่วยงานภายนอก ซึ่งเป็นผู้ให้บริการในเรื่อง การพัฒนาเว็บไซต์ แทนที่เราจะใช้บุคคลภายใน เนื่องจากบุคคลภายในอาจมีทักษะไม่มากพอหรือ ตามเทคโนโลยีไม่ทัน ในขณะที่ทีมงานเอาต์ซอร์สจะมีทีมผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สูง เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว อย่างไรก็ตาม เมื่อตัดสินใจได้แล้วว่าจะเลือกพัฒนาด้วยวิธีใด (ไม่ว่าจะเลือก แบบ In-House หรือ Outsource ก็ตาม) เรื่องถัดมาที่ต้องได้รับการตัดสินใจก็คือ การพิจารณาถึง โฮสต์ คอมพิวเตอร์ เช่น จะติดตั้งเว็บเซิร์ฟเวอร์ไว้ที่บริษัท หรือใช้บริการเช่าโฮสต์ (Web Hosting) จากผู้ให้บริการ
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 3 : การสร้างระบบ (Building the System) ทางเลือกในการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซและโฮสติ้ง
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 3 : การสร้างระบบ (Building the System) วิธีการสร้างและเลือกใช้โฮสต์อีคอมเมิร์ซ ว่าจะเลือกทาเองหรือเอาต์ซอร์ส อีกทั้งยังสามารถ เลือกวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือเลือกแบบผสมก็ได้ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ • Build:In, Host:In เป็นการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ พร้อมกับการติดตั้งโฮสต์ด้วยทีมงาน ภายในองค์กร • Build:In, Host:Out เป็นการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซโดยทีมงานภายใน แต่จะเช่าเว็บโฮสต์ จากหน่วยงานภายนอกที่เปิดให้บริการ • Build:Out, Host:In เป็นการว่าจ้างหน่วยงานภายนอกสร้างเว็บไซต์ให้ แต่องค์กรจะมีโฮสต์ เป็นของตนเอง • Build:Out, Host:Out เป็นการเอาต์ซอร์สจากผู้ให้บริการทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการสร้าง เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซและโฮสติ้ง
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 3 : การสร้างระบบ (Building the System) นอกจากนี้ก็ยังมีอีกทางเลือกหนึ่งที่เรียกว่า Co-Locate ซึ่งเป็นการเช่าพื้นที่วางเซิฟเวอร์ เช่น บริษัทได้ตกลงซื้อหรือเช่าซื้อเว็บเซิร์ฟเวอร์กับผู้ให้บริการ แต่แหล่งที่ตั้งเซิร์ฟเวอร์แทนที่จะ ตั้งไว้ที่ตัวบริษัท ก็จะฝากไว้กับผู้ขายหรือผู้ให้บริการแทน ทั้งนี้ทางผู้ให้บริการจะอานวยความ สะดวกทางกายภาพในการจัดหาแหล่งที่ตั้งให้ (มักอยู่ในรูปแบบของ Data Center) พร้อมกับ บารุงรักษาตัวเครื่องและสายสื่อสาร ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ดีมีความเสถียรสูง และมีระบบความ ปลอดภัยครบครัน ด้วยการทาสัญญาข้อตกลงระหว่างกัน (ส่วนใหญ่จะคิดค่าบริการแบบรายเดือน) สาหรับการเอาต์ซอร์สโฮสติ้ง ในด้านดีก็คือ ความวางใจในมืออาชีพของผู้ให้บริการที่สามารถดูแล โฮสต์ให้เราให้สามารถทางานได้ตลอด 24 ชั่วโมง และตั้งอยู่ในสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มี ระบบความ ปลอดภัยสูง แต่ข้อเสียก็มีอยู่เช่นกัน ดังนั้นควรคัดเลือกผู้ขายที่มีขีดความสามารถพอ มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับและพร้อมที่จะเติบโตไปพร้อมกับเรา
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ : 4 การทดสอบระบบ (Testing the System) โดยการทดสอบระบบจะประกอบด้วย การทดสอบหน่วยย่อย (Unit Testing) เกี่ยวข้อง กับการทดสอบโปรแกรมของเว็บไซต์ในแต่ละโมดูล พูดตรวจสอบจะต้องทดสอบใช้งานจนกระทั่ง เชื่อใจได้ว่า โปรแกรมโมดูลดังกล่าวปราศจากข้อผิดพลาด ส่วน การทดสอบทั้งระบบ (System Testing) เกี่ยวข้องกับการทดสอบฟังก์ชั่นการทางานต่างๆ ของเว็บไซต์ทั้งระบบ ว่าทางานได้ อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามความต้องการหรือไม่ โดยทดสอบในลักษณะเดียวกันกับผู้ใช้ทั่วไป ที่ได้ท่องเข้ามายังเว็บไซต์ ท้ายสุดก็จะเข้าสู่การทดสอบการยอมรับในระบบ (Acceptance Testing) ที่จะให้บุคคลสาคัญหรือผู้จัดการในแต่ละแผนกเข้าร่วมทดสอบ เช่น ผู้จัด การแผนก การตลาด แผนกการผลิต แผนกขาย และผู้จัดการทั่วไป ได้ทดลองใช้ระบบจริงที่ถูกติดตั้งทดสอบ บนอินเทอร์เน็ตหรือเซิร์ฟเวอร์อินทราเน็ต ทั้งนี้ในการทดสอบการยอมรับในระบบ จะต้อง ตรวจสอบการทางานของระบบโดยรวมว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ทางธุรกิจของบริษัทหรือไม่
  • 18. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 5 : การนาระบบไปใช้และการบารุงรักษา (Implementation and Maintenance) หลายองค์กรคาดหวังว่าจะสามารถใช้ระบบที่ลงทุนมานี้ได้ยาวนานหลายปี คุ้มค่า หรือตาม อายุขัยของมัน แต่ก็ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้วย อย่างไรก็ตาม ระบบก็สามารถล้มเหลวได้จากหลายเหตุผลด้วยกัน ซึ่งส่วนใหญ่มักคาดการณ์ไม่ได้ ดังนั้นแนวทางป้องกันก็คือ ต้องมีการดูแลตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง มีการทดสอบและซ่อมแซมส่วน ที่สึกหรอหรือเสียหาย ดังนั้นงานบารุงรักษาระบบ จึงเป็นส่วนสาคัญ แต่ในบางครั้งบริษัทหลาย แห่งกลับไม่มีการตั้งงบประมาณจัดการกับสิ่งนี้เลย ซึ่งโดยทั่วไปแล้วต้นทุนการบารุงรักษา ประจาปี เมื่อคิดโดยประมาณแล้วจะเท่าๆ กับต้นทุนการพัฒนา เช่น ต้นทุนการพัฒนาเว็บไซต์อี คอมเมิร์ซอยู่ที่ 50,000 บาท อาจต้องเตรียมงบประมาณเพื่อบารุงรักษาระบบประจาปีอยู่ที่ 50,000 บาท เป็นต้น ในขณะที่เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซขนาดใหญ่ ต้นทุนการบารุงรักษาจะลดลงตาม การประหยัดทางขนาด (Economies of Scale) เช่น ต้นทุนพัฒนาเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซอยู่ที่ 1,000,000 บาท งบประมาณในการบารุงรักษาประจาปีอาจอยู่ที่ประมาณ 500,000 ถึง 700,000 บาท เป็นต้น
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 5 : การนาระบบไปใช้และการบารุงรักษา (Implementation and Maintenance) การบารุงรักษาระบบเป็นสิ่งสาคัญก็เพราะว่า เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซจะมีกระบวนการเปลี่ยน แปลงอยู่ตลอดเวลา กล่าวคือ ต้องปรับปรุงและแก้ไขอย่างไม่มีที่สิ้นสุดนั่นเอง ตามปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้ • การยกระดับความสามารถของเซิร์ฟเวอร์ เช่น การอัพเกรดซีพียู การติดตั้งเซิร์ฟเวอร์ เพิ่มเติม เช่น ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ เมลเซิร์ฟเวอร์ และแอดเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น • การปรับปรุงระบบสื่อสารให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น ตั้งติดต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต เพื่อเพิ่มความเร็วอินเทอร์เน็ต • การปรับปรุงลิงก์เชื่อมโยงไปยังหน้าเว็บต่างๆ ในกรณีที่ลิงก์เดิม (โดยเฉพาะลิงก์เชื่อมโยง ภายนอก) ได้ตายไปแล้ว (Dead Link) ซึ่งอาจเกิดจากเว็บไซต์นั้นถูกปิดหรือมีการเปลี่ยน แปลงลิงก์ใหม่ • การปรับปรุงสคริปต์ ป้ายโฆษณา รายงาน และไฟล์ข้อมูล
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ระยะที่ 5 : การนาระบบไปใช้และการบารุงรักษา (Implementation and Maintenance) • การปรับปรุงรูปแบบการนาเสนอบนเว็บ เพื่อให้ลูกค้าสามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการ • การอัพเกรดเว็บ เพื่อรองรับการใช้งานบนโทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ทโฟน • การปรับปรุงฐานข้อมูลลูกค้าหรือสมาชิก • การปรับปรุงข้อมูลในแคตตาล็อกสินค้าบนเว็บไซต์ เช่น การเพิ่มผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ การ เปลี่ยนแปลงราคา การส่งเสริมการขาย และการเพิ่มช่องทางการชาระเงิน เป็นต้น • การปรับปรุงลิงก์เชื่อมโยงที่ส่งไปยังฐานข้อมูล เพื่อให้งานส่วน Back End นาไปประมวลผล ได้อย่างถูกต้อง
  • 21. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.1.3 ปัจจัยในการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์ จุดประสงค์ของเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซก็คือ การจัดส่งเนื้อหาข่าวสารไปยังลูกค้า และทาธุรกรรม ที่เกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ สาหรับความรวดเร็วและความน่าเชื่อถือ จัดเป็นวัตถุประสงค์สาคัญใน มุมมองเชิงการค้า ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพโดยตรง ดังนั้นหากคุณเป็นผู้จัดการหรือผู้บริหารทาง การตลาด ก็ย่อมต้องการให้เว็บไซต์ของคุณสามารถปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังของ ลูกค้าได้ ซึ่งมีปัจจัยอย่างน้อย 3 ประการ ที่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์ ประกอบด้วย 1. เนื้อหาของหน้าเว็บ 2. การก่อกาเนิดหน้าเว็บ 3. การส่งมอบหน้าเว็บ
  • 22. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) การเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์ ด้วยเทคนิค Page Content, Page Generation และ Page Delivery
  • 23. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) การออกแบบเนื้อหาหน้าเว็บ (Page Desige/Page Content) อย่างมีประสิทธิภาพนั้นช่วย ลดเวลาในการสนองลงได้ 2-5 วินาที ซึ่งประกอบ ด้วยขั้นตอนง่ายๆ คือ ให้โหลดข้อความหมายเหตุ (Comment) และช่องว่าง (White space) ภายใน โค้ดคาสั่ง HTML, การใช้ภาพกราฟฟิคที่เหมาะสม และหลีกเลี่ยงลิงก์ที่เชื่อมโยงไปยังหน้าเว็บอื่นๆ ที่ไม่จาเป็นลง การก่อกาเนิดหน้าเว็บ (Page Generation) สามารถเพิ่มความเร็วด้วยการแบ่ง Server ออกเป็นหลายๆ ตัว เพื่อช่วยกันทางาน (เช่น ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ แอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ และเมล์ เซิร์ฟเวอร์) รวมถึงการนาอุปกรณ์ต่างๆ จากผู้ขายมาใช้เพื่อเพิ่มความเร็วให้กับเซิร์ฟเวอร์เหล่านั้น ทั้งนี้การใช้เครื่องเซิร์ฟเวอร์เพียงเครื่องเดียวเพื่อรับภาระงานประมวลผลทั้งหมด ทาให้เครื่องมีภาระ หนักเกินไป ในขณะเดียวกันหากมีการแบ่งการประมวลผลให้กับเซิร์ฟเวอร์อื่นๆ จะช่วยลดปริมาณ งานในช่วงเวลาหนึ่งหนึ่งได้กว่า 50% เลยทีเดียว การส่งมอบหน้าเว็บ (Page Delivery) สามารถเพิ่มความเร็วได้ด้วยการเพิ่มขยายแบนด์วิดธ์ หรืออาจเรียกใช้บริการอย่างซึ่งมีลักษณะการทางานคล้ายกับ Proxy Server เป็นต้น
  • 24. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.2 การเลือกซอฟต์แวร์สาหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ 7.2.1 สถาปัตยกรรมระบบ (System Architecture) การพัฒนาเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซในอดีต มีหลักการทางานง่ายๆ คือ เว็บไซต์จะส่งมอบหน้าเว็บ ไปยังผู้ใช้ตามที่ได้ร้องขอผ่านโปรแกรมเบราเซอร์ของเขา ในขณะที่ซอฟต์แวร์บนเว็บไซต์ก็ทางาน อย่างเรียบง่าย โดยตัวระบบจะประกอบด้วยคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ที่อย่างน้อยต้องติดตั้งซอฟต์แวร์ เว็บเซิร์ฟเวอร์เป็นขั้นต่า และงานทั้งหลายก็จะถูกประมวลผลโดยเครื่องเซิร์ฟเวอร์นั้นเพียงเครื่อง เดียว เราเรียกรูปแบบการจัดการดังกล่าวว่า สถาปัตยกรรมระบบซิงเกิ้ลเทียร์ (Single-Tier System Architecture) สถาปัตยกรรมระบบ (System Architecture) หมายถึง การจัดการซอฟต์แวร์ เครื่องจักร และงานต่างๆ ในระบบสารสนเทศ เพื่อนาไปสู่การบรรลุผลตามฟังก์ชั่นการทางานนั้นๆ อย่างไรก็ ตาม การพัฒนาอีคอมเมิร์ซจาเป็นต้องมีฟังก์ชั่นการโต้ตอบระหว่างกัน มากกว่าการส่งหน้าเว็บไปยัง ผู้ใช้ตามที่ร้องขอเท่านั้น เช่น ความสามารถในการตอบสนองผู้ใช้ในเรื่องการป้อนข้อมูล (เช่น แบบฟอร์มการป้อนข้อมูลชื่อ ที่อยู่) การรับคาสั่งซื้อจากลูกค้า การจัดการการชาระเงินผ่านบัตรเคดิต รวมถึงการปรับรูปแบบการโฆษณาที่แสดงอยู่บนหน้าจอ ให้ตรงกับคุณลักษณะของผู้ใช้แต่ละราย
  • 25. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.2 การเลือกซอฟต์แวร์สาหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ นอกจากแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์แล้ว เว็บไซต์อีคอมเมิร์ซยังต้องสามารถดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลออกมา ใช้งานได้อีกด้วย นั่นหมายถึง ดาต้าเบส (Database Servers) ที่ผู้ใช้บรรจุข้อมูลที่จาเป็น อันได้แก่ ข้อมูล ลูกค้า ข้อมูลสินค้า ข้อมูลพนักงาน ข้อมูลผู้ขาย ทรานแซกชั่นที่เกี่ยวกับการทาธุรกรรมต่างๆ เป็นต้น ซึ่งจัด อยู่ในงานส่วนหลัง (Back End) และระบบงานส่วนหลังเหล่านี้ จะเป็นลาดับชั้นที่ถูกเพิ่มเข้าไปใน สถาปัตยกรรมระบบในรูปแบบมันติเทียร์นั่นเอง ลองคิดดูว่า หากกรณีของเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซที่มีลูกค้าใช้ บริการมาก ในแต่ละวันจะมีจานวนทรานแซกชั่น นับหมื่นนับแสนรายการ หากสถาปัตยกรรมระบบมีการแบ่ง ภาระการทางานในรูปแบบมัลติเทียร์ ย่อมสามารถกระจายงานไปยังเซิร์ฟเวอร์ต่างๆ เพื่อรับผิดชอบงานของ ตน และนาไปประมวลผลเป็นการเฉพาะ นั่นย่อมดีกว่าการนางานทุกๆ อย่างมาตกอยู่ที่เซิร์ฟเวอร์เพียงเครื่อง เดียว ซึ่งสิ่งเหล่านี้ถือเป็นส่วนขยายที่เกี่ยวข้องกับแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ ที่เราจาเป็นต้องพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อ รองรับกับฟังก์ชั่นการทางานดังกล่าว รวมถึงสถาปัตยกรรมระบบก็จะต้องได้รับการขยับขยายมาเป็นใน รูปแบบมันติเทียร์ (Multi-Tiered System) เพื่อรองรับงานประมวลผลที่หนักหน่วงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ แอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ ก็คือเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่มีการติดตั้งโปรแกรมซอฟต์แวร์เฉพาะ เพื่อใช้ประมวลผลงาน ธุรกรรมต่างๆ ที่จาเป็นในอีคอมเมิร์ซ
  • 26. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) สถาปัตยกรรมแบบทูเทียร์ (Two-Tier Architecture) ซึ่งบางครั้งอาจเรียกสถาปัตยกรรมนี้ ว่า Client/Server โดยเซิร์ฟเวอร์จะตอบสนองต่อการร้องขอหน้าเว็บและใช้ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์เป็น สื่อจัดเก็บข้อมูลให้กับงานส่วนหลัง ในทางตรงกันข้ามรูปที่เป็น สถาปัตยกรรมแบบทรีเทียร์ (Tree-Tier Architecture) ที่เว็บเซิร์ฟเวอร์จะเป็นตัวกลางที่ถูกเชื่อมโยงเข้ากับเทียร์ต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วยแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้สาหรับประมวลผลงาน เฉพาะด้าน (เช่น งานประมวลผล คาสั่งซื้อและระบบการชาระเงิน) และดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ (เช่น ฐานข้อมูลแคตตาล็อกสินค้า, ลูกค้า, ผู้ขาย และฐานข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง) ที่รับหน้าที่ดึงข้อมูลไปให้ส่วนประมวลผลนาไปใช้งาน และ จัดเก็บข้อมูลสารสนเทศสาคัญๆ ของบริษัท ทั้งนี้สถาปัตยกรรมแบบมัลติเทียร์นั้น สามารถถูก ออกแบบให้ใช้งานได้อย่างหลากหลาย เพื่อแบ่งปันภาระงานให้กับคอมพิวเตอร์เครื่องต่างๆ เช่น อาจขยับขยายระบบเป็น Four-Tier อย่างไรก็ตาม สถาปัตยกรรมที่มีเทียร์มากกว่าสามขึ้นไปส่วน ใหญ่มักเรียกว่า n-Tier Architectures
  • 27. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) การไหลของข่าวสารในสถาปัตยกรรมแบบ 2-Tier การไหลของข่าวสารในสถาปัตยกรรมแบบ 3-Tier
  • 28. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.2.2 ซอฟต์แวร์สาหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซอฟต์แวร์สาหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์ชั้นนาที่มีความ นิยมมากกว่า 60% นั่นคือ อาปาเช่ (Apache) ซึ่ง ทางานภายใต้ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) และ ลินุกซ์ (Linux) โดยยูนิกซ์ถือเป็นภาษาโปรแกรมที่เป็น ต้นกาเนิดของอินเทอร์เน็ตและเว็บ ในขณะที่ ลินุกซ์นั้นเป็นลูกหลานของยูนิกซ์ ที่ได้รับการออกแบบ มาเพื่อใช้งานบนพีซีคอมพิวเตอร์ อาปาเช่นั้นได้รับการ พัฒนามาจากโปรแกรมเมอร์ตามชุมชนทั่วโลกบน อินเทอร์เน็ต และด้วยเป็นซอฟต์แวร์ระบบเปิดนี้เอง จึงสามารถดาวน์โหลดนามาใช้งานได้ฟรีจากเว็บไซต์ ต่างๆ ที่มีอยู่มากมาย กราฟแสดงส่วนแบ่งทางการตลาดของซอฟต์แวร์ สาหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์ (ผลสารวจเมื่อปี ค.ศ. 2011)
  • 29. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) สาหรับค่ายไมโครซอฟท์ก็มี IIS (Microsoft Internet Information Service) ซึ่งเป็นตัวชูโรง เกี่ยวกับซอฟต์แวร์สาหรับเซิร์ฟเวอร์ที่ได้รับการพัฒนามาโดยตลอดเช่นกัน โดยได้รับความนิยม เป็นอันดับสอง IIS เป็นซอฟต์แวร์ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของระบบปฏิบัติการวินโดว์ มีจุดเด่นคือ ความ เข้า กันได้ดีกับชุดซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ต่างๆ ที่มาจากค่ายไมโครซอฟท์ ฟังก์ชั่นการทางานพื้นฐานของเว็บเซิร์ฟเวอร์
  • 30. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
  • 31. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.2.3 แอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ (Application Servers) เว็บแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ เป็นโปรแกรมซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการฟังก์ชั่นการทางานทาง ธุรกิจ โดยเฉพาะซึ่งถือเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับเว็บไซต์ แนวคิดพื้นฐานของแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ ก็คือ การแยกแอปพลิเคชั่นทางธุรกิจจากงานส่วนหน้า (Front End) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแสดง รายละเอียดหน้าเว็บไปยังผู้ใช้ ในขณะเดียวกันงานส่วนหลัง (Back End) ก็จะเกี่ยวข้องกับ รายละเอียดการ เชื่อมต่อเข้ากับฐานข้อมูลเพื่อนาไปประมวลผลธุรกรรมต่อไป ดังนั้น แอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ จึงเปรียบ เสมือนเป็นประเภทหนึ่งของซอฟต์แวร์ตัวกลาง (Middleware) ที่แยกแอปพลิเคชั่นทางธุรกิจออกจากเว็บเซิร์ฟเวอร์และฐานข้อมูล ในขณะเดียวกันก็ใช้เป็น ตัวกลางในการเชื่อมต่อเข้ากับระบบงานขององค์กร เพื่อบริการงานให้กับลูกค้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  • 32. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
  • 33. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
  • 34. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) จากตารางได้แสดงถึงความหลากหลายของแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ที่มีอยู่ในตลาดไอที ด้วย การมุ่งประเด็นถึงแอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ฝั่ง “Sell Side” ที่ออกแบบมาเพื่อใช้สาหรับการขาย สินค้า ในขณะที่แอปพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ฝั่ง “Buy Side” และ “Link” จะมุ่งประเด็นในเรื่องของธุรกิจ ที่ต้องการเชื่อมต่อเข้ากับคู่ค้าในโซ่อุทานของตน หรือเพื่อค้นหาผู้ขายปัจจัยการผลิตที่จาหน่าย ชิ้นส่วน อุปกรณ์เพื่อการประกอบตัวสินค้า ซึ่งทั้ง Buy Side และ Link เหล่านี้ ล้วนเกี่ยวข้องกับ การ อีคอมเมิร์ซในรูปแบบ B2B, การจัดการโซ่อุปทาน และการทาการค้าแบบร่วมมือ (Collaborative Commerce) ทั้งนี้มีผู้ค้าชอฟต์แวร์นับพันราย ที่ได้จัดเตรียมซอฟต์แวร์แอปพลิชั่น เซิร์ฟเวอร์เหล่านี้ เพื่อจาหน่ายในเชิงพาณิชย์ แต่อย่างไรก็ตาม ก็มีอีกหนึ่งทางเลือกที่ผู้ใช้สามารถ หาดาวน์โหลด ซอฟต์แวร์เหล่านี้ไปใช้งานได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งส่วนใหญ่มักอยู่บน สภาพแวดล้อมของระบบปฎิบัติการลินุกซ์และยูนิกซ์ โดยหลายบริษัทด้วยกันก็ใช้ทางเลือก ดังกล่าว สาหรับซอฟแวร์เครื่องมือช่วยสร้างระบบอีคอมเมิร์ซที่รวมหลายๆ ฟังก์ชั่น เราจะเรียกว่า Merchant Server Software
  • 35. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.2.4 ฟังก์ชั่นการทางานของซอฟต์แวร์อีคอมเมิร์ซ ซอฟต์แวร์สาหรับงานอีคอมเมิร์ซ (e-Commerce Merchant Server Software) จะจัด เตรียมฟังก์ชั่นการทางานพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับงานขายออนไลน์ อันประกอบด้วย แคตาล็อก ออนไลน์ การซื้อออนไลน์ผ่านรถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ และการประมวลผลบัตรเครดิต ซึ่งเป็นไปตาม รายละเอียดดังนี้ • แคตาล็อกออนไลน์ (Online Catalog) สาหรับซอฟต์แวร์ Merchant Server จะมีความสามารถในเรื่องการจัดการฐานข้อมูลสินค้า โดยจะช่วยสร้างแคตาล็อกออนไลน์ ที่ผู้ใช้สามารถกาหนดรูปแบบหรือปรับแต่งได้ตามที่ตน ต้องการ ความซับซ้อนของแคตาล็อก จะขึ้นอยู่กับขนาดของบริษัทและสายผลิตภัณฑ์ (Product Line) เป็นหลัก โดยบริษัทขนาดเล็กหรือบริษัทที่มีสายผลิตภัณฑ์ขนาดเล็ก อาจแจ้งรายละเอียด สินค้าแบบเรียบง่าย ผ่านคาอธิบายรายละเอียดสินค้าพร้อมรูปถ่าย ส่วนเว็บไซต์ขนาดใหญ่อาจ ผนวกเสียงพูด ภาพเคลื่อนไหว หรือวิดีโอ เข้าไปในแคตาล็อกเพื่อสร้างประโยชน์ต่อการสาธิต สินค้าให้ลูกค้าชม รวมถึงการโต้ตอบข้อซักถามให้กับลูกค้าผ่านการส่งข้อความแบบทันทีทันใด (Instant Messaging)
  • 36. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) หนึ่งในหน้าที่ของชุดซอฟต์แวร์ Merchant Server กับแคตาล็อก ออนไลน์ • รถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ (Electronic Shopping Carts) การช้อปปิ้งออนไลน์ผ่านระบบรถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ เปรียบเสมือนการช้อปปิ้งตามห้าง สรรพสินค้า แต่ในด้านความแตกต่าง ก็คือ รถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ซึ่งถือเป็นหนึ่งในโมดูลซอฟต์แวร์ Merchant Server นั้น จะอยู่ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่อนุญาตให้ลูกค้าหยิบสินค้าใส่ลงในรถเข็นจาก การคลิกที่ปุ่มเท่านั้น จากนั้นตัวซอฟต์แวร์ Merchant Server นอกจากนี้ลูกค้ายังสามารถทบทวน รายการสินค้าที่บรรจุอยู่ในตะกร้าหรือรถเข็น รวมถึงการแก้ไขตามความจาเป็น เช่น ยกเลิกสินค้า บางรายการ หรือเพิ่ม/ลดจานวนสินค้า เป็นต้น ซึ่งตัวระบบจะนับสะสมรายการสินค้าล่าสุด และ คานวณยอดเงินสุทธิพร้อมค่าขนส่ง (ถ้ามี) โดยอัตโนมัติ
  • 37. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) หนึ่งในหน้าที่ของชุดซอฟต์แวร์ Merchant Server กับระบบรถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ ที่ จะบรรจุรายการสินค้าไว้ในรถเข็นหรือ ตะกร้าในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ การประมวลผลบัตรเครดิต (Credit Card Processing) ระบบรถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ปกติจะทางานร่วมกันกับซอฟต์แวร์ประมวลผลบัตรเครดิต ซึ่งจะ ทาการตรวจสอบบัตรเครดิตของลูกค้า แล้วดาเนินการตัดบัญชีบัตรเครดิตโดยอัตโนมัติ ทางนี้ ลูกค้าไม่ต้องกังวลกับการชาระเงินออนไลน์ผ่านบัตรเครดิต เนื่องจากตัวระบบจะมีความปลอดภัยที่ น่าเชื่อถือ ครั้นเมื่อมีการเชื่อมต่อไปยังธนาคารที่เป็นเจ้าของบัตรเครดิต (ระบบตัวกลาง) ได้แล้ว ก็ จะมีการให้กรอกข้อมูลพร้อมรหัส ก่อนที่จะยืนยันเพื่อการตัดบัญชี จากนั้นตัวระบบก็จะส่งอีเมลไป ยังเมลบ็อกซ์ของลูกค้า เกี่ยวกับรายการสินค้าที่สั่งซื้อพร้อมรายละเอียดการชาระเงิน ซึ่งถือเป็นอัน เสร็จสิ้นกระบวนการสั่งซื้อและชาระเงินที่ใช้เวลาเพียงไม่กี่นาที จากนั้นลูกค้าก็เพียงรอรับสินค้าที่ บ้านตามเงื่อนไขการส่งมอบสินค้าที่ได้ตกลงกัน
  • 38. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) หนึ่งในหน้าที่ของชุดซอฟต์แวร์ Merchant Server กับการประมวลผลบัตรเครดิต ซึ่งหากระบบได้ตัดบัญชีบัตรเครดิต เป็น ที่เรียบร้อยแล้ว จะมีการส่งอีเมลแจ้งไปยังลูกค้าให้รับทราบโดยทันที
  • 39. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.3 การเลือกฮาร์ดแวร์สาหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ ในฐานะที่คุณเป็นผู้จัดการที่มีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ คุณยังต้อง ดูแลเรื่องประสิทธิภาพของการดาเนินงานด้วย ไม่ว่าคุณจะเลือกวิธีการติดตั้งโฮสต์ไว้ที่สานักงาน หรือ เอาต์ซอร์สก็ตาม คุณก็ยังต้องมีความรู้ในเรื่องของแพล็ตฟอร์มฮาร์ดแวร์ (Hardware Platform) ซึ่ง หมายถึงอุปกรณ์เพื่อการประมวลผลทั้งปวง ที่ระบบต้องนามาใช้เพื่อให้ระบบอีคอมเมิร์ซบรรลุผลตาม ฟังก์ชั่นการทางานของมัน เป้าหมายของคุณก็คือ แพล็ตฟอร์มฮาร์ดแวร์ดังกล่าวจะต้องมีขีดความ สามารถเพียงพอต่อความต้องการสูงสุดที่คุณยอมรับได้ เช่น จานวนผู้ใช้สูงสุดที่ระบบสามารถรองรับ ได้ ช่องทางการสื่อสารเพียงพอต่อการบริการลูกค้าจานวนมากที่เข้าถึงพร้อมๆ กันได้หรือไม่ ซึ่งขีด ความสามารถดังกล่าวใช่ว่าจะต้องเสียค่าใช้จ่ายจานวนมากทุกครั้งไป ในการตั้งขีดความสามารถ สูงสุด นั้น ก็เพื่อป้องกันหรือหลีกเลี่ยงระบบเกิดโอเวอร์โหลด ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบล่มหรือการ ประมวลผลช้าลงอย่างเห็นได้ชัด และการที่คุณจะสามารถตอบคาถามเหล่านี้ได้ คุณก็จะต้องเข้าใจถึง ปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อความเร็ว ความจุ และการปรับขยายระบบของเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ ซึ่งจะ อธิบายในหัวข้อย่อยต่างๆ ดังต่อไปนี้
  • 40. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.3.1 การปรับขนาดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์ : ด้านอุปสงค์ (Right-Sizing Your Hardware Platform : The Demand Side) ความต้องการในเว็บไซต์มีความซับซ้อนพอควรเลยทีเดียว และยังขึ้นอยู่กับประเภทของเว็บไซต์ ที่คุณดาเนินงานอยู่ด้วย สาหรับข้อมูลต่อไปนี้เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อความเร็วของเว็บไซต์ • จานวนผู้ใช้ที่เข้าถึงพร้อมๆ กันสูงสุดใน ช่วงเวลาหนึ่ง • ลักษณะของการร้องขอของลูกค้า (User Profile) • ประเภทของเนื้อหา (เว็บเพจแบบ Static หรือแบบ Dynamic) • ระบบความปลอดภัยที่จาเป็น • จานวนสินค้าที่มีอยู่ในคลัง • จานวนการร้องขอหน้าเว็บ • ความเร็วของระบบงานเดิมที่ต้องจัดส่ง ทรัพยากรข้อมูลต่างๆ ไปยังหน้าเว็บ
  • 41. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) กราฟแสดงประสิทธิภาพด้านเวลาตอบสนองของระบบล่าช้า ตามจานวนการใช้ทรัพยากร
  • 42. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) กราฟแสดงประสิทธิภาพด้านอัตราการประมวลผลธุรกรรมของระบบช้าลง จานวนผู้ใช้ที่เชื่อมต่อมากขึ้น
  • 43. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) แน่นอนว่าหนึ่งในปัจจัยที่สาคัญที่สุดมักถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณาเป็นอันดับแรก ก็คือ แนวโน้มของผู้ใช้ที่มีการเข้าถึงพร้อมๆ กันบนเว็บไซต์ของเรา ซึ่งโดยทั่วไปแล้วภาระงานที่ถูกสร้าง ขึ้น จากลูกค้าแต่ละรายบนเซิร์ฟเวอร์นั้น ปกติมักจะเกิดขึ้นเพียงชั่วครู่เท่านั้น กล่าวคือ การเปิด เชสชั่น (Session) บนเว็บนั้น ปกติจะเป็นในลักษณะ Stateless ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง ที่ว่า เซิร์ฟเวอร์นั้นมิได้ดารงรักษาการปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าตลอดเวลา กล่าวคือ เซสซั่นที่เปิดไม่ จาเป็นต้องมีการปฏิสัมพันธ์เพื่อการถือครองกับลูกค้าไปโดยตลอดนั่นเอง แต่เซสซั่นที่ถูกเรียกใช้ งาน ปกติจะเป็นไปตามสถานะนั้นๆ โดยเริ่มจากสถานะ Page Request -> Server Replies -> Session Ended ดังนั้นเซสซั่นหนึ่งๆ ที่ถูกเปิดอาจมีอายุการใช้งานเพียงไม่กี่วินาทีต่อผู้ใช้หนึ่งคน อย่างไรก็ตาม ประสิทธิภาพโดยรวมของระบบจะลดต่าลง และจะลดต่าลงขึ้นไปอีกหากผู้ใช้ได้ร้อง ขอบริการพร้อมๆ กัน ส่งผลต่อระบบการตอบสนองกลับไปยังผู้ใช้ล่าช้า ทั้งนี้ความล่าช้าจะค่อยๆ แผ่ขยายเป็นวงกว้างมากขึ้นจากเดิม เช่น เดิมใช้เวลาเพียง 1 วินาทีต่อการประมวลทรานแซกชั่น หนึ่งๆ จนกระทั่งเกิดเวลาแฝง (Latency) มากขึ้น และก่อให้เกิดความล่าช้า (Delay) จนถึงขีดสุดที่ ส่งผลต่อคุณภาพงานบริการ ที่ไม่สามารถยอมรับได้อีกต่อไปซึ่งเป็นไปตามกราฟ
  • 44. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ในด้านงานบริการเว็บเพจแบบสแตติก (Static Web Page) มักเกี่ยวข้องกับ I/O Intensive ซึ่ง หมายถึงมีการเรียกร้องการดาเนินงานเกี่ยวกับอินพุต/เอาต์พุต (I/O) มากกว่าพลังการประมวลผล ของโปรเซสเซอร์ ดังนั้นประสิทธิภาพการทางานของเว็บไซต์นั้น จะเกิดจากข้อจากัดหลักๆ ทางด้าน I/O ของเซิร์ฟเวอร์และการเชื่อมต่อเข้ากับระบบโทรคมนาคมมากกว่าความเร็วของหน่วยประมวลผล มีบางขั้นตอนที่คุณสามารถนาไปดาเนินการ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าคุณภาพของงานบริการ อยู่ในระบบที่ยังคงยอมรับได้อยู่ ขั้นแรกก็คือ ให้เลือกซื้อเซิร์ฟเวอร์ที่มีพลังการประมวลผลสูง, การใช้ ซีพียูแบบมัลติโปรเซสเซอร์ (บนเมนบอร์ดเดียว) หรือเลือกฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูง อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์ที่ได้จากการปรับปรุงประสิทธิภาพตามคาแนะนาดังกล่าว มิได้ส่งผลออกมาในรูปแบบเชิงเส้น แต่อย่างใด ในขณะที่การปรับปรุงบางจุด อาจกายเป็นต้นทุนที่ไม่ได้ก่อเกิดประสิทธิภาพใดๆ จากรูป ได้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในเชิงทฤษฎีของเว็บเซิร์ฟเวอร์ กับกรณีการเพิ่มพลังการ ประมวลผล ของโปรเซสเซอร์จาก 1 ตัว มาเป็น 8 ตัว และจากการเพิ่มจานวนโปรเซสเซอร์ถึง 8 ตัว นั้น ได้ช่วย เพิ่มขีดความสามารถในการรับภาระการเข้าถึงของผู้ใช้พร้อมๆ กันสูงมากขึ้นถึง 3 เท่า
  • 45. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ปัจจัยในลาดับถัดไปที่จะถูกนามาพิจารณาก็คือ User Profile ซึ่งเกี่ยวข้องกับลักษณะการ ร้อง ขอของลูกค้า และพฤติกรรมของลูกค้าในเว็บไซต์ของคุณ (เช่น จานวนหน้าเว็บที่ลูกค้าร้องขอ และ ชนิดของงานบริการที่พวกเขาต้องการ) ซึ่งทราบว่าจะทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพกับงาน บริการ เว็บเพจแบบสแตติก อย่างไรก็ตาม หากลูกค้าได้มีการร้องของานบริการขั้นสูงมากกว่านั้น เช่น การ ค้นหาเว็บไซต์ การลงทะเบียน การสั่งซื้อสินค้าผ่านระบบรถเข็นอิเล็คทรอนิกส์ หรือการดาวน์โหลด ไฟล์วิดีโอ สิ่งเหล่านี้ล้วนต้องการพลังงานการประมวลผลมากขึ้น งานบริการเว็บเพจแบบสแตติกของเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ ใช้โปรเซสเซอร์ Intel Xeon 3GHz เพียงหนึ่งตัว สามารถรองรับผู้ใช้ พร้อมๆ กันได้ประมาณ 8,000 คน ซึ่งหากเพิ่มโปรเซสเซอร์มาเป็นแปดตัว ให้กับ คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกันนี้ ทาให้สามารถรองรับ ผู้ใช้ ได้พร้อมพร้อมกันได้กว่า 25,000 คน
  • 46. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) อีกปัจจัยหนึ่งที่เราจะนามาพิจารณาก็คือ เนื้อหาของเว็บไซต์ ซึ่งหากเว็บไซต์ของคุณนาเสนอ เนื้อหาในรูปแบบของไดนามิกเว็บเพจ ภาระของโปรเซสเซอร์ก็จะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว และ ประสิทธิภาพก็จะลดต่าลงตามมา เว็บเพจไดนามิคและการทาธุรกรรมทางธุรกิจ เช่น การสั่งซื้อ ผ่าน ระบบรถเข็นอิเล็กทรอนิกส์เป็นการปฏิบัติงานแบบ CPU-Intensive ซึ่งหมายถึงต้องใช้ พลังงานใน การประมวลผลของโปรเซสเซอร์มากเป็นพิเศษ ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ที่นาเสนอเนื้อหา บนเว็บแบบ ไดนามิก มีประสิทธิภาพตามความคาดหวังภายใต้โพรเซสเซอร์เพียงหนึ่งตัว โดย สมมติว่ามีอัตราลด ระดับลง 1 ใน 10 ดังนั้นแทนที่ระบบจะบริการแก่ผู้ใช้ พร้อมๆ กันอย่างมี ประสิทธิภาพถึง 8,000 คน แต่ระบบของคุณอาจรองรับได้ประมาณ 1,000 คน เท่านั้น ซึ่งเกี่ยวข้อง กับธุรกรรมการโต้ตอบกับผู้ใช้ในทุกๆ เรื่อง ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงฐานข้อมูล, การกรอกแบบฟอร์ม ข้อมูล, การหยิบสินค้าลงในรถเข็น/ตะกร้า, การสั่งซื้อ, การชาระเงิน และการ ตอบแบบสอบถาม เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนสร้างภาระงานอันหนักอึ้งให้กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ในเรื่องของการ ประมวลผลทั้งสิ้น
  • 47. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) ความสัมพันธ์ระหว่างแบนด์วิดธ์กับจานวน ผู้เข้าใช้ สาหรับปัจจัยสุดท้ายที่ต้องพิจารณาก็คือ ระบบ โทรคมนาคม ที่เชื่อมโยงเข้ากับเว็บไซต์ของคุณ รวมถึงลักษณะ การเชื่อมต่อของลูกค้าที่เชื่อมโยงมายังเว็บไซต์ของคุณ จากรูป ได้แสดงให้เห็นว่า จานวนผู้เข้าชมเว็บต่อวินาที (Hit Per Second) ของเว็บไซต์ ขึ้นอยู่กับแบนด์วิดธ์ของระบบสื่อสาร ดังนั้นหากแบนด์วิดธ์ของระบบสื่อสารมีขนาดใหญ่ ย่อมเปิด โอกาสให้ลูกค้าเข้ามายังเว็บไซต์ พร้อมๆ กันได้มากขึ้น ตัวอย่างเช่น ถ้าการเชื่อมต่อไปยังเว็บมีความเร็วที่ 1.5 เมกะบิต ต่อวินาที (Mbps) ด้วยสาย DSL จานวนสูงสุดของผู้เยี่ยมชมต่อ วินาทีสาหรับการร้องขอไฟล์ข้อมูลขนาด 1 กิโลไบต์ ก็จะอยู่ที่ ประมาณ 100 คน อย่างไรก็ตาม สาหรับธุรกิจโดยส่วนใหญ่ โฮสต์เว็บไซต์ของ พวกเขาที่มี ISP เป็นผู้ดูแลจัดการนั้น มัก เตรียมแบนด์วิดธ์ไว้อย่างเพียงพอให้กับเว็บไซต์ของคุณ เพื่อ ตอบสนองความต้องการสูงสุดได้อยู่แล้ว
  • 48. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.3.2 การปรับขนาดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแพล็ตฟอร์มฮาร์ดแวร์ : ด้านอุปทาน (Right- Sizing Your Hardware Platform : The Supply Side) เมื่อคุณประมาณความต้องการที่เหมาะสมให้กับเว็บไซต์ได้แล้ว ขั้นตอนต่อไปก็คือ คุณจะต้อง พิจารณาว่าจะขยายความสามารถของระบบเว็บไซต์ เพื่อรับประกันถึงขีดความสามารถสูงสุด ได้ อย่างไร หรือที่เรียกว่า Scalability โดยมีอยู่ 3 ขั้นตอนด้วยกันที่คุณสามารถดาเนินการเพื่อ ตอบสนองงานบริการของเว็บไซต์ได้ตรงตามต้องการ อันประกอบด้วย 1. การปรับขนาดตามแนวตั้ง (Vertical Scaling) 2. การปรับขนาดตามแนวนอน (Horizontal Scaling) 3. การปรับปรุงสถาปัตยกรรมการประมวลผลของเว็บไซต์ (Improving The Processing Architecture)
  • 49. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) การปรับขนาดตามแนวตั้ง เกี่ยวข้องกับการเพิ่มพลังการประมวลผลให้กับอุปกรณ์แต่ละ ตัว ด้วยการเพิ่มพลังการประมวลผลให้กับซีพียู หรือเพิ่มจานวนซีพียูให้กับคอมพิวเตอร์เครื่อง หนึ่งๆ ส่วน การปรับขนาดตามแนวนอน เกี่ยวข้องกับการนาคอมพิวเตอร์ทั้งหลายๆ เครื่องมาช่วย แบ่งปันภาระงานร่วมกัน ทาให้ภาระงานถูกกระจายไปยังเครื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ไม่ต้องตกอยู่ บนเครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ การปรับปรุงสถาปัตยกรรมการประมวลผล เป็นการนาเทคนิคการปรับขนาด ทั้งแบบ แนวตั้งและแนวนอนรวมเข้าด้วยกัน การปรับขนาดเว็บไซต์ตามแนวตั้ง สามารถทาได้โดยเพิ่มพลังการ ประมวลผลให้กับโพรเซสเซอร์และ การเพิ่มจานวนซีพีอยู่ใน เครื่อง เซิร์ฟเวอร์ (Multiple CPU)
  • 50. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) การปรับขนาดเว็บไซต์ตาม แนวนอนเพื่อตอบสนองความ ต้องการ ด้วยการเพิ่มเซิร์ฟเวอร์ แบบซีพียูเดียวซึ่งมีราคาไม่แพง จานวนหลายๆ เครื่อง เชื่อมต่อ เข้ากับเว็บไซต์ด้วยซอฟต์แวร์ Load-Balancing โดยอุปกรณ์ Cisco LocalDirector จะเป็นตัว จัดสรร ความต้องการของลูกค้า เพื่อเข้าถึงเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้ อย่างถูกต้อง
  • 51. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
  • 52. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites)
  • 53. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) จากตารางข้างต้น ได้แสดงถึงขั้นตอนทั่วไปที่คุณสามารถนามาใช้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ เว็บไซต์ของคุณ โดยขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ ส่วนใหญ่จะแยกภาระงานเพื่อรองรับกิจกรรม ทั้งแบบ I/O-Intensive และ CPU-Intensive ครั้นเมื่อมีการแบ่งแยกการทางานออกจากกัน คุณก็ สามารถ ปรับแต่งเซิร์ฟเวอร์แต่ละเครื่องตามโหลดภาระงาน โดยหนึ่งในขั้นตอนของการปรับแต่งที่มี ค่าใช้จ่ายต่าก็คือ การเพิ่มหน่วยความจาหลัก (RAM) ให้กับเซิร์ฟเวอร์ เพื่อจัดเก็บหน้าเว็บ HTML ทั้งหมดไว้ในหน่วยความจาหลัก ซึ่งช่วยลดภาระงานให้กับฮาร์ดดิสของคุณ และเพิ่มความเร็วให้กับ ระบบโดยรวมได้ เนื่องจากความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลบนหน่วยความจาหลัก มีความเร็วมากกว่า ฮาร์ดดิสมาก จึงถือเป็นการลดภาระในเรื่อง I/O-Intensive ส่วนขั้นตอนสาคัญในลาดับถัดไปก็คือ การลดภาระในเรื่อง CPU-Intensive ด้วยการเพิ่มหน่วยประมวลผล เพื่อใช้กับการประมวลผล ธุรกรรมต่างๆ ที่ต้องใช้พลังการประมวลผลสูง เช่น การจัดการในเรื่องการสั่งซื้อ การเข้าถึง ฐานข้อมูล เป็นต้น รวมถึงเปิดโอกาสให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงเว็บ เพื่อทาธุรกรรมพร้อมๆ กันได้ จานวนมากขึ้น
  • 54. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.4 เครื่องมืออื่นๆ สาหรับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ คือการออกแบบเว็บไซต์ให้มีความสอดคล้องตรงกันกับความพยายามในการทาธุรกิจของคุณ ซึ่งไม่จาเป็นต้องสร้างเว็บไซต์ให้มีผู้เยี่ยมชมมีความรู้สึกถึง ความน่าตื่นเต้น แต่คุณควรรู้วิธีการ สร้างเนื้อหาที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอด (Active Content) เพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้ใช้ ที่ไม่ใช่แค่เพียงการแสดงหน้าเว็บแบบคงที่ และแน่นอนว่าคุณต้องการความสามารถในการ ติดตามลูกค้าที่แวะเข้ามาและออกจากเว็บไป ตัวอย่างเช่น กรณี ผู้เยี่ยมชม/ลูกค้า ได้กลับมายัง เว็บไซต์ของเราอีกครั้ง การทักทายกับเขาด้วยถ้อยคา เช่น “สวัสดีค่ะ…คุณองอาจ” หรือ “ยินดี ต้อนรับในการกลับมาของ…คุณชูใจ” นอกจากนี้คุณยังต้องติด ตามลูกค้าตลอดช่วงเวลาที่เขาได้ ท่องอยู่ในเว็บของคุณ จากนั้นก็เก็บข้อมูลเพื่อนาไปสู่การนาเสนอ สินค้า/บริการตามคุณลักษณะ เฉพาะตัวของเขา หรือให้เขาสามารถปรับแต่งความต้องการในสินค้า/ บริการตามที่เขาต้องการได้ และท้ายสุดคุณต้องสร้างชุดของนโยบายเกี่ยวกับข้อมูลสาหรับเว็บไซต์ เช่น นโยบายความเป็น ส่วนตัว เงื่อนไข และนโยบายการเข้าถึงและการรักษาข้อมูล เป็นต้น
  • 55. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ : 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ (Building e-Commerce Web Sites) 7.4.1 การออกแบบเว็บไซต์ : ควรพิจารณาถึงพื้นฐานการทาธุรกิจ หน้าร้านแบบออนไลน์ที่ปรากฏอยู่บนหน้าเว็บ ควรได้รับการ ออกแบบเพื่อดึงดูดความสนใจ ลูกค้า ดังนั้นคุณจึงต้องสื่อสารร่วมกับทีมงานนักออกแบบ เว็บไซต์เพื่อให้รับทราบถึงแนวคิดต่างๆ เพื่อจะได้ออกแบบเว็บไซต์ได้ตรงตามที่คุณต้องการ อย่างไรก็ ตาม ความต้องการขั้นต่าก็คือ ลูกค้า ของคุณจะต้องค้นหาในสิ่งที่พวกเขาต้องการได้บนเว็บไซต์เพื่อ ซื้อสินค้าจนกระทั่งออกไปจาก เว็บไซต์ของคุณได้อย่างสะดวก