SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การเจรจาต่อรองข้ามชาติอาจมีด้วยกันหลายทฤษฎี แต่โดยหลักแล้วสรุปแนวคิดได้
เป็น 2 แนว คือ การเจรจาต่อรองแบบกระจายประโยชน์ (Distributive) และการ
เจรจาแบบผสานประโยชน์ (Integrative)
 การเจรจาต่อรองแบบกระจายประโยชน์มีลักษณะของการได้ประโยชน์และเสีย
ประโยชน์ (Zero – sum model) การเจรจาจึงมีลักษณะของการแข่งขันเพื่อให้ได้
ประโยชน์สูงสุด และด้วยเหตุที่ว่า ผลลัพธ์มีลักษณะของการแข่งขันเพื่อให้ได้
ประโยชน์สูงสุด และผลลัพธ์มีลักษณะคงที่ มีสัดส่วนแน่นอน ดังนั้น เมื่อคนหนึ่ง
ได้ส่วนใดไป คนอีกคนก็จะเสียไป
 การเจรจาต่อรองแบบผสานประโยชน์ มีลักษณะของการร่วมมือกันที่แต่ละฝ่ายที่
เจรจา พยายามที่จะให้ได้ผลลัพธ์ของแต่ละฝ่ายร่วมกันให้ได้มากที่สุดลักษณะของ
Win – Win คือได้ด้วยกันทั้งคู่ ทั้งนี้การเจรจาต่อรองทั้ง 2 ตัวแบบข้างต้น มี
รายละเอียดดังนี้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ในสถานการณ์ของการกระจายผลประโยชน์ เป้าประสงค์ของฝ่ายหนึ่ง
มักจะอยู่ตรงข้ามกับอีกฝ่ายหนึ่ง ตัวอย่าง เช่น ลูกค้าคนหนึ่งต้องการซื้อ
สินค้าอย่างหนึ่ง แน่นอนว่าผู้ซื้อต้องการได้ราคาที่ต่าที่สุดหรือราคาที่ถูก
ที่สุด ในขณะที่ผู้ขายต้องการขายให้ได้ราคาสูงที่สุดเพื่อให้ได้กาไรให้
มากที่สุด ในกรณีนี้เป็นที่แน่นอนว่าลูกค้าย่อมจะมีความรู้สึกยุ่งยากใจ
เพราะรู้อยู่ว่าเกมนี้จะเป็นอย่างไรเมื่อตนเองเดินเข้าไปซื้อของชิ้นนี้ ทั้ง 2
ฝ่ายรู้ว่าการต่อรองในครั้งนี้หากเปรียบเหมือนมีขนมอยู่ 1 ชิ้น ที่จะแบ่ง
กัน หากคนหนึ่งได้ไปมาก อีกคนหนึ่งย่อมเหลือน้อยลงไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การต่อรองอาจมีปัจจัยอื่นๆเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยนอกเหนือจากเรื่อง
ของราคาดังที่กล่าว อาทิ หากซื้อด้วยเงินสดอาจได้ราคาที่ถูกกว่าที่
ซื้อด้วยเงินผ่อนและหากผ่อนสั้น ก็จะได้ราคาที่ถูกกว่าการผ่อน
ระยะยาว นอกจากนี้ผู้ขายก็อาจจูงใจด้วยการให้ของแถมต่างๆ แก่
ลูกค้า ซึ่งอาจทาให้ลูกค้าเพิ่งพอใจแล้วยอมรับราคาที่ตั้งขายไว้ได้
ซึ่งผู้ขายย่อมคานวณแล้วว่าเป็นส่วนของกาไรที่ได้ตั้งเป้าไว้แล้ว
ในกรณีนี้จึงอาจเรียกว่าเป็นการรับและให้ระหว่างสองฝ่าย เพื่อให้
การต่อรองนั้นง่ายขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 อย่างไรก็ตาม ยังคงกล่าวได้ว่ามีสิ่งที่เป็นคุณค่าคงที่ที่ 2 ฝ่ายจะแลกเปลี่ยน
กันในลักษณะของจุดต่าสุด (Floor) กับสิ่งที่เรียกว่าจุดสูงสุด (Ceiling) ที่จะ
ทาให้ทั้งสองฝ่ายไม่ยอมออกไปจากกรอบนี้ และระหว่างสองขั้วดังกล่าว
จะมีจุดที่ทั้งสองฝ่ายรู้สึกว่าพอรับได้(Comfort Zone) อยู่ โดยที่มองว่า ณ
ราคาตรงบริเวณนั้นจะเป็นที่ยอมรับได้อย่างน้อยก็ดูเหมาะสมกับคุณค่า
ของของสิ่งนี้ และนี่คือที่รับรู้กันว่าเป็นราคาที่ยุติธรรมเหมาะสมที่สองฝ่าย
อยากจะได้ตรงนั้น
 การต่อรองในลักษณะของการกระจายผลประโยชน์ใช่ว่าเฉพาะในเรื่อง
ของการซื้อขาย การต่อรองในเรื่องค่าจ้างแรงงานก็เข้าข่ายในทานอง
เดียวกันนี้ การจ่ายค่าจ้างของนายจ้างย่อมคานวณถึงผลประโยชน์ ผลกาไร
ที่จะได้รับในขณะที่ลูกจ้างก็ต้องการค่าแรงที่สูงที่สุด แต่ทั้งสองฝ่ายก็จะ
มาถึงจุดที่ยอมรับได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 จากตัวอย่างข้างต้นทาให้เราเห็นว่าการเจรจาแบบกระจายประโยชน์ก็
เพื่อที่จะให้ได้รับชัยชนะในท้ายที่สุด และแต่ละฝ่ายก็เชื่อว่าตนเองนั้น
ได้รับชัยชนะหรือสูญเสียน้อยกว่าอีกฝ่าย อย่างไรก็ตาม การต่อรองใช่อิง
อยู่บนฐานของราคาและต้นทุนไปเสียทั้งหมด อย่างการต่อรองการค้า
ระหว่างประเทศที่อาจรวมเอาเรื่องของเชิงจิตวิทยา การเอาชนะในจุดที่
เป็นเหมือนอุดมการณ์ของตน หรือไม่ก็เพียงแต่สามารถสนองต่ออีโก้
ของตนได้ในแทบทุกสถานการณ์ของการต่อรองแบบกระจาย
วัตถุประสงค์หลักก็คงเป็นเรื่องของการเน้นไปที่ทรัพยากรในการต่อรอง
(เงิน ค่าจ้าง รายได้กาไรหรือการลงทุน) และรวมทั้งผลได้ในเชิงจิตวิทยา
ก็นับว่ามีความสาคัญอย่างยิ่ง ความขัดแย้งทั้งหลายที่ไม่ลงตัวในการ
ต่อรองล้วนแล้วแต่วางน้าหนักอยู่บนผลลัพธ์เหล่านี้ทั้งสิ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การเจรจาต่อรองในแบบกระจาย เรามักพบว่าผู้เจรจาจะต้องเป็นผู้ที่
แข็งแกร่งยากที่จะโน้มน้าวได้ง่าย มีความอดทน และต้องรู้ข้อมูลเป็น
อย่างดีและในหลายกรณีอาจมีข้อสงสัยในมิติด้านจริยธรรมว่าพวกนี้
จะมีหรือไม่ (พร้อมที่จะทาทุกอย่างเพื่อให้ตนเองได้กาไรหรือได้
ประโยชน์สูงสุด แม้กระทั่งการปกปิดข้อมูลไม่ให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้ข้อมูล
ที่แท้จริงบางอย่าง) ลองดูตัวอย่างของคนขายรถยนต์มือสองตาม
เต็นท์รถต่างๆ ที่น้อยมากที่จะบอกรายละเอียดของรถคันที่เราสนใจ
ทั้งหมด เราต้องวิเคราะห์และดูเอาเองให้ได้ว่ารถอยู่ในสภาพที่ดีจริง
หรือไม่
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ในประเด็นนี้หากเราจะนิยามคุณลักษณะของการเจรจาต่อรองแบบกระจายว่าเป็น
การที่พยายามแก้ปัญหาในเรื่องของความแตกต่างระหว่างสองฝ่ายเพื่อให้บรรลุ
เป้าประสงค์ร่วมกัน แต่นี่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะไปลดทอนแนวคิดที่ว่าการ
ต่อรองแบบนี้ก็คือการทีแพ้มีชนะอยู่นั่นเอง ผู้เจรจาลักษณะนี้จะเก็บข้อมูลไว้กับ
ตนเองให้ได้มากที่สุด จะปล่อยไปเท่าที่ตนเองจะได้ประโยชน์ ในขณะที่อีกฝ่ายก็
ต้องการสืบเจาะข้อมูลไปให้ได้มากที่สุด
 คุณสมบัติของนักเจรจาต่อรองที่มีในแบบนี้ก็คือ การที่จะต้องรู้ผลลัพธ์เป้าหมายที่
ต้องการและมีความคิดที่ชัดเจนว่าจุดต้านที่สาคัญ (จุดต่าสุด – สูงสุดที่อาจต้องเดิน
หนีไปจากการเจรจาคืออะไร) และจะต้องรู้ว่าขอบเขตตรงบริเวณไหนเป็นจุดที่จะ
ให้ความเห็นชอบได้หรือยินยอมตกลงได้ รวมทั้งจะต้องรู้ว่าควรจะต่อรองอย่างไร
หากมีหลายๆตัวแปรเข้ามาผสมกัน (Bargaining Mix) เช่น มีเรื่องของราคา เงื่อนไข
หรือการผ่อนปรนในเรื่องอะไร ที่สิ่งเหล่านี้จะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและจะ
ยอมรับได้เพียงใด
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เป็นกระบวนการเจรจาต่อรองที่ทั้งสองฝ่ายร่วมมือกันเพื่อให้สามารถบรรลุ
เป้าประสงค์บางอย่าง โดยที่ฝ่ายหนึ่งไม่จาเป็นต้องสูญเสียอะไรไป นอกจากนี้
หากพิจารณาถึงทรัพยากรก็จะพบว่าไม่ได้มีอย่างตายตัวที่จะมาแบ่งกัน แต่กลับ
สามารถขยายผลประโยชน์ตรงนั้นออกไปได้ด้วย ตัวอย่างเช่น หากคนสองคน
ต้องการที่จะไปเที่ยวด้วยกัน(อาจเป็นสามีกับภรรยา)โดยคนหนึ่งอาจชอบไป
เที่ยวทะเล ส่วนอีกคนชอบไปเที่ยวภูเขาในการนี้ทั้งสองฝ่ายก็จะเจรจากันเพื่อหา
จุดลงตัว โดยแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน และพิจารณาถึงผลประโยชน์หรือสิ่งที่
ต้องการของอีกฝ่าย แต่จะเป็นลักษณะของการเจรจาเชิงบวกและพร้อมที่จะ
ร่วมมือกันและหาจุดลงตัวว่าผลประโยชน์ร่วมกันอยู่ตรงไหน ในที่สุดแล้วอาจ
ได้สถานที่ท่องเที่ยวที่มีทั้งทะเลหรือภูเขาอยู่ในบริเวณเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การเจรจาต่อรองในแบบผสาน ผู้เกี่ยวข้องจะมุ่งเน้นในประเด็นเนื้อหา
สาระเพื่อให้ได้คุณค่าอย่างแท้จริง จึงมักเปิดเผยประเด็นที่มองเห็นได้
ดังนั้นจึงลดความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างกัน
แม้กระทั่งการที่อีกฝ่ายยอมลดละ เช่น ครั้งนี้อาจจะยังไม่ไปเที่ยวทะเล
เอาไว้ครั้งหน้า หากเราประมวลการเจรจาต่อรองแบบนี้จะพบว่า
 ประการแรกทั้งสองฝ่ายพยายามที่จะเปิดเผยข้อมูลของตน รวมทั้งความ
ต้องการของตนเอง
 ประการที่สองทั้งสองฝ่ายพยายามที่จะสื่อสารกันอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในลาดับความสาคัญต่างๆที่ต้องการ และยัง
พยายามเข้าใจถึงข้อจากัดของความต้องการแต่ละฝ่ายในภาษาของการ
เจรจาต่อรองทั้งสองฝ่ายจะพยายามพิจารณาเป้าหมายผลลัพธ์และ
ขอบเขตที่จะตกลงกันได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ประการที่สามจะมุ่งเน้นที่ประเด็นโดยไม่มีแรงจูงใจแอบแฝงอื่น โดย
จะร่วมมือกันเพื่อหาทางออกที่ได้ประโยชน์ของทั้งสองฝ่ายในการ
เจรจาต่อรองจึงหาทางต่อรองแบบที่ผสมผสานกันในหลายๆ
ทางเลือก ที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ประการที่สี่ ทุกฝ่าย
พยายามที่จะช่วยเหลือกันและกันในการหาทางออกที่ได้ผลประโยชน์
ทั้งคู่ พยายามที่จะไม่ให้มีความขัดแย้งกัน ประการที่ห้า ทั้งสองฝ่ายจะ
เริ่มต้นการเจรจาด้วยเจตจานงที่จะหาจุดเหมือนในผลประโยชน์ จะ
ไม่ใช่การหาความแตกต่าง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ในการต่อรองแบบผสานยังนับว่าทั้งสองฝ่ายพยายามที่จะสร้าง
ความสัมพันธ์และพร้อมที่จะให้ความผ่อนปรนหรือยอมเสียสละให้
อีกฝ่าย ใครก็ตามที่ยอมเสียสละบางอย่างก็จะช่วยในการสร้าง
ความสัมพันธ์และก็อาจได้รับผลตอบแทนคืนในโอกาสต่อไป แต่
อย่างไรก็ตาม การผ่อนปรนจะเป็นไปด้วยความสมัครใจและคนที่
ได้รับผ่อนปรนก็จะรู้สึกว่ายุติธรรมดีกับทั้งสองฝ่าย แต่ถ้าหากการ
ผ่อนปรนเพียงหวังไปสู่การได้เปรียบก็จะทาให้คุณค่าที่ต้องการ
ร่วมกันนั้นเสียไปหรือนาไปสู่ความเลวร้ายลง และก็จะนาไปสู่
ความสัมพันธ์ที่เลวลง อย่างกรณีตัวอย่างที่ว่าฝ่ายหนึ่งยอมให้ไปเที่ยว
ภูเขาก่อนแล้วค่อยไปเที่ยวทะเลในวันหลังแต่ปรากฏว่าเมื่อควรที่จะ
ไปเที่ยวทะเลกลับเบี้ยวไม่ยอมปฏิบัติตามนั้น นี่ย่อมทาให้
ความสัมพันธ์เสียไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
หลักการสาคัญของศิลปะการเจรจาต่อรอง
การเจรจาต่อรองไม่ว่าจะกระทากับใครและที่ไหน ทั้งกับคนที่
เชี่ยวชาญหรือไม่อย่างไรก็ตาม ล้วนมีหลักการที่สาคัญเหมือนกันก็คือ
 1. มุ่งให้เกิดผลได้กับทุกฝ่ าย (Win – Win Situation)
ประการสาคัญก็คือการที่คุณจะเข้าสู่กระบวนการเจรจาต่อรองอย่างมี
ทัศนคติที่ถูกต้อง ทัศนคติที่ถูกต้องหมายถึงอะไร ก็คือการที่ไม่ฝักใฝ่และ
มุ่งแต่ผลประโยชน์ของเราเพียงฝ่ายเดียว เพราะนั่นย่อมนาไปสู่ความ
ยุ่งยากตามมา หากเราพุ่งเป้าที่จะให้ได้ประโยชน์ร่วมกันย่อมจะทาให้ลด
ความกดดันไปได้ทั้งสองฝ่าย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 2.ฟังให้เป็น
ฟังให้มากว่าอีกฝ่ายต้องการอะไร และหากว่าไปแล้วทักษะที่สาคัญจริงๆ
ของการเจรจาต่อรองนั้นอยู่ที่การถามให้เป็นและการฟังคาตอบให้
ชัดเจนนักเจรจาต่อรองที่มีทักษะจะเจรจาด้วยกรอบความคิดของคาถาม
ที่ดี ซึ่งหากคุณได้เรียนรู้เกี่ยวกับอีกฝ่ายได้ดี ย่อมทาให้คุณได้ข้อมูล
ข่าวสารเชิงคุณภาพซึ่งจะนาไปสู่บรรยากาศของการร่วมมือกันได้ดี รู้ถึง
ความต้องการและการที่เราจะตอบสนองต่อความต้องการนั้น
 3.ให้มีความสร้างสรรค์
ในที่นี้ก็คือการที่รู้จักการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ที่จะทาให้ทุกฝ่าย
ได้รับในสิ่งที่ตนต้องการ หลังจากที่ได้ฟังได้รับรู้ปัญหาและความ
ต้องการมาแล้วนั่นเอง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 4.ความอดทน
ทุกการเจรจาต่อรองล้วนต้องใช้เวลา โดยเฉพาะหากว่าจะต้องมีการ
บุกเบิกอะไรใหม่ๆกับคู่เจรจาจะยิ่งมีความยากลาบากมากขึ้นไปอีกการ
ที่จะให้ได้ตามที่แต่ละฝ่ายต้องการ แน่นอนว่าจะต้องมีการพูดคุยกัน
หลายหน และก็แน่นอนว่าคู่เจรจาส่วนใหญ่ไม่ได้เจรจาด้วยทัศนคติของ
การที่จะให้ประโยชน์ร่วมกันทั้งคู่ แต่มาแบบตั้งลาที่จะให้ได้ประโยชน์
สูงสุด ดังนั้น จึงต้องอดทนและไม่เพียงผลประโยชน์ระยะสั้น แต่ควร
เป็นผลประโยชน์ร่วมกันและการที่จะต้องร่วมมือกันต่อไปในระยะยาว
 5.การวิจัย
ต้องใช้เวลาในการเรียนรู้และศึกษาเพื่อที่จะให้เกิดความเข้าใจอีกฝ่าย
เพื่อที่จะทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 6.ความเชื่อมั่น
หากคุณแสดงถึงความกลัวจะทาให้อีกฝ่ายมองคุณได้ว่าขาดความเชื่อมั่น
และก็พยายามเกทับคุณ ซึ่งท้ายที่สุดอาจนาไปสู่การขาดความเชื่อมั่นใน
สินค้าหรือบริการของคุณเลยก็ได้
 7.ให้รู้ว่าเมื่อไหร่ควรถอยห่างออกมา
ไม่ใช่ทุกการเจรจาต่อรองที่จะจบลงด้วยดี มีไม่น้อยที่ไม่สาเร็จแต่คุณควร
ที่จะรู้ก่อนว่าการเจรจาคราวไหนที่ไปไม่รอดและคุณควรที่จะถอยฉาก
ออกมา โดยเฉพาะกับจุดการเจรจาที่จะต้องให้ได้(A Must) หากไม่ได้
ตามนี้ย่อมเป็นเครื่องชี้ถึงการที่ต้องถอยออกมาจากการเจรจา
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความล้มเหลวในการเจรจาต่อรองกับต่างประเทศอาจมีด้วยกันในหลาย
สาเหตุ เริ่มตั้งแต่ความไม่เข้าใจวัฒนธรรมของอีกฝ่าย เรื่องของเวลา
และต้นทุนที่อาจมีจากัด และเรื่องของแนวคิดที่อาจเข้าข้างตนเองมาก
ไปว่าอะไรที่ทาได้ในประเทศของตนก็คงจะใช้ได้กับคนทั่วโลก ซึ่ง
ความเชื่อดังกล่าวเป็นความเชื่อที่ผิด และหากกล่าวโดยร่วมแล้วอาจ
สรุปได้ว่าความล้มเหลวล้วนมาจากขาดความใส่ใจในมิติทางด้าน
วัฒนธรรม ดังกรณีของบริษัทปูนซิเมนต์ยักษ์ใหญ่ของไทยที่ประสบ
ปัญหาการลงทุนในต่างประเทศแล้วประสบความล้มเหลว ซึ่งได้
ประมวลว่าประเด็นปัญหาหนึ่งก็คือเรื่องของวัฒนธรรมโดยเฉพาะคน
ท้องถิ่นและในองค์กรที่ไม่อาจจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เพื่อหลีกเลี่ยงความล้มเหลวสิ่งที่ควรทาต่อไปนี้จึงมีความจาเป็น คือ
 ควรเรียนรู้ภาษาท้องถิ่นบ้าง อย่างน้อยก็จะช่วยในการคัดเลือกล่ามได้
ดีขึ้น
 เรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น รวมทั้งเรียนรู้ว่าวัฒนธรรมนั้นจะจัดการกับ
ความขัดแย้งอย่างไร แนวปฏิบัติในทางธุรกิจเป็นอย่างไร รวมทั้ง
จริยธรรมในทางธุรกิจ
 การเตรียมตัวให้ดีสาหรับการเจรจา นอกเหนือจากการเตรียมตัว
ข้างต้นแล้ว ก็จาเป็นที่จะต้องรู้เรื่องที่จะเจรจาอย่างรู้แจ้งตลอด
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ขั้นตอนสาคัญในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
การเจรจาต่อรองข้ามชาติมีความซับซ้อนกว่าการเจรจาต่อรอง
ของคนชาติเดียวกัน ด้วยความที่มีความแตกต่างกันทางด้านวัฒนธรรม
รวมทั้งความแตกต่างทั้งในด้านของเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
รวมทั้งวิธีปฏิบัติทางธุรกิจที่ไม่เหมือนกันด้วย ถึงแม้ว่าขั้นตอนการ
เจรจาอาจคล้ายๆกับการเจรจาต่อรองทั่วไป แต่กล่าวโดยละเอียดใน
เนื้อหาแล้วย่อมมีความแตกต่างกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ขั้นตอนสาคัญของการเจรจาต่อรอง มีรายละเอียดดังนี้
 ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมตัว
การเตรียมตัวให้พร้อมนับว่ามีความสาคัญ เริ่มจากการที่ต้องมี
การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่จะมีการเจรจา นอกจากนี้ก็
ควรศึกษาถึงคนหรือบริษัท หน่วยงานที่จะเจรจาต่อรองด้วยเพื่อจะได้รู้
ว่าคู่เจรจาต่อรองเป็นใครเพื่อจะได้วางแนวได้ถูกในกลยุทธ์การเจรจา
เพื่อให้การเตรียมตัวเป็นไปอย่างครอบครัว Copeland และ
Griggs (1985) รวมทั้ง Salacuse (1991) ให้ข้อเสนอแนะว่าควรพิจารณา
ประเด็นสาคัญๆต่อไปนี้เพื่อการเตรียมตัว
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
- พิจารณาดูก่อนว่าข้อเจรจานั้นเป็นไปได้ ก่อนที่จะเข้าสู่กระบวนการ
เจรจา ควรทบทวนให้มั่นใจว่ามีประเด็น ขอบเขตที่สองฝ่ายพอที่จะตกลงกันได้
- ขอให้รู้ให้แน่ชัดว่าหน่วยงานของคุณต้องการอะไรจากการเจรจา ต้องรู้
ว่าหน่วยงานคาดหวังและหวังว่าจะได้รับการบรรลุเรื่องอะไร และขั้นต่าสุดของการ
ยอมรับได้ดีคือะไร
ขอให้รู้จักอีกฝ่ายด้วย อย่างน้อยควรทราบว่าหน่วยงานอีกฝ่ายสามารถให้
อะไรบางอย่างที่คุณหรือหน่วยงานคุณต้องการได้ เป้าประสงค์ของอีกฝ่ายคืออะไร
และอีกฝ่ายติดต่อต่อรองกับคู่แข่งของเราและอยู่ในจุดที่ได้เปรียบหรือไม่
การจัดเตรียมทีมที่เหมาะสม ผู้เจรจามีความรู้อย่างเหมาะสมโดยเฉพาะใน
เชิงเทคนิค มีประสบการณ์ในการเจรจา มีทักษะทางด้านภาษามีความรู้เกี่ยวกับ
ประเทศและวัฒนธรรมของอีกฝ่าย การจัดเตรียมให้เป็นทีมเดียวกันและมีอานาจใน
การเจรจาต่อรองเพียงใด
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
วาระ มีการเห็นชอบวาระร่วมกันหรือยัง วาระจะนาไปสู่การ
เจรจาที่ไม่พึงประสงค์ของบริษัท/หน่วยงานหรือไม่
เตรียมตัวการเจรจาต่อรองที่ยืดยาว การหลีกเลี่ยงที่จะไป
ยอมรับข้อเสียเปรียบแต่โดยเร็ว ขอให้รู้ว่าเมื่อไหร่ที่ควรจะเลิก แต่ไม่
ควรที่จะบอกอีกฝ่าย
สภาพแวดล้อม ทีมมีความคุ้นเคยกับสภาพทางกายภาพของ
สถานที่การเจรจาหรือไม่ ทีมจะไปถึงเมื่อไร และต้องการสนับสนุน
ตรงสถานที่นั้นอย่างไรบ้าง มีความจาเป็นต้องใช้ล่ามหรือไม่
กลยุทธ์ วางแผนกลยุทธ์แต่ก็ขอให้มีความยืดหยุ่นอะไรคือ
ประเด็นหลักอะไรคือการเปิดฉาก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ทีมที่จะเจรจาให้ประสบความสาเร็จนั้นไม่เพียงแต่ต้อง
เตรียมเนื้อหาสาระการเจรจาให้ดีเท่านั้น แต่ควรที่จะต้องเตรียมตัวให้
มากในการศึกษาวิเคราะห์ให้รู้ถึงวัฒนธรรมและสไตล์การเจรจา
ต่อรองของต่างชาติ การเตรียมตัวอาจเริ่มตั้งแต่การหาหนังสือที่
เกี่ยวข้องมาอ่าน อาจต้องจ้างคนที่รู้เรื่องประเทศนั้นมาให้การอบรม
หรือแม้กระทั่งการลองจาลองสถานการณ์การต่อรองดู
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ขั้นตอนที่ 2 การสร้างความสัมพันธ์
หลังจากที่ได้มีการเตรียมตัวขั้นต้นแล้ว ขั้นต่อไปจะยังไม่
เน้นในเชิงการพูดคุยทางธุรกิจ แต่จะให้ความสาคัญกับเรื่องเชิงสังคม
และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งก็คือผู้เจรจาจะสร้าง
ความคุ้นเคยระหว่างกัน การมองเรื่องความคิดเห็น และการดูถึงความ
ไว้วางใจกัน
สถานที่ในการพบปะสร้างความคุ้นเคยเป็นสถานที่ที่ต่างไป
จากสถานที่ที่ใช้ในการเจรจาต่อรองอย่างเป็นทางการ ในกรณีของ
ญี่ปุ่น สถานที่ที่จะสร้างความคุ้นเคยจะเป็นภัตตาคาร บาร์และการพา
ทัวร์สถานที่ทางวัฒนธรรม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ความสาคัญและระยะเวลาในการสร้างความสัมพันธ์จะมีความแตกต่าง
กันไปในแต่ละประเทศ บางประเทศต้องการที่จะสร้างความสัมพันธ์
มากเพราะเห็นว่าการรู้จักกันและความไว้วางใจได้นับเป็นสิ่งสาคัญ
ของการที่จะทาธุรกิจด้วยกัน ในขณะที่บางสังคมกลับเห็นว่าการเจรจา
ต่อรองทางธุรกิจเป็นเรื่องทางธุรกิจเป็นเรื่องของราคาและเงื่อนไขที่
เป็นที่พอใจมากกว่าจึงอาจให้ความสาคัญกับการสร้างความสัมพันธ์ไม่
มากนัก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
กรณีตัวอย่าง ได้แก่ สหรัฐอเมริกาและเยอรมนี ที่มักจะเข้าสู่
ประเด็นทางธุรกิจโดยเร็ว มีการพูดคุยเรื่องทั่วๆ ไปหรือการสร้าง
ความคุ้นเคยระหว่างกันไม่มากนัก และมักจะมองว่าการพูดคุยนอกเรื่องที่
ไม่ใช่ธุรกิจเป็นเรื่องที่เสียเวลาและใช้ทรัพยากรของบริษัทแบบไม่คุ้มค่า
การที่ต้องเสียเวลาในการเจรจาต่อรองทางธุรกิจมากไปย่อมมีค่าใช้จ่าย
จานวนมาก โดยเฉพาะกับการที่ต้องไปเจรจายังต่างประเทศ นอกจากนี้
สไตล์การเจรจาแบบอเมริกันยังมีการจัดทาข้อตกลงในแบบการกาหนด
รายละเอียดและข้อกาหนดที่ชัดเจน จึงไม่รู้สึกว่าจะต้องอาศัย
ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลในการที่จะช่วยทาให้อะไรต่ออะไรชัดเจนหรือ
อานวยความสะดวกอีกเพราะข้อตกลงได้กาหนดไว้ชัดเจนแล้ว และเห็น
ว่าทุกอย่างเป็นข้อตกลงผูกมัดทางกฎหมายของทุกฝ่าย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ในขณะเดียวกันบางวัฒนธรรม เช่น ในเอเชีย วัฒนธรรมไม่
น้อยที่การที่การเจรจาเริ่มต้นด้วยการสร้างความสัมพันธ์และเห็นว่า
หัวใจสาคัญของการนาไปสู่การตกลงกันได้ต้องมาจากความคุ้นเคยรู้จัก
และไว้วางใจซึ่งกันและกัน การรู้จักกันมีความหมายอาจมากว่าประเด็น
ทางธุรกิจที่จะเจรจา ดังนั้นการยอมเสียเวลาเพื่อสร้างความสัมพันธ์จึง
ถูกมองว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า
อย่างไรก็ตามการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคู่เจรจานับว่าเป็น
การสร้างรากฐานในการที่จะพูดคุยติอรองกันและถึงแม้ว่าสังคมนั้นจะ
เป็นสังคมปัจเจกชนนิยม เช่น สหรัฐอเมริกา การสร้างความไว้วางใจก็
ยังนับว่าเป็นสิ่งสาคัญ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ขั้นตอนที่ 3 แรกเปลี่ยนข้อมูล
ในขั้นตอนนี้คู่เจรจาจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่จาเป็นต่อ
การที่จะทาการตกลงกันเป็นรายละเอียดทีเกี่ยวกับงาน โดยทั่วไปทั้ง
2 ฝ่ายจะมีการนาเสนอข้อมูลอย่างเป็นทางการ หากเป็นเรื่องทาง
ธุรกิจจะนาเสนอประเด็น เช่น เรื่องของจานวน คุณลักษณะสินค้า
และราคา ทั้ง 2 ฝ่ายก็อาจจะมีการนาเสนอข้อเสนอราคาครั้งแรก ซึ่ง
ก็เป็นข้อเสนอที่คาดหวังจากข้อตกลง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ในชั้นของการแลกเปลี่ยนข้อมูลนี้ ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม
ของแต่ละชาติจะเริ่มเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ในชั้นของการ
นาเสนอข้อมูล รวมทั้งการเสนอข้อเสนอ (ราคา) ครั้งแรก บาง
ประเทศที่เสนอครั้งแรกอาจมีส่วนต่างจากเป้าหมายไม่มากนัก
(ไม่ได้โก่งราคามาก) เช่น สหรัฐอเมริกาอาจเสนอราคามากกว่า
เป้าหมายที่ต้องการไว้5-10 % การให้ข้อมูลจะมีความสั้นกระชับและ
โดยตรงด้วยสื่อต่างๆ ญี่ปุ่นอาจเสนอราคา 10-20 % สูงกว่าเป้าหมาย
ที่ตั้งไว้แต่คนญี่ปุ่นจะร้องขอข้อมูลในเชิงเทคนิคอย่างมาก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
แต่ถ้าหากเป็นประเทศกลุ่มอาหรับ อาจเสนอราคาสูงกว่า
เป้าหมาย 20-50 % และมุ่งในเรื่องของความสัมพันธ์มากกว่าข้อมูล
เชิงเทคนิค สาหรับบางประเทศมีการกาหนดราคาข้อเสนอที่อาจจะ
มากคือต้องต่อราคามากซึ่งก็ได้แก่ รัสเซีย ส่วนบางประเทศ เช่น
เม็กซิโกมักจะเสนอราคาที่ใกล้กับราคาเป้าหมายเลยทีเดียวแต่ใน
เรื่องของข้อมูลที่ต้องการอาจให้น้าหนักน้อยกว่าเรื่องของการสร้าง
ความสัมพันธ์เมื่อมีการเสนอราคาขั้นแรกการเจรจาก็จะเริ่มต้นขึ้น
และกระบวนการก็จะคืบคลานไปในขั้นต่อไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ขั้นตอนที่ 4 การโน้มน้าว
ในขั้นนี้แต่ละฝ่ายก็จะพยายามที่จะให้อีกฝ่ายหนึ่งเห็นด้วย
หรือตกลงกับข้อเสนอของตน จุดนี้ว่าไปแล้วก็คือหัวใจของการ
เจรจาต่อรอง ในตอนนี้จะมีการใช้กลวิธีกันทุกรูปแบบ ที่เห็นว่าจะ
ทาให้ตนเองได้ประโยชน์ ซึ่งกลวิธีดังกล่าวก็จะสะท้อนถึงมิติทาง
วัฒนธรรมของตนที่เป็นปัจจัยผลักดันอยู่เบื้องหลัง
ต่อไปนี้คือตัวอย่างของกลวิธีที่มีการใช้กันทั่วไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 กลวิธีที่เป็นวจนะและอวจนะภาษา
John Graham (1985) ได้ระบุถึงกลวิธีที่ใช้ในการเจรจาต่อรอง
ที่เป็นทั้งภาษาพูดและที่ไม่ใช่ภาษาพูดที่ใช้กันโดยทั่วไป ดังนี้
• การให้คาสัญญา เช่น หากคุณทาอะไรให้ผมบางอย่าง ผมก็
จะทาอะไรให้คุณบางอย่าง
• การคุกคาม คือ หากคุณทาอะไรบางอย่างที่ผมไม่ชอบ ผมก็
จะทาในสิ่งที่คุณไม่ชอบเหมือนกัน
• การให้ข้อเสนอแนะ ถ้าคุณทาอะไรบางอย่างตามที่ผม
ปรารถนาละก็ สิ่งดีๆจะเกิดขึ้นกับคุณ (แน่ๆ) (เช่น ลูกค้าจะซื้อสินค้า
คุณ)
• การให้คาเตือน หากคุณทาอะไรบางอย่างที่ผมไม่ชอบ สิ่ง
เลวร้ายจะเกิดขึ้นกับคุณ (เช่น บริษัทอื่นจะรู้ว่าคุณไม่อาจทาธุรกิจนี่ได้)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
• การให้รางวัล ผมกาลังจะทาอะไรบางอย่างที่ได้ประโยชน์แก่คุณ
(ปราศจากเงื่อนไข)
• การทาโทษ ผมจะทาอะไรบางอย่างที่คุณไม่ชอบปราศจากเงื่อนไข
(เช่น ยุติการเจรจาต่อรองทันที)
• การโอดครวญ เช่น นี่คือวิธีการทาธุรกิจ/หรือไม่ทาธุรกิจแบบนี้ที่นี่
(เช่น คุณควรจะเรียนรู้ว่าญี่ปุ่นเขาทาธุรกิจกันแบบนี้)
• การมีพันธะ ผมยินดีจะทาอะไรบางสิ่งเป็นการเฉพาะ (เช่น ส่งของให้
ทันในเวลาที่กาหนด)
• การเปิดเผยตัวตน ผมจะบอกอะไรคุณบางอย่างเกี่ยวกับตัวผมเองหรือ
เกี่ยวกับบริษัทของผม เพื่อแสดงให้เห็นว่าทาไมถึงจาเป็นที่จะต้องปิดการเจรจาให้
ได้
• การตั้งคาถาม ผมขอถามคุณบางอย่างเกี่ยวกับบริษัทหรือเกี่ยวกับตัว
คุณ
• การออกคาสั่ง นี่คือคาสั่งที่คุณต้องปฏิบัติตาม
• การปฏิเสธ พูดแต่คาว่าไม่
• การขัดจังหวะ มีการพูดในขณะที่อีกฝ่ายพูด
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
นอกจากวจนะภาษาแล้ว อวจนะภาษาก็มีอิทธิพลต่อการเจรจา
การสื่อสารที่ไม่ใช้พูดหรือภาษาท่าทางภาษากาย เป็นเครื่องแสดงออก
ได้อย่างหนึ่ง ลองดูตัวอย่างของการใช้มือหรือหน้าตาออกท่าทางก็
พอจะมองออกได้ถึงอาการของอีกฝ่ายว่าเห็นด้วย คล้อยตามหรือไม่
เห็นด้วยกับข้อเสนอหรือคาพูดของเราได้เรื่องท่าทางภาษายังเกี่ยวข้อง
กับความรู้สึกของแต่ละวัฒนธรรม บางวัฒนธรรมการยืนพูดคุยกัน
แบบใกล้ชิดดูจะเป็นการให้เกรียติไว้วางใจกัน แต่กับบางวัฒนธรรมจะ
มีระยะห่างในการพูดคุยระหว่างคน 2 คน ที่ค่อนข้างกว้าง (เกือบเมตร)
จะทาให้รู้สึกสบายๆผ่อนคลาย สถานการณ์ดังกล่าวหากอีกฝ่าย ไม่
ทราบก็อาจทาให้เกิดอาการอึดอัดขึ้นมาได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ภาษาท่าทางใช่ว่าจะต้องมีการแสดงออกเสมอไป การนิ่งเงียบก็ทาให้มี
การตีความหมายต่างออกไป กรณีคนญี่ปุ่นที่มักจะนิ่งเงียบในที่ประชุม ทาให้บาง
วัฒนธรรม เช่น สหรัฐอเมริกาที่ชอบการโต้ตอบพูดคุยฉับพลัน อาจรู้สึกอึดอัดและ
อาจคิดเอาว่าญี่ปุ่นอาจไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอ แต่อันที่จริงในขณะนั้นญี่ปุ่นอาจ
กาลังใช้ความคิดในการไตร่ตรองอยู่ก็เป็นได้ และถ้าหากอีกฝ่ายพยายามทาลาย
ความเงียบด้วยการพูดอะไรเพิ่มเติมเข้าไปอีกอาจทาให้คนญี่ปุ่นที่กาลังคิดสับสน
หรือลังเลใจในการคิดอะไรบางอย่างอยู่
คนเอเชียก็จะมีอาการนิ่งเงียบกันไม่น้อยในการสื่อออกไป อย่างผล
การศึกษาพบว่าในครึ่งชั่วโมงคนญี่ปุ่นอาจหยุดนิ่งถึง 5 ครั้งที่นาน 10 วินาทีหรือ
ยาวกว่า ซึ่งก็จะมากกว่าสหรัฐอเมริกาถึง 2 เท่า ในขณะที่บราซิลแทบไม่ปล่อยให้
ว่างมากเกินกว่า 10 วินาที จะต้องมีเรื่องพูดแล้ว (Graham,1985)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 วิธีการสกปรกในการเจรจาต่อรอง
ด้วยการที่ทุกคนต้องการที่จะให้ได้รับชัยชนะ ได้เปรียบในการต่อรอง
จึงมีการใช้กลวิธีทุกรูปแบบ บางกลวิธีดูจะเป็นที่ยอมรับ แต่ก็มีไม่น้อยที่ใช้กลวิธี
แบบสกปรกซึ่งบางวัฒนธรรมอาจเห็นว่าเป็นที่ยอมรับได้ แต่อีกฝ่ายอาจมองว่า
เป็นการไม่เหมาะสม ไม่ยุติธรรม
ดูเหมือนว่าเราแทบจะหลีกเลี่ยงไมได้กับการเผชิญกับกลวิธีต่างๆที่แต่
ละวัฒนธรรมมีความแตกต่างกันในปทัสถานและค่านิยม จึงอาจมีระดับของการ
ยอมรับในกลวิธีที่ไม่เหมือนกัน
ตัวอย่างต่อไปนี้ที่มีการใช้กัน (บางอันถูกมองว่าเป็นวิธีสกปรก) พร้อม
ทั้งมีวิธีการโต้ตอบอยู่ด้วย (Adler 1991,Fisher and Ury 1981,Kublin1995) ได้แก่
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
- หลอกลวงอย่างจงใจ ผู้เจรจานาเสนอข้อมูลที่ไม่เป็นความ
จริงแต่พูดให้แลดูดีหรือเป็นข้อมูลที่จัดทาให้ไป ตัวอย่างเช่น บริษัท
A ได้หารือกับบริษัท B นานนับสัปดาห์ ซึ่งอันนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
กลวิธีสกปรกในแง่ที่เป็นการแกล้งเจรจาเพื่อเป็นการใช้กดดันอีก
บริษัทหนึ่ง (C) ที่บริษัท B อาจกาลังเจรจาต่อรองอยู่ การเจรจากับ
บริษัท A จึงเป็นการเสแสร้งเพื่อกดดัน B ให้รีบตกลง ตัดสินใจ
นั่นเอง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ทางแก้ชี้ไปตรงๆเลยว่าสิ่งที่คุณเชื่อว่ากาลังเกิดขึ้น (ทานองว่าคุณก็รู้ว่ากาลัง
ถูกหลอก)
- การหน่วงเหนี่ยว คู่เจรจาพยายามรอจนนาทีสุดท้ายที่รู้ว่าอีกฝ่ายกาลัง
ได้เวลาที่จะเดินทางกลับหรือกาลังมีเส้นตายบางอย่าง ดังนั้น จึงพยายามผลักดัน
ให้เกิดประโยชน์กับฝ่ายตนให้มากที่สุดเป็นการกดดัน
 ทางแก้ อย่าเปิดเผยแผนของคุณว่าคุณมีเวลาถึงเท่าไร จะกลับเมื่อไร หากถูก
ถาม คุณอาจตอบว่า “ตราบเท่าที่ตกลงกันได้” หรือไม่ก็อาจบอกว่าคุณจะกลับ
ไม่ว่าจะตกลงกันได้หรือไม่ก็ตาม
- เพิ่มขั้นตอนของอานาจ ผู้เจรจามีการตกลงกันแล้ว แต่ก็เปิดเผยว่า
จะต้องนาเรื่องตกลงนี้เสนอผู้ที่มีอานาจให้การอนุมัติเหนือขึ้นไปอีก วัตถุประสงค์
นี้ก็เพื่อที่จะกดดันให้อีกฝ่ายพยายามผ่อนปรนอะไรลงมาให้มากขึ้นไปอีก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ทางแก้ ให้มีการอธิบายให้ชัดเจนก่อนว่ากระบวนการตัดสินใจเป็นอย่างไร
ก่อนที่จะมีการเริ่มกระบวนการเจรจาต่อรอง
- บทคนดี – คนเลว มีการแบ่งบทกันในทีมให้คนหนึ่งเล่นบทคนที่
พยายามเห็นด้วยและเป็นมิตรกับฝ่ายคู่เจรจา ในขณะที่อีกคนกาหนดให้เล่นบท
รุนแรงหรือแบบไม่มีเหตุผล เพื่อให้ 2 คน นี้คอยล่อหลอกอีกฝ่าย เช่น บทคนดี
พยายามที่จะช่วยผ่อนปรนให้อีกฝ่าย
 ทางแก้ อย่าพยายามผ่อนปรนอะไรให้อีกฝ่ายพยายามละเลย 2 คนนี้ไปเลย แต่
ให้มองที่ผลประโยชน์หรือผลประโยชน์ร่วมเท่านั้น
- คุณรวย ผมจน บ่อยครั้งที่คู่เจรจามาจากประเทศกาลังพัฒนามักใช้กล
ยุทธ์ของการขอความเห็นใจ ขอลดหย่อนหรือไม่ก็เป็นบริษัทที่เล็กกว่าที่ต้องการ
ขอความเห็นอกเห็นใจจากบริษัทใหญ่
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ทางแก้ ให้ละเลยประเด็นดังกล่าวไปเลย ขอให้เน้นประเด็นที่จะ
เป็นผลประโยชน์ร่วมเป็นสาคัญ
- เพื่อนเก่า ผู้เจรจาทาตัวเหมือนกับบริษัทของตนและผู้
เจรจาเป็นผู้ที่คุ้นเคยเป็นมิตรกันมานาน ดังนั้น หากอีกฝ่ายจะปฏิเสธ
อะไรก็ขอให้คานึงถึงความรู้สึกความเป็นมิตรที่ผ่านมา
 ทางแก้ ให้ถอยห่างจากเรื่องเชิงจิตวิทยาและให้คานึงถึง
ธรรมชาติที่แท้จริงของความสัมพันธ์มากกว่าเรื่องเฉพาะหน้า
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ถึงแม้ว่าในการเจรจาต่อรองจะมีการใช้กลวิธีแบบสกปรก
แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านนี้ได้ให้ข้อแนะนาไว้ว่า ประการแรกคือ การ
หลีกเลี่ยงที่จะใช้กลวิธีสกปรกนั้นเสียเอง ประการที่สอง ชี้ให้อีก
ฝ่ายเห็นไปเลยว่ากาลังใช้วิธีการที่ว่านั้นอยู่แบบว่ารู้ทันจะช่วยให้อีก
ฝ่ายพยายามถดถอยลง ประการที่สี่ ขอให้ตระหนักว่าระบบ
จริยธรรมมีความแตกต่างกันไปแต่ละวัฒนธรรมและทาความเข้าใจ
ว่าอีกฝ่ายอาจไม่ได้รู้สึกว่ากาลังทาผิดหรือไม่ถูกต้องตามทานองครองธรรม
จริงๆหรือไม่รู้ตัว
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ขั้นตอนที่ 5 การผ่อนปรน
ก่อนที่จะเข้าไปสู่ขั้นสุดท้ายของการตกลงกันได้ ก็จะต้องผ่านขั้นตอน
ที่แต่ละฝ่ายยอมที่จะมีการผ่อนปรนอะไรบางอย่างลงมาไม่ฝ่ายใดก็ฝ่ายหนึ่งหา
ไม่แล้วก็คงจะไม่สามารถตกลงอะไรกันได้ โดยทั่วไปแล้วเราจะพบว่าการผ่อน
ปรนให้มักจะไปกระทาในจุดที่อาจเรียกได้ว่าไม่ได้มีความสาคัญอะไรมากนัก
เพื่อให้ได้เป้าประสงค์ใหญ่ที่ต้องการ
สไตล์การให้ผ่อนปรนมีความแตกต่างกันไปในแต่ละวัฒนธรรมว่าไป
แล้วไมได้มีสูตรไหนเป็นสูตรสาเร็จ Adler (1991) และ Kublin (1995) ชี้ว่า
ประเทศอเมริกาเหนือจะมีการผ่อนปรนแบบว่าต้องแลกเปลี่ยนกัน (Sequential
Approach) คือ หากผ่อนปรนอะไรให้อีกฝ่ายก็จะขอให้อีกฝ่ายช่วยผ่อนปรน
อะไรบางอย่างเป็นการแลกกันที่นับว่าเป็นปทัสถานของประเทศในแถบนี้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ขั้นตอนที่ 6 ความตกลง
ผลสาเร็จของการเจรจาต่อรองก็คือทั้ง 2 ฝ่าย สามารถที่จะทา
ความตกลงขั้นสุดท้ายกันได้ด้วยการทาการลงนามในสัญญา ซึ่งต้อง
มาพิจารณากันอีกว่าจะใช้รูปแบบหรือระบบกฎหมายกันอย่างไรแบบ
ไหน เพราะแต่ละประเทศก็จะมีรูปแบบสัญญาที่แตกต่างกัน
แม้กระทั่งการเรียกชื่อเอกสารสัญญาก็ยังไม่เหมือนกันและเข้าใจไม่
ตรงกันก็เกิดขึ้นได้บ่อยๆ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
สิ่งที่สาคัญที่สุดก็คือแต่ละประเทศและวัฒนธรรมจะมีความแตกต่าง
กันในเชิงวัฒนธรรมอย่างไรก็ตามแต่ก็ควรจะเข้าใจในหลักกฎหมายพื้นฐาน
เงื่อนไขข้อกาหนดที่เป็นหลักสากล ไม่ว่ารากฐานทางกฎหมายของประเทศตนจะ
เป็นอย่างไรก็ตาม
แต่ละประเทศจะมีแนวคิดในการทาข้อตกลงที่ไม่เหมือนกันโดยมี
แนวคิดหลักๆ คือ การทาข้อตกลงที่ระบุกว้างและทั่วไป ( General Agreement)
กับที่ชอบให้ระบุรายละเอียดมากกว่า ทั้งนี้กรณีตัวอย่างบางประเทศที่มีการทา
ข้อตกลงแบบเน้นหนักการกาหนดทั่วๆ ไป ไปจนถึงประเทศที่ชอบกาหนด
เฉพาะและมีรายละเอียดจะเรียงลาดับได้ดังนี้ คือ ญี่ปุ่น เยอรมนี อินเดีย ฝรั่งเศส
จีน อาร์เจนติน่า บราซิล สหรัฐอเมริกา ไนจีเรีย เม็กซิโก สเปน และอังกฤษ เป็น
ต้น (Salacuse, 1998)

More Related Content

What's hot

Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Mayuree Srikulwong
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structureKan Yuenyong
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์Teetut Tresirichod
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศtumetr
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productTeetut Tresirichod
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมTeetut Tresirichod
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงานJane Janjira
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 

What's hot (20)

Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structure
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน

  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การเจรจาต่อรองข้ามชาติอาจมีด้วยกันหลายทฤษฎี แต่โดยหลักแล้วสรุปแนวคิดได้ เป็น 2 แนว คือ การเจรจาต่อรองแบบกระจายประโยชน์ (Distributive) และการ เจรจาแบบผสานประโยชน์ (Integrative)  การเจรจาต่อรองแบบกระจายประโยชน์มีลักษณะของการได้ประโยชน์และเสีย ประโยชน์ (Zero – sum model) การเจรจาจึงมีลักษณะของการแข่งขันเพื่อให้ได้ ประโยชน์สูงสุด และด้วยเหตุที่ว่า ผลลัพธ์มีลักษณะของการแข่งขันเพื่อให้ได้ ประโยชน์สูงสุด และผลลัพธ์มีลักษณะคงที่ มีสัดส่วนแน่นอน ดังนั้น เมื่อคนหนึ่ง ได้ส่วนใดไป คนอีกคนก็จะเสียไป  การเจรจาต่อรองแบบผสานประโยชน์ มีลักษณะของการร่วมมือกันที่แต่ละฝ่ายที่ เจรจา พยายามที่จะให้ได้ผลลัพธ์ของแต่ละฝ่ายร่วมกันให้ได้มากที่สุดลักษณะของ Win – Win คือได้ด้วยกันทั้งคู่ ทั้งนี้การเจรจาต่อรองทั้ง 2 ตัวแบบข้างต้น มี รายละเอียดดังนี้
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ในสถานการณ์ของการกระจายผลประโยชน์ เป้าประสงค์ของฝ่ายหนึ่ง มักจะอยู่ตรงข้ามกับอีกฝ่ายหนึ่ง ตัวอย่าง เช่น ลูกค้าคนหนึ่งต้องการซื้อ สินค้าอย่างหนึ่ง แน่นอนว่าผู้ซื้อต้องการได้ราคาที่ต่าที่สุดหรือราคาที่ถูก ที่สุด ในขณะที่ผู้ขายต้องการขายให้ได้ราคาสูงที่สุดเพื่อให้ได้กาไรให้ มากที่สุด ในกรณีนี้เป็นที่แน่นอนว่าลูกค้าย่อมจะมีความรู้สึกยุ่งยากใจ เพราะรู้อยู่ว่าเกมนี้จะเป็นอย่างไรเมื่อตนเองเดินเข้าไปซื้อของชิ้นนี้ ทั้ง 2 ฝ่ายรู้ว่าการต่อรองในครั้งนี้หากเปรียบเหมือนมีขนมอยู่ 1 ชิ้น ที่จะแบ่ง กัน หากคนหนึ่งได้ไปมาก อีกคนหนึ่งย่อมเหลือน้อยลงไป
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การต่อรองอาจมีปัจจัยอื่นๆเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยนอกเหนือจากเรื่อง ของราคาดังที่กล่าว อาทิ หากซื้อด้วยเงินสดอาจได้ราคาที่ถูกกว่าที่ ซื้อด้วยเงินผ่อนและหากผ่อนสั้น ก็จะได้ราคาที่ถูกกว่าการผ่อน ระยะยาว นอกจากนี้ผู้ขายก็อาจจูงใจด้วยการให้ของแถมต่างๆ แก่ ลูกค้า ซึ่งอาจทาให้ลูกค้าเพิ่งพอใจแล้วยอมรับราคาที่ตั้งขายไว้ได้ ซึ่งผู้ขายย่อมคานวณแล้วว่าเป็นส่วนของกาไรที่ได้ตั้งเป้าไว้แล้ว ในกรณีนี้จึงอาจเรียกว่าเป็นการรับและให้ระหว่างสองฝ่าย เพื่อให้ การต่อรองนั้นง่ายขึ้น
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  อย่างไรก็ตาม ยังคงกล่าวได้ว่ามีสิ่งที่เป็นคุณค่าคงที่ที่ 2 ฝ่ายจะแลกเปลี่ยน กันในลักษณะของจุดต่าสุด (Floor) กับสิ่งที่เรียกว่าจุดสูงสุด (Ceiling) ที่จะ ทาให้ทั้งสองฝ่ายไม่ยอมออกไปจากกรอบนี้ และระหว่างสองขั้วดังกล่าว จะมีจุดที่ทั้งสองฝ่ายรู้สึกว่าพอรับได้(Comfort Zone) อยู่ โดยที่มองว่า ณ ราคาตรงบริเวณนั้นจะเป็นที่ยอมรับได้อย่างน้อยก็ดูเหมาะสมกับคุณค่า ของของสิ่งนี้ และนี่คือที่รับรู้กันว่าเป็นราคาที่ยุติธรรมเหมาะสมที่สองฝ่าย อยากจะได้ตรงนั้น  การต่อรองในลักษณะของการกระจายผลประโยชน์ใช่ว่าเฉพาะในเรื่อง ของการซื้อขาย การต่อรองในเรื่องค่าจ้างแรงงานก็เข้าข่ายในทานอง เดียวกันนี้ การจ่ายค่าจ้างของนายจ้างย่อมคานวณถึงผลประโยชน์ ผลกาไร ที่จะได้รับในขณะที่ลูกจ้างก็ต้องการค่าแรงที่สูงที่สุด แต่ทั้งสองฝ่ายก็จะ มาถึงจุดที่ยอมรับได้
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  จากตัวอย่างข้างต้นทาให้เราเห็นว่าการเจรจาแบบกระจายประโยชน์ก็ เพื่อที่จะให้ได้รับชัยชนะในท้ายที่สุด และแต่ละฝ่ายก็เชื่อว่าตนเองนั้น ได้รับชัยชนะหรือสูญเสียน้อยกว่าอีกฝ่าย อย่างไรก็ตาม การต่อรองใช่อิง อยู่บนฐานของราคาและต้นทุนไปเสียทั้งหมด อย่างการต่อรองการค้า ระหว่างประเทศที่อาจรวมเอาเรื่องของเชิงจิตวิทยา การเอาชนะในจุดที่ เป็นเหมือนอุดมการณ์ของตน หรือไม่ก็เพียงแต่สามารถสนองต่ออีโก้ ของตนได้ในแทบทุกสถานการณ์ของการต่อรองแบบกระจาย วัตถุประสงค์หลักก็คงเป็นเรื่องของการเน้นไปที่ทรัพยากรในการต่อรอง (เงิน ค่าจ้าง รายได้กาไรหรือการลงทุน) และรวมทั้งผลได้ในเชิงจิตวิทยา ก็นับว่ามีความสาคัญอย่างยิ่ง ความขัดแย้งทั้งหลายที่ไม่ลงตัวในการ ต่อรองล้วนแล้วแต่วางน้าหนักอยู่บนผลลัพธ์เหล่านี้ทั้งสิ้น
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การเจรจาต่อรองในแบบกระจาย เรามักพบว่าผู้เจรจาจะต้องเป็นผู้ที่ แข็งแกร่งยากที่จะโน้มน้าวได้ง่าย มีความอดทน และต้องรู้ข้อมูลเป็น อย่างดีและในหลายกรณีอาจมีข้อสงสัยในมิติด้านจริยธรรมว่าพวกนี้ จะมีหรือไม่ (พร้อมที่จะทาทุกอย่างเพื่อให้ตนเองได้กาไรหรือได้ ประโยชน์สูงสุด แม้กระทั่งการปกปิดข้อมูลไม่ให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้ข้อมูล ที่แท้จริงบางอย่าง) ลองดูตัวอย่างของคนขายรถยนต์มือสองตาม เต็นท์รถต่างๆ ที่น้อยมากที่จะบอกรายละเอียดของรถคันที่เราสนใจ ทั้งหมด เราต้องวิเคราะห์และดูเอาเองให้ได้ว่ารถอยู่ในสภาพที่ดีจริง หรือไม่
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ในประเด็นนี้หากเราจะนิยามคุณลักษณะของการเจรจาต่อรองแบบกระจายว่าเป็น การที่พยายามแก้ปัญหาในเรื่องของความแตกต่างระหว่างสองฝ่ายเพื่อให้บรรลุ เป้าประสงค์ร่วมกัน แต่นี่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะไปลดทอนแนวคิดที่ว่าการ ต่อรองแบบนี้ก็คือการทีแพ้มีชนะอยู่นั่นเอง ผู้เจรจาลักษณะนี้จะเก็บข้อมูลไว้กับ ตนเองให้ได้มากที่สุด จะปล่อยไปเท่าที่ตนเองจะได้ประโยชน์ ในขณะที่อีกฝ่ายก็ ต้องการสืบเจาะข้อมูลไปให้ได้มากที่สุด  คุณสมบัติของนักเจรจาต่อรองที่มีในแบบนี้ก็คือ การที่จะต้องรู้ผลลัพธ์เป้าหมายที่ ต้องการและมีความคิดที่ชัดเจนว่าจุดต้านที่สาคัญ (จุดต่าสุด – สูงสุดที่อาจต้องเดิน หนีไปจากการเจรจาคืออะไร) และจะต้องรู้ว่าขอบเขตตรงบริเวณไหนเป็นจุดที่จะ ให้ความเห็นชอบได้หรือยินยอมตกลงได้ รวมทั้งจะต้องรู้ว่าควรจะต่อรองอย่างไร หากมีหลายๆตัวแปรเข้ามาผสมกัน (Bargaining Mix) เช่น มีเรื่องของราคา เงื่อนไข หรือการผ่อนปรนในเรื่องอะไร ที่สิ่งเหล่านี้จะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและจะ ยอมรับได้เพียงใด
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เป็นกระบวนการเจรจาต่อรองที่ทั้งสองฝ่ายร่วมมือกันเพื่อให้สามารถบรรลุ เป้าประสงค์บางอย่าง โดยที่ฝ่ายหนึ่งไม่จาเป็นต้องสูญเสียอะไรไป นอกจากนี้ หากพิจารณาถึงทรัพยากรก็จะพบว่าไม่ได้มีอย่างตายตัวที่จะมาแบ่งกัน แต่กลับ สามารถขยายผลประโยชน์ตรงนั้นออกไปได้ด้วย ตัวอย่างเช่น หากคนสองคน ต้องการที่จะไปเที่ยวด้วยกัน(อาจเป็นสามีกับภรรยา)โดยคนหนึ่งอาจชอบไป เที่ยวทะเล ส่วนอีกคนชอบไปเที่ยวภูเขาในการนี้ทั้งสองฝ่ายก็จะเจรจากันเพื่อหา จุดลงตัว โดยแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน และพิจารณาถึงผลประโยชน์หรือสิ่งที่ ต้องการของอีกฝ่าย แต่จะเป็นลักษณะของการเจรจาเชิงบวกและพร้อมที่จะ ร่วมมือกันและหาจุดลงตัวว่าผลประโยชน์ร่วมกันอยู่ตรงไหน ในที่สุดแล้วอาจ ได้สถานที่ท่องเที่ยวที่มีทั้งทะเลหรือภูเขาอยู่ในบริเวณเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การเจรจาต่อรองในแบบผสาน ผู้เกี่ยวข้องจะมุ่งเน้นในประเด็นเนื้อหา สาระเพื่อให้ได้คุณค่าอย่างแท้จริง จึงมักเปิดเผยประเด็นที่มองเห็นได้ ดังนั้นจึงลดความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างกัน แม้กระทั่งการที่อีกฝ่ายยอมลดละ เช่น ครั้งนี้อาจจะยังไม่ไปเที่ยวทะเล เอาไว้ครั้งหน้า หากเราประมวลการเจรจาต่อรองแบบนี้จะพบว่า  ประการแรกทั้งสองฝ่ายพยายามที่จะเปิดเผยข้อมูลของตน รวมทั้งความ ต้องการของตนเอง  ประการที่สองทั้งสองฝ่ายพยายามที่จะสื่อสารกันอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในลาดับความสาคัญต่างๆที่ต้องการ และยัง พยายามเข้าใจถึงข้อจากัดของความต้องการแต่ละฝ่ายในภาษาของการ เจรจาต่อรองทั้งสองฝ่ายจะพยายามพิจารณาเป้าหมายผลลัพธ์และ ขอบเขตที่จะตกลงกันได้
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ประการที่สามจะมุ่งเน้นที่ประเด็นโดยไม่มีแรงจูงใจแอบแฝงอื่น โดย จะร่วมมือกันเพื่อหาทางออกที่ได้ประโยชน์ของทั้งสองฝ่ายในการ เจรจาต่อรองจึงหาทางต่อรองแบบที่ผสมผสานกันในหลายๆ ทางเลือก ที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ประการที่สี่ ทุกฝ่าย พยายามที่จะช่วยเหลือกันและกันในการหาทางออกที่ได้ผลประโยชน์ ทั้งคู่ พยายามที่จะไม่ให้มีความขัดแย้งกัน ประการที่ห้า ทั้งสองฝ่ายจะ เริ่มต้นการเจรจาด้วยเจตจานงที่จะหาจุดเหมือนในผลประโยชน์ จะ ไม่ใช่การหาความแตกต่าง
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ในการต่อรองแบบผสานยังนับว่าทั้งสองฝ่ายพยายามที่จะสร้าง ความสัมพันธ์และพร้อมที่จะให้ความผ่อนปรนหรือยอมเสียสละให้ อีกฝ่าย ใครก็ตามที่ยอมเสียสละบางอย่างก็จะช่วยในการสร้าง ความสัมพันธ์และก็อาจได้รับผลตอบแทนคืนในโอกาสต่อไป แต่ อย่างไรก็ตาม การผ่อนปรนจะเป็นไปด้วยความสมัครใจและคนที่ ได้รับผ่อนปรนก็จะรู้สึกว่ายุติธรรมดีกับทั้งสองฝ่าย แต่ถ้าหากการ ผ่อนปรนเพียงหวังไปสู่การได้เปรียบก็จะทาให้คุณค่าที่ต้องการ ร่วมกันนั้นเสียไปหรือนาไปสู่ความเลวร้ายลง และก็จะนาไปสู่ ความสัมพันธ์ที่เลวลง อย่างกรณีตัวอย่างที่ว่าฝ่ายหนึ่งยอมให้ไปเที่ยว ภูเขาก่อนแล้วค่อยไปเที่ยวทะเลในวันหลังแต่ปรากฏว่าเมื่อควรที่จะ ไปเที่ยวทะเลกลับเบี้ยวไม่ยอมปฏิบัติตามนั้น นี่ย่อมทาให้ ความสัมพันธ์เสียไป
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ หลักการสาคัญของศิลปะการเจรจาต่อรอง การเจรจาต่อรองไม่ว่าจะกระทากับใครและที่ไหน ทั้งกับคนที่ เชี่ยวชาญหรือไม่อย่างไรก็ตาม ล้วนมีหลักการที่สาคัญเหมือนกันก็คือ  1. มุ่งให้เกิดผลได้กับทุกฝ่ าย (Win – Win Situation) ประการสาคัญก็คือการที่คุณจะเข้าสู่กระบวนการเจรจาต่อรองอย่างมี ทัศนคติที่ถูกต้อง ทัศนคติที่ถูกต้องหมายถึงอะไร ก็คือการที่ไม่ฝักใฝ่และ มุ่งแต่ผลประโยชน์ของเราเพียงฝ่ายเดียว เพราะนั่นย่อมนาไปสู่ความ ยุ่งยากตามมา หากเราพุ่งเป้าที่จะให้ได้ประโยชน์ร่วมกันย่อมจะทาให้ลด ความกดดันไปได้ทั้งสองฝ่าย
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  2.ฟังให้เป็น ฟังให้มากว่าอีกฝ่ายต้องการอะไร และหากว่าไปแล้วทักษะที่สาคัญจริงๆ ของการเจรจาต่อรองนั้นอยู่ที่การถามให้เป็นและการฟังคาตอบให้ ชัดเจนนักเจรจาต่อรองที่มีทักษะจะเจรจาด้วยกรอบความคิดของคาถาม ที่ดี ซึ่งหากคุณได้เรียนรู้เกี่ยวกับอีกฝ่ายได้ดี ย่อมทาให้คุณได้ข้อมูล ข่าวสารเชิงคุณภาพซึ่งจะนาไปสู่บรรยากาศของการร่วมมือกันได้ดี รู้ถึง ความต้องการและการที่เราจะตอบสนองต่อความต้องการนั้น  3.ให้มีความสร้างสรรค์ ในที่นี้ก็คือการที่รู้จักการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ที่จะทาให้ทุกฝ่าย ได้รับในสิ่งที่ตนต้องการ หลังจากที่ได้ฟังได้รับรู้ปัญหาและความ ต้องการมาแล้วนั่นเอง
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  4.ความอดทน ทุกการเจรจาต่อรองล้วนต้องใช้เวลา โดยเฉพาะหากว่าจะต้องมีการ บุกเบิกอะไรใหม่ๆกับคู่เจรจาจะยิ่งมีความยากลาบากมากขึ้นไปอีกการ ที่จะให้ได้ตามที่แต่ละฝ่ายต้องการ แน่นอนว่าจะต้องมีการพูดคุยกัน หลายหน และก็แน่นอนว่าคู่เจรจาส่วนใหญ่ไม่ได้เจรจาด้วยทัศนคติของ การที่จะให้ประโยชน์ร่วมกันทั้งคู่ แต่มาแบบตั้งลาที่จะให้ได้ประโยชน์ สูงสุด ดังนั้น จึงต้องอดทนและไม่เพียงผลประโยชน์ระยะสั้น แต่ควร เป็นผลประโยชน์ร่วมกันและการที่จะต้องร่วมมือกันต่อไปในระยะยาว  5.การวิจัย ต้องใช้เวลาในการเรียนรู้และศึกษาเพื่อที่จะให้เกิดความเข้าใจอีกฝ่าย เพื่อที่จะทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  6.ความเชื่อมั่น หากคุณแสดงถึงความกลัวจะทาให้อีกฝ่ายมองคุณได้ว่าขาดความเชื่อมั่น และก็พยายามเกทับคุณ ซึ่งท้ายที่สุดอาจนาไปสู่การขาดความเชื่อมั่นใน สินค้าหรือบริการของคุณเลยก็ได้  7.ให้รู้ว่าเมื่อไหร่ควรถอยห่างออกมา ไม่ใช่ทุกการเจรจาต่อรองที่จะจบลงด้วยดี มีไม่น้อยที่ไม่สาเร็จแต่คุณควร ที่จะรู้ก่อนว่าการเจรจาคราวไหนที่ไปไม่รอดและคุณควรที่จะถอยฉาก ออกมา โดยเฉพาะกับจุดการเจรจาที่จะต้องให้ได้(A Must) หากไม่ได้ ตามนี้ย่อมเป็นเครื่องชี้ถึงการที่ต้องถอยออกมาจากการเจรจา
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความล้มเหลวในการเจรจาต่อรองกับต่างประเทศอาจมีด้วยกันในหลาย สาเหตุ เริ่มตั้งแต่ความไม่เข้าใจวัฒนธรรมของอีกฝ่าย เรื่องของเวลา และต้นทุนที่อาจมีจากัด และเรื่องของแนวคิดที่อาจเข้าข้างตนเองมาก ไปว่าอะไรที่ทาได้ในประเทศของตนก็คงจะใช้ได้กับคนทั่วโลก ซึ่ง ความเชื่อดังกล่าวเป็นความเชื่อที่ผิด และหากกล่าวโดยร่วมแล้วอาจ สรุปได้ว่าความล้มเหลวล้วนมาจากขาดความใส่ใจในมิติทางด้าน วัฒนธรรม ดังกรณีของบริษัทปูนซิเมนต์ยักษ์ใหญ่ของไทยที่ประสบ ปัญหาการลงทุนในต่างประเทศแล้วประสบความล้มเหลว ซึ่งได้ ประมวลว่าประเด็นปัญหาหนึ่งก็คือเรื่องของวัฒนธรรมโดยเฉพาะคน ท้องถิ่นและในองค์กรที่ไม่อาจจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 18. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ เพื่อหลีกเลี่ยงความล้มเหลวสิ่งที่ควรทาต่อไปนี้จึงมีความจาเป็น คือ  ควรเรียนรู้ภาษาท้องถิ่นบ้าง อย่างน้อยก็จะช่วยในการคัดเลือกล่ามได้ ดีขึ้น  เรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น รวมทั้งเรียนรู้ว่าวัฒนธรรมนั้นจะจัดการกับ ความขัดแย้งอย่างไร แนวปฏิบัติในทางธุรกิจเป็นอย่างไร รวมทั้ง จริยธรรมในทางธุรกิจ  การเตรียมตัวให้ดีสาหรับการเจรจา นอกเหนือจากการเตรียมตัว ข้างต้นแล้ว ก็จาเป็นที่จะต้องรู้เรื่องที่จะเจรจาอย่างรู้แจ้งตลอด
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ขั้นตอนสาคัญในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ การเจรจาต่อรองข้ามชาติมีความซับซ้อนกว่าการเจรจาต่อรอง ของคนชาติเดียวกัน ด้วยความที่มีความแตกต่างกันทางด้านวัฒนธรรม รวมทั้งความแตกต่างทั้งในด้านของเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมทั้งวิธีปฏิบัติทางธุรกิจที่ไม่เหมือนกันด้วย ถึงแม้ว่าขั้นตอนการ เจรจาอาจคล้ายๆกับการเจรจาต่อรองทั่วไป แต่กล่าวโดยละเอียดใน เนื้อหาแล้วย่อมมีความแตกต่างกัน
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ขั้นตอนสาคัญของการเจรจาต่อรอง มีรายละเอียดดังนี้  ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมตัว การเตรียมตัวให้พร้อมนับว่ามีความสาคัญ เริ่มจากการที่ต้องมี การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่จะมีการเจรจา นอกจากนี้ก็ ควรศึกษาถึงคนหรือบริษัท หน่วยงานที่จะเจรจาต่อรองด้วยเพื่อจะได้รู้ ว่าคู่เจรจาต่อรองเป็นใครเพื่อจะได้วางแนวได้ถูกในกลยุทธ์การเจรจา เพื่อให้การเตรียมตัวเป็นไปอย่างครอบครัว Copeland และ Griggs (1985) รวมทั้ง Salacuse (1991) ให้ข้อเสนอแนะว่าควรพิจารณา ประเด็นสาคัญๆต่อไปนี้เพื่อการเตรียมตัว
  • 21. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ - พิจารณาดูก่อนว่าข้อเจรจานั้นเป็นไปได้ ก่อนที่จะเข้าสู่กระบวนการ เจรจา ควรทบทวนให้มั่นใจว่ามีประเด็น ขอบเขตที่สองฝ่ายพอที่จะตกลงกันได้ - ขอให้รู้ให้แน่ชัดว่าหน่วยงานของคุณต้องการอะไรจากการเจรจา ต้องรู้ ว่าหน่วยงานคาดหวังและหวังว่าจะได้รับการบรรลุเรื่องอะไร และขั้นต่าสุดของการ ยอมรับได้ดีคือะไร ขอให้รู้จักอีกฝ่ายด้วย อย่างน้อยควรทราบว่าหน่วยงานอีกฝ่ายสามารถให้ อะไรบางอย่างที่คุณหรือหน่วยงานคุณต้องการได้ เป้าประสงค์ของอีกฝ่ายคืออะไร และอีกฝ่ายติดต่อต่อรองกับคู่แข่งของเราและอยู่ในจุดที่ได้เปรียบหรือไม่ การจัดเตรียมทีมที่เหมาะสม ผู้เจรจามีความรู้อย่างเหมาะสมโดยเฉพาะใน เชิงเทคนิค มีประสบการณ์ในการเจรจา มีทักษะทางด้านภาษามีความรู้เกี่ยวกับ ประเทศและวัฒนธรรมของอีกฝ่าย การจัดเตรียมให้เป็นทีมเดียวกันและมีอานาจใน การเจรจาต่อรองเพียงใด
  • 22. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ วาระ มีการเห็นชอบวาระร่วมกันหรือยัง วาระจะนาไปสู่การ เจรจาที่ไม่พึงประสงค์ของบริษัท/หน่วยงานหรือไม่ เตรียมตัวการเจรจาต่อรองที่ยืดยาว การหลีกเลี่ยงที่จะไป ยอมรับข้อเสียเปรียบแต่โดยเร็ว ขอให้รู้ว่าเมื่อไหร่ที่ควรจะเลิก แต่ไม่ ควรที่จะบอกอีกฝ่าย สภาพแวดล้อม ทีมมีความคุ้นเคยกับสภาพทางกายภาพของ สถานที่การเจรจาหรือไม่ ทีมจะไปถึงเมื่อไร และต้องการสนับสนุน ตรงสถานที่นั้นอย่างไรบ้าง มีความจาเป็นต้องใช้ล่ามหรือไม่ กลยุทธ์ วางแผนกลยุทธ์แต่ก็ขอให้มีความยืดหยุ่นอะไรคือ ประเด็นหลักอะไรคือการเปิดฉาก
  • 23. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ทีมที่จะเจรจาให้ประสบความสาเร็จนั้นไม่เพียงแต่ต้อง เตรียมเนื้อหาสาระการเจรจาให้ดีเท่านั้น แต่ควรที่จะต้องเตรียมตัวให้ มากในการศึกษาวิเคราะห์ให้รู้ถึงวัฒนธรรมและสไตล์การเจรจา ต่อรองของต่างชาติ การเตรียมตัวอาจเริ่มตั้งแต่การหาหนังสือที่ เกี่ยวข้องมาอ่าน อาจต้องจ้างคนที่รู้เรื่องประเทศนั้นมาให้การอบรม หรือแม้กระทั่งการลองจาลองสถานการณ์การต่อรองดู
  • 24. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ขั้นตอนที่ 2 การสร้างความสัมพันธ์ หลังจากที่ได้มีการเตรียมตัวขั้นต้นแล้ว ขั้นต่อไปจะยังไม่ เน้นในเชิงการพูดคุยทางธุรกิจ แต่จะให้ความสาคัญกับเรื่องเชิงสังคม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งก็คือผู้เจรจาจะสร้าง ความคุ้นเคยระหว่างกัน การมองเรื่องความคิดเห็น และการดูถึงความ ไว้วางใจกัน สถานที่ในการพบปะสร้างความคุ้นเคยเป็นสถานที่ที่ต่างไป จากสถานที่ที่ใช้ในการเจรจาต่อรองอย่างเป็นทางการ ในกรณีของ ญี่ปุ่น สถานที่ที่จะสร้างความคุ้นเคยจะเป็นภัตตาคาร บาร์และการพา ทัวร์สถานที่ทางวัฒนธรรม
  • 25. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ความสาคัญและระยะเวลาในการสร้างความสัมพันธ์จะมีความแตกต่าง กันไปในแต่ละประเทศ บางประเทศต้องการที่จะสร้างความสัมพันธ์ มากเพราะเห็นว่าการรู้จักกันและความไว้วางใจได้นับเป็นสิ่งสาคัญ ของการที่จะทาธุรกิจด้วยกัน ในขณะที่บางสังคมกลับเห็นว่าการเจรจา ต่อรองทางธุรกิจเป็นเรื่องทางธุรกิจเป็นเรื่องของราคาและเงื่อนไขที่ เป็นที่พอใจมากกว่าจึงอาจให้ความสาคัญกับการสร้างความสัมพันธ์ไม่ มากนัก
  • 26. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ กรณีตัวอย่าง ได้แก่ สหรัฐอเมริกาและเยอรมนี ที่มักจะเข้าสู่ ประเด็นทางธุรกิจโดยเร็ว มีการพูดคุยเรื่องทั่วๆ ไปหรือการสร้าง ความคุ้นเคยระหว่างกันไม่มากนัก และมักจะมองว่าการพูดคุยนอกเรื่องที่ ไม่ใช่ธุรกิจเป็นเรื่องที่เสียเวลาและใช้ทรัพยากรของบริษัทแบบไม่คุ้มค่า การที่ต้องเสียเวลาในการเจรจาต่อรองทางธุรกิจมากไปย่อมมีค่าใช้จ่าย จานวนมาก โดยเฉพาะกับการที่ต้องไปเจรจายังต่างประเทศ นอกจากนี้ สไตล์การเจรจาแบบอเมริกันยังมีการจัดทาข้อตกลงในแบบการกาหนด รายละเอียดและข้อกาหนดที่ชัดเจน จึงไม่รู้สึกว่าจะต้องอาศัย ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลในการที่จะช่วยทาให้อะไรต่ออะไรชัดเจนหรือ อานวยความสะดวกอีกเพราะข้อตกลงได้กาหนดไว้ชัดเจนแล้ว และเห็น ว่าทุกอย่างเป็นข้อตกลงผูกมัดทางกฎหมายของทุกฝ่าย
  • 27. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ในขณะเดียวกันบางวัฒนธรรม เช่น ในเอเชีย วัฒนธรรมไม่ น้อยที่การที่การเจรจาเริ่มต้นด้วยการสร้างความสัมพันธ์และเห็นว่า หัวใจสาคัญของการนาไปสู่การตกลงกันได้ต้องมาจากความคุ้นเคยรู้จัก และไว้วางใจซึ่งกันและกัน การรู้จักกันมีความหมายอาจมากว่าประเด็น ทางธุรกิจที่จะเจรจา ดังนั้นการยอมเสียเวลาเพื่อสร้างความสัมพันธ์จึง ถูกมองว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า อย่างไรก็ตามการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคู่เจรจานับว่าเป็น การสร้างรากฐานในการที่จะพูดคุยติอรองกันและถึงแม้ว่าสังคมนั้นจะ เป็นสังคมปัจเจกชนนิยม เช่น สหรัฐอเมริกา การสร้างความไว้วางใจก็ ยังนับว่าเป็นสิ่งสาคัญ
  • 28. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ขั้นตอนที่ 3 แรกเปลี่ยนข้อมูล ในขั้นตอนนี้คู่เจรจาจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่จาเป็นต่อ การที่จะทาการตกลงกันเป็นรายละเอียดทีเกี่ยวกับงาน โดยทั่วไปทั้ง 2 ฝ่ายจะมีการนาเสนอข้อมูลอย่างเป็นทางการ หากเป็นเรื่องทาง ธุรกิจจะนาเสนอประเด็น เช่น เรื่องของจานวน คุณลักษณะสินค้า และราคา ทั้ง 2 ฝ่ายก็อาจจะมีการนาเสนอข้อเสนอราคาครั้งแรก ซึ่ง ก็เป็นข้อเสนอที่คาดหวังจากข้อตกลง
  • 29. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ในชั้นของการแลกเปลี่ยนข้อมูลนี้ ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ของแต่ละชาติจะเริ่มเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ในชั้นของการ นาเสนอข้อมูล รวมทั้งการเสนอข้อเสนอ (ราคา) ครั้งแรก บาง ประเทศที่เสนอครั้งแรกอาจมีส่วนต่างจากเป้าหมายไม่มากนัก (ไม่ได้โก่งราคามาก) เช่น สหรัฐอเมริกาอาจเสนอราคามากกว่า เป้าหมายที่ต้องการไว้5-10 % การให้ข้อมูลจะมีความสั้นกระชับและ โดยตรงด้วยสื่อต่างๆ ญี่ปุ่นอาจเสนอราคา 10-20 % สูงกว่าเป้าหมาย ที่ตั้งไว้แต่คนญี่ปุ่นจะร้องขอข้อมูลในเชิงเทคนิคอย่างมาก
  • 30. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ แต่ถ้าหากเป็นประเทศกลุ่มอาหรับ อาจเสนอราคาสูงกว่า เป้าหมาย 20-50 % และมุ่งในเรื่องของความสัมพันธ์มากกว่าข้อมูล เชิงเทคนิค สาหรับบางประเทศมีการกาหนดราคาข้อเสนอที่อาจจะ มากคือต้องต่อราคามากซึ่งก็ได้แก่ รัสเซีย ส่วนบางประเทศ เช่น เม็กซิโกมักจะเสนอราคาที่ใกล้กับราคาเป้าหมายเลยทีเดียวแต่ใน เรื่องของข้อมูลที่ต้องการอาจให้น้าหนักน้อยกว่าเรื่องของการสร้าง ความสัมพันธ์เมื่อมีการเสนอราคาขั้นแรกการเจรจาก็จะเริ่มต้นขึ้น และกระบวนการก็จะคืบคลานไปในขั้นต่อไป
  • 31. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ขั้นตอนที่ 4 การโน้มน้าว ในขั้นนี้แต่ละฝ่ายก็จะพยายามที่จะให้อีกฝ่ายหนึ่งเห็นด้วย หรือตกลงกับข้อเสนอของตน จุดนี้ว่าไปแล้วก็คือหัวใจของการ เจรจาต่อรอง ในตอนนี้จะมีการใช้กลวิธีกันทุกรูปแบบ ที่เห็นว่าจะ ทาให้ตนเองได้ประโยชน์ ซึ่งกลวิธีดังกล่าวก็จะสะท้อนถึงมิติทาง วัฒนธรรมของตนที่เป็นปัจจัยผลักดันอยู่เบื้องหลัง ต่อไปนี้คือตัวอย่างของกลวิธีที่มีการใช้กันทั่วไป
  • 32. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  กลวิธีที่เป็นวจนะและอวจนะภาษา John Graham (1985) ได้ระบุถึงกลวิธีที่ใช้ในการเจรจาต่อรอง ที่เป็นทั้งภาษาพูดและที่ไม่ใช่ภาษาพูดที่ใช้กันโดยทั่วไป ดังนี้ • การให้คาสัญญา เช่น หากคุณทาอะไรให้ผมบางอย่าง ผมก็ จะทาอะไรให้คุณบางอย่าง • การคุกคาม คือ หากคุณทาอะไรบางอย่างที่ผมไม่ชอบ ผมก็ จะทาในสิ่งที่คุณไม่ชอบเหมือนกัน • การให้ข้อเสนอแนะ ถ้าคุณทาอะไรบางอย่างตามที่ผม ปรารถนาละก็ สิ่งดีๆจะเกิดขึ้นกับคุณ (แน่ๆ) (เช่น ลูกค้าจะซื้อสินค้า คุณ) • การให้คาเตือน หากคุณทาอะไรบางอย่างที่ผมไม่ชอบ สิ่ง เลวร้ายจะเกิดขึ้นกับคุณ (เช่น บริษัทอื่นจะรู้ว่าคุณไม่อาจทาธุรกิจนี่ได้)
  • 33. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ • การให้รางวัล ผมกาลังจะทาอะไรบางอย่างที่ได้ประโยชน์แก่คุณ (ปราศจากเงื่อนไข) • การทาโทษ ผมจะทาอะไรบางอย่างที่คุณไม่ชอบปราศจากเงื่อนไข (เช่น ยุติการเจรจาต่อรองทันที) • การโอดครวญ เช่น นี่คือวิธีการทาธุรกิจ/หรือไม่ทาธุรกิจแบบนี้ที่นี่ (เช่น คุณควรจะเรียนรู้ว่าญี่ปุ่นเขาทาธุรกิจกันแบบนี้) • การมีพันธะ ผมยินดีจะทาอะไรบางสิ่งเป็นการเฉพาะ (เช่น ส่งของให้ ทันในเวลาที่กาหนด) • การเปิดเผยตัวตน ผมจะบอกอะไรคุณบางอย่างเกี่ยวกับตัวผมเองหรือ เกี่ยวกับบริษัทของผม เพื่อแสดงให้เห็นว่าทาไมถึงจาเป็นที่จะต้องปิดการเจรจาให้ ได้ • การตั้งคาถาม ผมขอถามคุณบางอย่างเกี่ยวกับบริษัทหรือเกี่ยวกับตัว คุณ • การออกคาสั่ง นี่คือคาสั่งที่คุณต้องปฏิบัติตาม • การปฏิเสธ พูดแต่คาว่าไม่ • การขัดจังหวะ มีการพูดในขณะที่อีกฝ่ายพูด
  • 34. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ นอกจากวจนะภาษาแล้ว อวจนะภาษาก็มีอิทธิพลต่อการเจรจา การสื่อสารที่ไม่ใช้พูดหรือภาษาท่าทางภาษากาย เป็นเครื่องแสดงออก ได้อย่างหนึ่ง ลองดูตัวอย่างของการใช้มือหรือหน้าตาออกท่าทางก็ พอจะมองออกได้ถึงอาการของอีกฝ่ายว่าเห็นด้วย คล้อยตามหรือไม่ เห็นด้วยกับข้อเสนอหรือคาพูดของเราได้เรื่องท่าทางภาษายังเกี่ยวข้อง กับความรู้สึกของแต่ละวัฒนธรรม บางวัฒนธรรมการยืนพูดคุยกัน แบบใกล้ชิดดูจะเป็นการให้เกรียติไว้วางใจกัน แต่กับบางวัฒนธรรมจะ มีระยะห่างในการพูดคุยระหว่างคน 2 คน ที่ค่อนข้างกว้าง (เกือบเมตร) จะทาให้รู้สึกสบายๆผ่อนคลาย สถานการณ์ดังกล่าวหากอีกฝ่าย ไม่ ทราบก็อาจทาให้เกิดอาการอึดอัดขึ้นมาได้
  • 35. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ภาษาท่าทางใช่ว่าจะต้องมีการแสดงออกเสมอไป การนิ่งเงียบก็ทาให้มี การตีความหมายต่างออกไป กรณีคนญี่ปุ่นที่มักจะนิ่งเงียบในที่ประชุม ทาให้บาง วัฒนธรรม เช่น สหรัฐอเมริกาที่ชอบการโต้ตอบพูดคุยฉับพลัน อาจรู้สึกอึดอัดและ อาจคิดเอาว่าญี่ปุ่นอาจไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอ แต่อันที่จริงในขณะนั้นญี่ปุ่นอาจ กาลังใช้ความคิดในการไตร่ตรองอยู่ก็เป็นได้ และถ้าหากอีกฝ่ายพยายามทาลาย ความเงียบด้วยการพูดอะไรเพิ่มเติมเข้าไปอีกอาจทาให้คนญี่ปุ่นที่กาลังคิดสับสน หรือลังเลใจในการคิดอะไรบางอย่างอยู่ คนเอเชียก็จะมีอาการนิ่งเงียบกันไม่น้อยในการสื่อออกไป อย่างผล การศึกษาพบว่าในครึ่งชั่วโมงคนญี่ปุ่นอาจหยุดนิ่งถึง 5 ครั้งที่นาน 10 วินาทีหรือ ยาวกว่า ซึ่งก็จะมากกว่าสหรัฐอเมริกาถึง 2 เท่า ในขณะที่บราซิลแทบไม่ปล่อยให้ ว่างมากเกินกว่า 10 วินาที จะต้องมีเรื่องพูดแล้ว (Graham,1985)
  • 36. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  วิธีการสกปรกในการเจรจาต่อรอง ด้วยการที่ทุกคนต้องการที่จะให้ได้รับชัยชนะ ได้เปรียบในการต่อรอง จึงมีการใช้กลวิธีทุกรูปแบบ บางกลวิธีดูจะเป็นที่ยอมรับ แต่ก็มีไม่น้อยที่ใช้กลวิธี แบบสกปรกซึ่งบางวัฒนธรรมอาจเห็นว่าเป็นที่ยอมรับได้ แต่อีกฝ่ายอาจมองว่า เป็นการไม่เหมาะสม ไม่ยุติธรรม ดูเหมือนว่าเราแทบจะหลีกเลี่ยงไมได้กับการเผชิญกับกลวิธีต่างๆที่แต่ ละวัฒนธรรมมีความแตกต่างกันในปทัสถานและค่านิยม จึงอาจมีระดับของการ ยอมรับในกลวิธีที่ไม่เหมือนกัน ตัวอย่างต่อไปนี้ที่มีการใช้กัน (บางอันถูกมองว่าเป็นวิธีสกปรก) พร้อม ทั้งมีวิธีการโต้ตอบอยู่ด้วย (Adler 1991,Fisher and Ury 1981,Kublin1995) ได้แก่
  • 37. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ - หลอกลวงอย่างจงใจ ผู้เจรจานาเสนอข้อมูลที่ไม่เป็นความ จริงแต่พูดให้แลดูดีหรือเป็นข้อมูลที่จัดทาให้ไป ตัวอย่างเช่น บริษัท A ได้หารือกับบริษัท B นานนับสัปดาห์ ซึ่งอันนี้เป็นส่วนหนึ่งของ กลวิธีสกปรกในแง่ที่เป็นการแกล้งเจรจาเพื่อเป็นการใช้กดดันอีก บริษัทหนึ่ง (C) ที่บริษัท B อาจกาลังเจรจาต่อรองอยู่ การเจรจากับ บริษัท A จึงเป็นการเสแสร้งเพื่อกดดัน B ให้รีบตกลง ตัดสินใจ นั่นเอง
  • 38. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ทางแก้ชี้ไปตรงๆเลยว่าสิ่งที่คุณเชื่อว่ากาลังเกิดขึ้น (ทานองว่าคุณก็รู้ว่ากาลัง ถูกหลอก) - การหน่วงเหนี่ยว คู่เจรจาพยายามรอจนนาทีสุดท้ายที่รู้ว่าอีกฝ่ายกาลัง ได้เวลาที่จะเดินทางกลับหรือกาลังมีเส้นตายบางอย่าง ดังนั้น จึงพยายามผลักดัน ให้เกิดประโยชน์กับฝ่ายตนให้มากที่สุดเป็นการกดดัน  ทางแก้ อย่าเปิดเผยแผนของคุณว่าคุณมีเวลาถึงเท่าไร จะกลับเมื่อไร หากถูก ถาม คุณอาจตอบว่า “ตราบเท่าที่ตกลงกันได้” หรือไม่ก็อาจบอกว่าคุณจะกลับ ไม่ว่าจะตกลงกันได้หรือไม่ก็ตาม - เพิ่มขั้นตอนของอานาจ ผู้เจรจามีการตกลงกันแล้ว แต่ก็เปิดเผยว่า จะต้องนาเรื่องตกลงนี้เสนอผู้ที่มีอานาจให้การอนุมัติเหนือขึ้นไปอีก วัตถุประสงค์ นี้ก็เพื่อที่จะกดดันให้อีกฝ่ายพยายามผ่อนปรนอะไรลงมาให้มากขึ้นไปอีก
  • 39. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ทางแก้ ให้มีการอธิบายให้ชัดเจนก่อนว่ากระบวนการตัดสินใจเป็นอย่างไร ก่อนที่จะมีการเริ่มกระบวนการเจรจาต่อรอง - บทคนดี – คนเลว มีการแบ่งบทกันในทีมให้คนหนึ่งเล่นบทคนที่ พยายามเห็นด้วยและเป็นมิตรกับฝ่ายคู่เจรจา ในขณะที่อีกคนกาหนดให้เล่นบท รุนแรงหรือแบบไม่มีเหตุผล เพื่อให้ 2 คน นี้คอยล่อหลอกอีกฝ่าย เช่น บทคนดี พยายามที่จะช่วยผ่อนปรนให้อีกฝ่าย  ทางแก้ อย่าพยายามผ่อนปรนอะไรให้อีกฝ่ายพยายามละเลย 2 คนนี้ไปเลย แต่ ให้มองที่ผลประโยชน์หรือผลประโยชน์ร่วมเท่านั้น - คุณรวย ผมจน บ่อยครั้งที่คู่เจรจามาจากประเทศกาลังพัฒนามักใช้กล ยุทธ์ของการขอความเห็นใจ ขอลดหย่อนหรือไม่ก็เป็นบริษัทที่เล็กกว่าที่ต้องการ ขอความเห็นอกเห็นใจจากบริษัทใหญ่
  • 40. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ทางแก้ ให้ละเลยประเด็นดังกล่าวไปเลย ขอให้เน้นประเด็นที่จะ เป็นผลประโยชน์ร่วมเป็นสาคัญ - เพื่อนเก่า ผู้เจรจาทาตัวเหมือนกับบริษัทของตนและผู้ เจรจาเป็นผู้ที่คุ้นเคยเป็นมิตรกันมานาน ดังนั้น หากอีกฝ่ายจะปฏิเสธ อะไรก็ขอให้คานึงถึงความรู้สึกความเป็นมิตรที่ผ่านมา  ทางแก้ ให้ถอยห่างจากเรื่องเชิงจิตวิทยาและให้คานึงถึง ธรรมชาติที่แท้จริงของความสัมพันธ์มากกว่าเรื่องเฉพาะหน้า
  • 41. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ถึงแม้ว่าในการเจรจาต่อรองจะมีการใช้กลวิธีแบบสกปรก แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านนี้ได้ให้ข้อแนะนาไว้ว่า ประการแรกคือ การ หลีกเลี่ยงที่จะใช้กลวิธีสกปรกนั้นเสียเอง ประการที่สอง ชี้ให้อีก ฝ่ายเห็นไปเลยว่ากาลังใช้วิธีการที่ว่านั้นอยู่แบบว่ารู้ทันจะช่วยให้อีก ฝ่ายพยายามถดถอยลง ประการที่สี่ ขอให้ตระหนักว่าระบบ จริยธรรมมีความแตกต่างกันไปแต่ละวัฒนธรรมและทาความเข้าใจ ว่าอีกฝ่ายอาจไม่ได้รู้สึกว่ากาลังทาผิดหรือไม่ถูกต้องตามทานองครองธรรม จริงๆหรือไม่รู้ตัว
  • 42. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ขั้นตอนที่ 5 การผ่อนปรน ก่อนที่จะเข้าไปสู่ขั้นสุดท้ายของการตกลงกันได้ ก็จะต้องผ่านขั้นตอน ที่แต่ละฝ่ายยอมที่จะมีการผ่อนปรนอะไรบางอย่างลงมาไม่ฝ่ายใดก็ฝ่ายหนึ่งหา ไม่แล้วก็คงจะไม่สามารถตกลงอะไรกันได้ โดยทั่วไปแล้วเราจะพบว่าการผ่อน ปรนให้มักจะไปกระทาในจุดที่อาจเรียกได้ว่าไม่ได้มีความสาคัญอะไรมากนัก เพื่อให้ได้เป้าประสงค์ใหญ่ที่ต้องการ สไตล์การให้ผ่อนปรนมีความแตกต่างกันไปในแต่ละวัฒนธรรมว่าไป แล้วไมได้มีสูตรไหนเป็นสูตรสาเร็จ Adler (1991) และ Kublin (1995) ชี้ว่า ประเทศอเมริกาเหนือจะมีการผ่อนปรนแบบว่าต้องแลกเปลี่ยนกัน (Sequential Approach) คือ หากผ่อนปรนอะไรให้อีกฝ่ายก็จะขอให้อีกฝ่ายช่วยผ่อนปรน อะไรบางอย่างเป็นการแลกกันที่นับว่าเป็นปทัสถานของประเทศในแถบนี้
  • 43. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ขั้นตอนที่ 6 ความตกลง ผลสาเร็จของการเจรจาต่อรองก็คือทั้ง 2 ฝ่าย สามารถที่จะทา ความตกลงขั้นสุดท้ายกันได้ด้วยการทาการลงนามในสัญญา ซึ่งต้อง มาพิจารณากันอีกว่าจะใช้รูปแบบหรือระบบกฎหมายกันอย่างไรแบบ ไหน เพราะแต่ละประเทศก็จะมีรูปแบบสัญญาที่แตกต่างกัน แม้กระทั่งการเรียกชื่อเอกสารสัญญาก็ยังไม่เหมือนกันและเข้าใจไม่ ตรงกันก็เกิดขึ้นได้บ่อยๆ
  • 44. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ สิ่งที่สาคัญที่สุดก็คือแต่ละประเทศและวัฒนธรรมจะมีความแตกต่าง กันในเชิงวัฒนธรรมอย่างไรก็ตามแต่ก็ควรจะเข้าใจในหลักกฎหมายพื้นฐาน เงื่อนไขข้อกาหนดที่เป็นหลักสากล ไม่ว่ารากฐานทางกฎหมายของประเทศตนจะ เป็นอย่างไรก็ตาม แต่ละประเทศจะมีแนวคิดในการทาข้อตกลงที่ไม่เหมือนกันโดยมี แนวคิดหลักๆ คือ การทาข้อตกลงที่ระบุกว้างและทั่วไป ( General Agreement) กับที่ชอบให้ระบุรายละเอียดมากกว่า ทั้งนี้กรณีตัวอย่างบางประเทศที่มีการทา ข้อตกลงแบบเน้นหนักการกาหนดทั่วๆ ไป ไปจนถึงประเทศที่ชอบกาหนด เฉพาะและมีรายละเอียดจะเรียงลาดับได้ดังนี้ คือ ญี่ปุ่น เยอรมนี อินเดีย ฝรั่งเศส จีน อาร์เจนติน่า บราซิล สหรัฐอเมริกา ไนจีเรีย เม็กซิโก สเปน และอังกฤษ เป็น ต้น (Salacuse, 1998)