SlideShare a Scribd company logo
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
135-402 Cross-Cultural Management
หัวข้อที่ 12
การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่ต่างกัน
การเจรจาต่อรองข้ามวัฒนธรรม
ข้อพิจารณาในการเจรจาต่อรองข้าม
วัฒนธรรม
1. คนเจรจาต่อรอง และสถานการณ์ >> การเลือกบุคคล
เจรจา
2. รูปแบบการตัดสินใจ
3. ลักษณะของแต่ละชาติ >> วิธีการเจรจา
4. การเลือกสถานที่ วัน เวลา เจรจา >>สภาพแวดล้อม
การเจรจา
5. การเลือกภาษา การใช้ล่ามและการแปล
ตัวแปรซึ่งส่งผลต่อการเจรจาต่อรอง
1. แนวคิดเบื้องต้นของกระบวนการเจรจาต่อรอง
แบบกลยุทธ์ ( Strategy) -ช่วงชิง กับ แบบทวีคูณ
(Synergistic) -ร่วมมือ
2. หลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้เจรจา แต่ละวัฒนธรรมจะใช้
เกณฑ์แตกต่างกัน ในการกาหนดเกณฑ์ด้าน
ประสบการณ์ ความอาวุโส สายสัมพันธ์ทางการเมือง
เพศ เชื้อชาติ เครือญาติ ความรู้ทางเทคนิค บุคลิกภาพ
3. ความสาคัญของประเภทของประเด็น โดยทั่วไปจะเน้น
การควบคุมการใช้ทรัพยากร การแลกเปลี่ยน
ผลประโยชน์ การต่อรองในอนาคต
4. พิธีรีตอง แบบเป็นทางการ กับ แบบไม่เป็นทางการ
5. ความซับซ้อนของภาษา การสื่อความหมาย ระยะห่าง
การสบสายตา ท่าทาง ความเงียบ
6. ธรรมชาติของการโน้มน้าว โต้เถียง พยายามมีอิทธิพล
เหนือกว่าคู่เจรจาโดยใช้หลักตรรกะ ใช้อารมณ์
7. บทบาทของแต่ละคนที่ต้องผลักดัน เพื่อการบรรลุ
เป้าหมายและความต้องการ อาจต้องใช้ผู้มี
ความสามารถต่อรองแบบแข็งกร้าว
8. ฐานะของความไว้วางใจ อาจเป็นด้วยการมีกฎหมาย
รองรับ การมีมิตรภาพระหว่างกัน ความนับถือกัน
9. ความเสี่ยง พวกที่มีความระมัดระวังสูง ไม่ชอบเสี่ยง
กับ พวกชอบความเสี่ยง
10.คุณค่าเรื่องเวลา ความต่างในการให้ความสาคัญใน
เรื่องเวลา การตรงต่อเวลานัดหมาย
11.ระบบการตัดสินใจ แบบใช้อานาจรวบรัด กับ แบบที่
ต้องการฉันทามติ
12.รูปแบบของสัญญา เป็นลายลักษณ์อักษร กับ ตกลง
กันด้วยวาจา
แนวคิด รูปแบบ และกลยุทธ์การเจรจา
ต่อรองข้ามวัฒนธรรม
แนวคิดเกี่ยวกับการเจรจาต่อรองข้าม
วัฒนธรม
• การหาทางออกในปัญหาร่วมกัน อย่างเป็นที่ยอมรับ
• อาจมีทั้งการต่อรอง (Bargain) การแลกกัน (Trade-
offs) การประนีประนอมกัน
• ผลลัพธ์มักออกมาในรูปของการได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
(Win-Win)
สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันในการเจรจา
ต่อรอง
• ความแตกต่างสภาพเศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย สังคม
และวัฒนธรรม
• ผู้นาทางการเมือง ศาสนา ชนกลุ่มน้อย เป็นปัจจัยที่
ส่งผลกระทบต่อการเจรจาได้ทั้งสิ้น
• วัฒนธรรมเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อกำรเจรจำ
 อุดมกำรณ์ที่แตกต่ำง
 ควำมแตกต่ำงในศำสนำและชำติพันธุ์
รูปแบบการเจรจาต่อรอง
• การเจรจาต่อรองแบบกระจาย (Distributive
Negotiation) : Zero-Sum Game
• การเจรจาต่อรองแบบรวม (Integrative Negotiation) :
Win-Win
กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง
• กลยุทธ์การเจรจาต่อรองเชิงแข่งขัน (Competitive
Negotiating Strategy)
• กลยุทธ์การเจรจาต่อรองแบบการแก้ปัญหา (Problem-
Solving Negotiating Strategy)
ประเด็นที่ต้องคานึงถึงในการเจรจาต่อรอง
ระหว่างประเทศ
• การอ่านท่าทีไม่ออกทาให้เกิดความเข้าใจผิดไป
• ปทัสถานและค่านิยมทางวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ มีผลต่อ
พฤติกรรมของผู้เจรจา
• ผู้เชี่ยวชาญแนะนาว่าควรใช้กลยุทธ์การเจรจาต่อรองแบบ
แก้ปัญหา เพราะจะนาไปสู่ข้อตกลง ความสัมพันธ์ระยะยาว และ
ความเข้าใจอันดีต่อกัน
• การเจรจาต่อรองในกลุ่มวัฒนธรรมเดียวกันจะไม่มีปัญหาในเรื่อง
ของกระบวนการ แต่การเจรจาข้ามวัฒนธรรมจะทาให้
กระบวนการมีความสาคัญตามมา
ลักษณะประจาชาติและการเจรจาต่อรอง
วัฒนธรรมที่แตกต่างกับกลยุทธ์การเจรจาต่อรอง
วัฒนธรรมที่แตกต่างกับกลยุทธ์การเจรจาต่อรอง ตัวอย่าง
5 ประเทศ
• 1. สหรัฐอเมริกา
• 2. อังกฤษ
• 3. อาหรับ
• 4. ญี่ปุ่น
• 5. จีน
1.สหรัฐอเมริกา
• รากฐานของสหรัฐอเมริกาคือมหาอานาจทาง
เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม
• นิยามเกี่ยวกับคนอเมริกา :ผู้เต็มไปด้วยความคิด
• ตระหนักเรื่องเวลา มุ่งมั่นหาเงินเพื่อความร่ารวย
อย่างรวดเร็ว
การติดต่อเจรจากับคนอเมริกัน
• การเจรจาต่อรองกับนักธุรกิจอเมริกันไม่ยุ่งยาก คน
อเมริกันไม่ชอบทาอะไรให้ยุ่งยากซับซ้อน
• ที่สาคัญเป้าหมาย คือทาเงินให้ได้มากและเร็วที่สุด
พฤติกรรมของคนอเมริกันในการประชุม
- มีลักษณะของปัจเจกบุคคล ชอบตัดสินใจคนเดียว
- มักสร้างบรรยากาศความเป็นกันเองทันที
- ใช้อารมณ์ขันในการพูดคุยเมื่อมีโอกาส
- ชอบเสี่ยง แต่ก็มีแผนการเงินที่ชัดเจน
- เวลาเป็นเงินเป็นทอง ไม่รีรอช้า
- มีความแน่วแน่ไม่เปลี่ยนใจง่าย
2.อังกฤษ
เป็นคนที่มีหลักการ ยืนกรานในความยุติธรรม
และมีความรักสัตว์
จะติดต่อปฏิสัมพันธ์กับคนอังกฤษอย่างไร
คนอังกฤษถือชนชั้น เมื่อต้องติดต่อสัมพันธ์ต้องดูว่า
เป็นคนภาคไหน (พวกที่อยู่ทางตอนเหนือขึ้นไปซึ่งเป็น
พวกสกอตแลนด์และเวลส์จะแบ่งชนชั้นน้อยกว่าพวก
ทางใต้ )
ในการประชุมทางธุรกิจ
- คนอังกฤษจะมีท่าทางไปในแบบมีพิธีการมากในตอน
เริ่มแรก
- การมีอารมณ์ขันในระหว่างเจรจาธุรกิจถือเป็นสิ่ง
สาคัญ
3.อาหรับ
คนตะวันตกกับอาหรับมีมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับ
ความถูกผิด ความดีกับความเลว
การทาธุรกิจกับคนอาหรับ
- ต้องให้ความสนใจเป็นรายตัวบุคคล
- มีการใช้ช่องทางความสัมพันธ์และอิทธิพลส่วนตัว
ในทางใดทางหนึ่ง อาจผ่านทางตาแหน่งทางการ
เมืองที่มีอิทธิพลต่อธุรกิจ
การติดต่อทางภาษากับคนอาหรับเป็นสิ่งที่ลาบากอยู่บ้าง
- หากคุณวางตัวแบบขี้อายและเงียบไปหน่อยอาจไม่
เป็นผลดี
- หากคุณเงียบไปนั้นอาจถูกตีความจากคนอาหรับว่า
เกิดอะไรผิดปกติขึ้นหรือเปล่า
อาหรับให้การยอมรับสาหรับการตกลงเป็นลายลักษณ์
อักษร และโดยเฉพาะการเขียนที่อ้างถึงศาสนา
4.ญี่ปุ่น
- ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีความแตกต่างในเรื่องวัฒนธรรม
อยู่มาก
- ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวอาจมาจากสาเหตุหลัก
ใน 3 ประการ คือ ประวัติศาสตร์ ความหนาแน่นของ
ประชากร และภาษาญี่ปุ่น
สังคมญี่ปุ่นเป็นสังคมที่มีเครือข่ายโยงใย สมาชิก
ของกลุ่มขึ้นแก่กันทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง มีทั้ง
พันธะหน้าที่ในสังคมและศีลธรรม ซึ่งทั้งหมดเริ่มต้น
ตั้งแต่เกิด
บรรยากาศและการปฏิบัติในทางธุรกิจ
o ในสังคมญี่ปุ่นซึ่งเป็นสังคมแบบเครือข่าย ผู้บริหารรู้ว่าต้อง
วางตัวอย่างไรต่อผู้ที่อยู่เหนือกว่า ต่ากว่า หรือระดับเดียวกัน
o การแลกเปลี่ยนนามบัตรเป็นวิธีที่นิยมกันในญี่ปุ่น และคน
ญี่ปุ่นให้ความสาคัญ
o คนตะวันตกอาจทาการในฐานะตัวบุคคล ในขณะที่ญี่ปุ่นจะทา
การใดก็จะทาในนามบริษัท
o คนญี่ปุ่นค่อนข้างจะแต่งตัวแบบเป็นทางการอย่างสุภาพ
เต็มที่ในแทบทุกวาระและโอกาส
ลักษณะการเจรจาต่อรองของคนญี่ปุ่น
– คนญี่ปุ่นเจรจาเป็นทีม
– ทีมญี่ปุ่นมักจัดให้มีจานวนเหนือกว่าอีกฝ่าย
– การถามเป็นการรวบรวมข้อมูล ไม่ใช่เป็นการตัดสินใจ
– การตัดสินใจจะทากันโดยความเห็นพ้องต้องกันในนามของ
บริษัท
– การตัดสินใจทั้งหลายมักจะไม่เกิดขึ้นในการประชุมครั้งแรก
หรือครั้งที่สอง ส่วนใหญ่จะนานกว่านั้น
– อาจเลิกการเจรจาหากอีกฝ่ายไม่อดทน หรือไม่ทาตามแบบพิธี
ที่ถูกต้อง
– ไม่เคยพูดคาว่า “ไม่” ไม่เคยปฏิเสธใครโดยตรง ไม่ละเลิก
เจรจาตราบใดที่ยังมีความสามัคคีอยู่
ข้อสาคัญในการทาธุรกิจกับคนญี่ปุ่น
- หากต้องพบปะกับคนญี่ปุ่นแบบเป็นกลุ่ม ควรแนะนาตัวหรือพูด
เริ่มต้นกับผู้อาวุโสก่อน
- ไม่ควรที่จะขอไปพบที่บ้าน เพราะนักธุรกิจที่สาคัญๆไม่น้อยอาศัย
อยู่ในอพาร์ตเม้นเล็กๆ
- สิ่งสาคัญที่ควรจาไว้คือ คนญี่ปุ่นทาธุรกิจกันอย่างสมัครสมาน
โดยมักจะไม่วิจารณ์อีกฝ่ายให้หรือบุคคลที่สามให้ได้ยิน
- คุณควรจะกล่าวขอโทษหากมีการหยาบคายไปบ้างในการใช้
คาพูดหรืออาจเป็นกรณีอื่นที่เป็นการต้อนรับหรือข้อผิดพลาดใด
อันเกิดจากตัวคุณ
5.จีน
อิทธิพลที่ยิ่งใหญ่มีผลต่อค่านิยมและแนวปฏิบัติของ
คนจีน ก็คือลัทธิขงจื๊อที่มีมานับพันปี
ความสัมพันธ์ระหว่าง 5 สิ่ง
1. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้ใต้ปกครอง
2. ความสัมพันธ์ระหว่างบิดากับบุตร
3. ความสัมพันธ์ระหว่างพี่กับน้อง
4. ความสัมพันธ์ระหว่างสามีกับภรรยา
5. ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน(อาวุโส) กับเพื่อน(วัย
เยาว์)
ความเชื่อต่างๆของคนจีนที่ส่งผลต่อ
วัฒนธรรมเชิงธุรกิจ
- มีระยะห่างของอานาจสูง
- ยอมรับในความไม่เท่าเทียมกัน
- อายุที่สูงขึ้นนามาซึ่งความมีอาวุโสกว่า
- สิทธิพิเศษมีสาหรับผู้บริหารหรือผู้มีชื่อเสียง
- ความสัมพันธ์ส่วนตัวมีความสาคัญมากกว่างาน
- มองความสัมพันธ์ไปข้างหน้าอย่างยาวนาน
การเจรจาต่อรองกับคนจีน
- ชอบให้มีการประชุมอย่างเป็นทางการ
- การจัดที่นั่งจะเรียงตามลาดับขั้นของการมีอานาจ
- ผู้ที่อาวุโสกว่าจะได้รับการนับถือและความสนใจ
ตลอดเวลา
- ผู้ที่ทาหน้าที่ในการตัดสินใจที่แท้จริงก็คือระดับรอง
ประธาน
- การตัดสินใจที่แท้จริงเกิดขึ้นภายนอกห้องประชุม ซึ่งห้อง
ประชุมมักจะใช้เป็นสถานที่รวบรวมข้อมูลมากกว่า
- กระบวนการในการตัดสินใจใช้เวลานาน
การเจรจาต่อรองเปรียบเทียบ
การทาสัญญา
• คนอเมริกัน อังกฤษ เยอรมัน สวิตเซอร์แลนด์ ยึดถือ
การทาสัญญาที่ลงนามกันเป็นสิ่งสุดท้ายของการเจรจา
• ญี่ปุ่นไม่ชอบ แต่อยากให้มีการต่อรองรายละเอียดกัน
ต่างหาก
การประนีประนอม
• เมื่อการเจรจาต่อรองไปถึงทางตัน วัฒนธรรมที่
แตกต่างจะมีทางออกต่างกันไป
–คนอาหรับอาจปลีกตัวไปสวดมนต์และกลับมาด้วย
ท่าทีใหม่
–คนสวีเดนอาจชวนอีกฝ่ายออกไปดื่ม แต่หากอยู่
ภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง อาจมีการ
ประนีประนอมมากขึ้น
ตรรกะ
• คนฝรั่งเศสยึดหลักความจริงในการเริ่มต้นการอภิปราย
• ญี่ปุ่นไม่ชอบที่จะมาแสดงความฉลาดให้เห็นต่อหน้า
สาธารณะ
• คนอเมริกันชอบที่จะเป็นตัวกระตุ้นและพร้อมที่จะ
เคลื่อนไหวแรกเริ่มก่อน
ไม่ใช่ภาษาพูด
ภาษาพูดอาจใช้ถึง 80-90% แต่อาจจะสื่อได้เพียง 20%
หรือน้อยกว่า
ความเงียบ
การนิ่งฟังก็ถือเป็นส่วนสาคัญในกระบวนการเจรจา
ต่อรอง ความเงียบเหมือนกับการปกป้องตัวเอง ความ
เป็นส่วนตัว และยังเหมือนกับการนับถือผู้อื่นด้วย
ภาษากาย
สีหน้าที่แสดงออกและเสียงดังนับเป็นวัฒนธรรมส่วน
หนึ่งที่อาจสร้างความรบกวนขึ้นได้
• ทีมสเปนอาจถกเถียงกันอย่างรุนแรงขณะที่อีกฝ่ายกาลัง
นาเสนออะไร
• คนญี่ปุ่นคิดว่าอีกฝ่ายกาลังทะเลาะกัน
ระยะห่าง
ระยะห่างก็มีส่วนสาคัญของแต่ละชาติ
• เยอรมันส่วนใหญ่ ควรจะมีระยะห่าง 1.2 เมตรสาหรับ
คนแปลกหน้า และสาหรับคนคุ้นเคยก็อาจประมาณ 50
เซนติเมตร
ตา
เป็นส่วนหนึ่งที่แสดงออกได้มากที่สุดของอารมณ์
• ในสภาพสังคมแบบพหุวิถี คนสบตากันมากเวลาพูด
เห็นได้จากคนสเปน กรีซ และกลุ่มอาหรับ
ภาษาในทางธุรกิจ
มีการอบรมพนักงานขายกันมากในเรื่องนี้ เพื่อสังเกต
ลูกค้าว่ามีท่าทางอย่างไร
• คนลาตินชอบที่จะให้คนขายอยู่ใกล้ชิด
บรรณานุกรม
52
• บรรจง อมรชีวิน. CROSS-CULTURE วัฒนธรรมข้ามชาติกับการ
บริหารและการเจรจาต่อรอง. บริษัท ส. เอเซียเพรส (1989), 2547.
• บรรจง อมรชีวิน. การตลาดข้ามวัฒนธรรม. สำนักพิมพ์ MDI,
2549.
กำรจัดกำรและพฤติกรรมต่ำงวัฒนธรรมหัวข้อที่ 3

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
Teetut Tresirichod
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
Teetut Tresirichod
 
Chapter 6 language and cross cultural communication
Chapter 6 language and cross cultural communicationChapter 6 language and cross cultural communication
Chapter 6 language and cross cultural communication
Teetut Tresirichod
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
Wilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
Ornkapat Bualom
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง    ความหลากหลายเรียงความเรื่อง    ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายMim Papatchaya
 
บทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจบทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจ
TK Tof
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
krupeem
 
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรองบทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
Teetut Tresirichod
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptapple_clubx
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Wilawun Wisanuvekin
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
พัน พัน
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp universitythammasat university
 
1 อิศรญาณภาษิต ok
1 อิศรญาณภาษิต  ok1 อิศรญาณภาษิต  ok
1 อิศรญาณภาษิต ok
กึม จันทิภา
 
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differencesChapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Teetut Tresirichod
 

What's hot (20)

บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
Chapter 6 language and cross cultural communication
Chapter 6 language and cross cultural communicationChapter 6 language and cross cultural communication
Chapter 6 language and cross cultural communication
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง    ความหลากหลายเรียงความเรื่อง    ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
 
บทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจบทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจ
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรองบทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
1 อิศรญาณภาษิต ok
1 อิศรญาณภาษิต  ok1 อิศรญาณภาษิต  ok
1 อิศรญาณภาษิต ok
 
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differencesChapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
 

Viewers also liked

135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
Wannarat Wattana
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
Wannarat Wattana
 
135 402 cross-cultural management10 วัฒนธรรมกับการสร้างทีมงาน
135 402 cross-cultural management10 วัฒนธรรมกับการสร้างทีมงาน135 402 cross-cultural management10 วัฒนธรรมกับการสร้างทีมงาน
135 402 cross-cultural management10 วัฒนธรรมกับการสร้างทีมงาน
Wannarat Wattana
 
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013stiu
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลsupatra39
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
Teetut Tresirichod
 
Project - International Management Challenges in Thailand
Project - International Management Challenges in ThailandProject - International Management Challenges in Thailand
Project - International Management Challenges in ThailandAudry Chan
 
การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบัน ป.2+531+54his p02 f13-4page
การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบัน ป.2+531+54his p02 f13-4pageการสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบัน ป.2+531+54his p02 f13-4page
การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบัน ป.2+531+54his p02 f13-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
135 402 cross-cultural management15 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management15 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม135 402 cross-cultural management15 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management15 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
Wannarat Wattana
 
135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง
Wannarat Wattana
 

Viewers also liked (12)

135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
 
America
AmericaAmerica
America
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
 
135 402 cross-cultural management10 วัฒนธรรมกับการสร้างทีมงาน
135 402 cross-cultural management10 วัฒนธรรมกับการสร้างทีมงาน135 402 cross-cultural management10 วัฒนธรรมกับการสร้างทีมงาน
135 402 cross-cultural management10 วัฒนธรรมกับการสร้างทีมงาน
 
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
Project - International Management Challenges in Thailand
Project - International Management Challenges in ThailandProject - International Management Challenges in Thailand
Project - International Management Challenges in Thailand
 
การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบัน ป.2+531+54his p02 f13-4page
การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบัน ป.2+531+54his p02 f13-4pageการสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบัน ป.2+531+54his p02 f13-4page
การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบัน ป.2+531+54his p02 f13-4page
 
135 402 cross-cultural management15 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management15 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม135 402 cross-cultural management15 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management15 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
 
135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management14 จริยธรรมฯภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง
 

135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง