SlideShare a Scribd company logo
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
Geert Hofstede (1980,1991) ได้ศึกษาถึง
ความแตกต่างของวัฒนธรรมของแต่ละชาติในช่วงทศวรรษ
1980 โดยตัวแบบวางอยู่บนรากฐานของความแตกต่างในเรื่อง
ของค่านิยม(values) และความเชื่อ(Believes) ที่
เกี่ยวเนื่องเป้ าประสงค์ของการทางาน
1. ระยะห่างของอานาจ (Power Distance)
2. การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน (Uncertainty
Avoidance)
3. ปัจเจกชนและกลุ่ม (Individualism Vs
Collectivism)
4. การมุ่งงานหรือมุ่งคน (Masculinity Vs
Femininity)
5. การมุ่งระยะยาว (Long-term Orientation)
สังคมที่มีระยะห่างมากจะมีลักษณะของการยอมรับในการควบคุมและ
ยอมรับในคนที่มีอานาจมากกว่า ในขณะที่สังคมที่มีระยะห่างของอานาจน้อยกว่าจะ
มองว่าอานาจเป็นเพียงเครื่องมือหนึ่งของกระบวนการบริหารและการตัดสินใจ
1)ปทัสถานของผู้ที่เหนือกว่า (หัวหน้า ผู้นา ..) ที่จะได้ว่าเขาจะพิจารณา
พฤติกรรมลูกน้องในลักษณะใด
2)ค่านิยมและความเชื่อของผู้ที่เหนือกว่าและผู้ใต้บังคับบัญชามีความ
แตกต่างกันอย่างไร ประเทศที่มีระยะห่างของอานาจมาก จะมีปทัสถาน ค่านิยม และ
ความเชื่อดังตัวอย่างต่อไปนี้
• ความไม่เท่าเทียมกันเป็นสิ่งดี
• ทุกคนมีตาแหน่งที่ของตน บางคนสถานะสูง บางคนสถานะต่า
• ทุกคนควรพึ่งพิงอยู่กับผู้นา
• คนที่มีอานาจย่อมจะเป็นผู้มีสิทธิพิเศษนี้
• ผู้มีพลังอานาจต้องใช้ออกมาไม่ปิดบัง
ระยะห่างน้อย ระยะห่างมาก
• ระดับเฉลี่ยการพี่งพิงต่า • ต้องการการพึ่งพิงสูง
• ความไม่เท่าเทียมในสังคมลดน้อยลง • มีลาดับความไม่เท่าเทียม
• ระดับความไม่เท่าเทียมในบทบาทมีเพื่อความสะดวก • ลาดับการบังคับบัญชาคือ ความไม่เท่าเทียมที่เป็นอยู่
• ผู้บังคับบัญชาพบได้ง่าย • ผู้บังคับบัญชาพบได้ยาก
• ทุกคนมีสิทธิ์เท่าเทียมกัน • คนมีอานาจ มีสิทธิพิเศษ
• หนทางการเปลี่ยนสังคมด้วยการกระจายอานาจ(วิวัฒนาการ) • การเปลี่ยนสังคมคือการโค่นล้มผู้มีอานาจ (ด้วยการปฏิวัติ)
• ความสาเร็จมาจากการศึกษา • ได้มาจากชนชั้นทางสังคมที่สูงกว่า
• มีอิสระ • ทาตามรูปแบบ เชื่อฟัง
• การประเมินที่ผลงาน • ดูที่ความวางใจ
• ค่าตอบแทนระหว่างผู้บริหาร/พนักงานไม่ต่างกัน • มีความแตกต่างกัน
• การมีส่วนร่วมสูง • ต้องมีการควบคุมแนะนาใกล้ชิด
• คนชอบที่จะทางาน • คนไม่ชอบทางานหนัก ต้องมีการบังคับ
• การกระจายอานาจ โครงสร้างองค์กรแบบรวม • โครงสร้างแบบพีระมิดทรงสูง
• การกาหนดกลยุทธ์มีความหลากหลาย • กลยุทธ์อาจวางเพื่อเอื้อต่ออานาจผู้นาหรือรัฐบาล
การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนเกี่ยวพันกับเรื่องของ
ปทัสถาน ค่านิยม และความเชื่อ โดยจะมีความอดทนเพียงใดต่อ
ความเคลือบคลุมที่เกิดขึ้น ในสังคมที่หลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนสูง
มีความพยายามที่จะวางระบบโครงสร้างสังคม (การเมือง
การศึกษา และธุรกิจ) ให้มีความเป็นระเบียบ การคาดการณ์ได้
ถือเป็นสิ่งที่สาคัญ และการใช้กฎระเบียบเป็นตัวควบคุมในสังคม
แบบนี้เอง สถานการณ์ที่มีความเสี่ยงจะสร้างความเครียดและทา
ให้คนรู้สึกผิดหวัง คนจึงพยายามหลีกเลี่ยง
 หลีกเลี่ยงความขัดแย้ง
 ไม่อาจทนต่อบุคคลที่เบี่ยงเบนและคิดที่แปลกไป
 กฏหมายเป็นสิ่งสาคัญที่เราควรปฏิบัติตาม
 ผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่มักถูกเสมอ
 ฉันทามติคือสิ่งสาคัญ
การหลีกเลี่ยงต่า การหลีกเลี่ยงสูง
• ผ่อนคลายไม่วิตกกังวล • กังวลและกดดัน
• อารมณ์และความก้าวร้าวไม่แสดงออก • การแสดงออกของอารมณ์/ความก้าวร้าวรับได้
• ความขัดแย้งและการแข่งขันไม่ใช่สิ่งคุมคาม เป็นการสู้อย่างยุติธรรม • ความขัดแย้งและการแข่งขัน นาไปสู่สิ่งที่คาดการณ์ไม่ได้และไม่พึง
ปรารถนา
• ยอมรับในความขัดแย้ง อดทนได้ • ต้องการความเห็นพ้องสูงและไม่อาจอดทนต่อความคิดแตกต่างและบุคคล
ได้
• พร้อมรับความเสี่ยง • ต้องการความมั่นคงมากกว่า
• ให้มีกฎระเบียบน้อยที่สุด • ต้องการกฎระเบียบ กฏหมาย แบบลายลักษณ์
• มองเป้ าหมายเชิงสัมพันธ์/ประจักษ์นิยม • เสาะหาเพื่อผลสูงสุด ความจริงสัจจะในทางศาสนาและวิทยาศาสตร์
• ดูผลงาน, การศึกษา • ความอาวุโส ความภักดี
• การประเมินผลงานตามข้อมูล การสับเปลี่ยนเพื่อเลื่อนตาแหน่ง • ดูความอาวุโสมากกว่าผลงาน
• ไม่มีการกากับทิศทางการทางานมาก ให้มีความยืดหยุ่น • กากับงาน
• กระตุ้นตนเองในการทางาน/การแข่งขัน • คนมองหาความมั่นคง เลี่ยงการแข่งขัน
• เน้นองค์กรขนาดเล็กสายการบังคับบัญชาสั้น ไม่เป็นทางการ กฎระเบียบที่
เป็นลายลักษณ์ไม่มาก
• เน้นองค์กรขนาดใหญ่ สายการบังคับบัญชายาว มีความเป็นทางการสูง มี
กฏระเบียบ กระบวนการมากมาย
• ไม่กลัวความเสี่ยง • ไม่ชอบเสี่ยง
เป็นการพิจารณาในเรื่องของค่านิยม ปทัสถานและความ
เชื่อที่ว่าปัจเจกบุคคลมีความสัมพันธ์กับบุคคลหรือกลุ่มอย่างไร
วัฒนธรรมปัจเจกชนจะมองว่าคนมีความแตกต่างกัน โดยมีคุณค่า
อยู่ที่ผลงาน ความก้าวหน้า สถานะ และลักษณะพิเศษอื่น ๆ
 ประชาชนแต่ละคนจะรับผิดชอบตัวเอง
 แต่ละคนขึ้นกับความก้าวหน้าความสาเร็จเป็นหลัก
 คนไม่จาเป็นต้องมีอารมณ์ที่ขึ้นอยู่กับองค์การหรือกลุ่ม
 ความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคลอยู่บนฐานของการเป็นสมาชิกเชิงกลุ่ม
 การตัดสินใจของกลุ่มถือว่าดีที่สุด
 กลุ่มจะช่วยปกป้ องแต่ละคนเพื่อแลกให้ดได้มาซึ่งความภักดีที่แต่ละคนจะมีต่อกลุ่ม
วัฒนธรรมแบบกลุ่ม แบบปัจเจกชน
• มีความรู้สึกว่าเรา (We) • รู้สึกในฐานะ “ตนเอง” (I)
• ความเห็นเกิดจากกลุ่ม • ความเห็นแต่ละบุคคล
• ดาเนินการโดยผูกพันต่อกลุ่มครอบครัวและสังคม • ดาเนินการเพื่อผลประโยชน์ตนเอง
• การลงโทษ (การเสียหน้า อับอาย) • การลงโทษ (เสียความนับถือเป็นความผิด)
• มาตรฐานค่านิยมแตกต่างกันระหว่างใน – นอกกลุ่ม • มาตรฐานค่านิยมใช้เหมือนกันทั่วไป
• กลุ่มรับผิดชอบต่อความสาเร็จ • แต่ละคนรับผิดชอบความสาเร็จด้วยตนเอง
• เน้นขวัญและความเหนียวแน่นในกลุ่ม • ใช้รางวัลเป็นสิ่งตอบแทนให้แต่ละคน
• การเข้า – ออกจากงานต่า • มีการเข้า-ออกงานสูง
• กาหนดเป้ าประสงค์กลุ่ม • ให้แต่ละคนริเริ่ม
วัฒนธรรมที่แตกต่างกันจะมีความคาดหวังในบทบาทของ
ชายและหญิงที่ไม่เหมือนกันในแทบทุกวัฒนธรรมเราพบว่าชาย
และหญิงจะได้รับบทบาทที่แตกต่างกัน ผลของการศึกษาจานวน
มากชี้ว่าผู้ชายจะมีการเน้นและการกระตุ้นการนาไปสู่ความสาเร็จ
และให้พึ่งพิงตนเองได้ ในขณะที่ฝ่ายหญิงกระบวนการทางสังคม
จะเน้นไปที่เรื่องการอบรมเลี้ยงดูและก็เรื่องความรับผิดชอบ
 มีการแยกบทบาทของเพศ (ชาย-หญิง) ออกจากกันอย่างชัดเจน
 ผู้ชายจะเป็นใหญ่และปกครอง
 ผู้ชายมีความเด็ดขาด แน่นอน
 งานต้องมาก่อนเรื่องอื่น แม้แต่ครอบครัว
 ความก้าวหน้า ความสาเร็จ และเงินเป็นเรื่องสาคัญ
สังคมมุ่งคน สังคมมุ่งงาน
• คุณภาพชีวิต การรับใช้ผู้อื่น • ผลงานทะยานอยากสู่จุดสูงสุด
• ทางานเพื่อมีชีวิตอยู่ • มีชีวิตเพื่อทาแต่งาน
• เล็กและค่อยเป็นค่อยไปเป็นการดี • ใหญ่กว่า เร็วกว่า ดีกว่า
• เห็นอกเห็นใจผู้ตกทุกข์ • ชื่นชอบผู้ประสบความสาเร็จ
• ใช้สัญชาตญาณ • การตัดสินใจอย่างเด็ดขาดแน่นอน
• บทบาททับซ้อนชายหญิง • แยกบทบาทชายหญิงอย่างชัดเจน
• การมีส่วนร่วมมากกว่า • ใช้ทฤษฎี X มีการใช้อานาจ
• เน้นกลุ่ม องค์กรขนาดเล็ก • เน้นปัจเจกบุคคล ชอบองค์กร ขนาดใหญ่
Hofstede ได้ทาการศึกษาเพิ่มเติมจากเดิมที่เคยศึกษาไว้ 4 มิติ และได้พบว่า
อารยธรรมตะวันออกได้รับอิทธิพลอย่างมากจากลัทธิขงจื้อ และเห็นว่าสังคมมีการมุ่งให้เกิดผลใน
ระยะสั้นหรือระยะยาว
ในวัฒนธรรมที่มุ่งผลระยะสั้น ผู้นาจะมีระบบการให้รางวัลกับผลงานที่ต้องการให้ได้
อย่างรวดเร็ว รวมทั้งการเลื่อนตาแหน่งในขณะที่วัฒนธรรมแบบมุ่งระยะยาว การคัดเลือกคนเข้า
ทางานจะดูถึงลักษณะบุคคลและการศึกษาที่เหมาะสมกับตาแหน่งนั้น จะไม่มีการไปดูว่ามีทักษะ
พิเศษอะไรที่จะช่วยให้งานสาเร็จอย่างรวดเร็ว คือการคัดเลือกคนทางานต้องใช้ได้เลย และก็ต้องทา
ให้เห็นผลงานและก็ไม่คิดว่าพนักงานคนนั้นจะอยู่กับบริษัทตลอดไป รวมทั้งการไม่ได้อบรมให้เพราะ
อาจไม่คุ้มทุน
การมุ่งระยะสั้น การมุ่งระยะยาว
• ต้องการคนที่มีทักษะใช้งานได้ทันที • มีคุณลักษณะและภูมิหลังที่เหมาะสม
• จากัดเฉพาะความต้องการขณะนั้น • มองผลและลงทุนระยะยาว
• ต้องการความรวดเร็ว • ช้า ๆ ค่อย พัฒนาไป
• จ่ายเงินและส่งเสริมโดยตรง • เน้นความมั่นคงมากกว่า
• ใช้ปัจจัยเพื่อให้เกิดความก้าวหน้า • สร้างข้อผูกพันทางสังคม
• ให้ผลตอบแทนโดยเร็ว • มุ่งเป้ าหมายระยะยาว
• การวิเคราะห์ปัญหาอย่างใช้ตรรกะ • ใช้ฉันทามติ ความสัมพันธ์ทางสังคม
• รวดเร็ว ง่าย แบบวัดได้ • กาไรระยะยาว การเติบโต แบบค่อย ๆ เพิ่ม
1. ลักษณะความเป็นสากลกับความเฉพาะ
2. ลักษณะของกลุ่มและปัจเจกชน
3. ลักษณะอย่างเป็นกลางหรือแบบแสดงออก
4. ลักษณะกระจัดกระจายกับเฉพาะเจาะจง
5. ความสาเร็จที่ได้ด้วยตนเองหรือเพราะติดตัวมา
6. อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
7. การควบคุมหรือการยอมรับ
 คือการที่วัฒนธรรมนั้นมีการใช้กฏระเบียบอย่างตรงไปตรงมาหรือว่าขึ้นกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ในวัฒนธรรมแบบสากล หนทางที่ถูกต้องในการปฏิบัติ
ต่อผู้อื่นจะวางอยู่บนหลักการ กฎหมาย ศาสนา หรือหลักการทางวัฒนธรรม และเมื่อ
คิดว่ากฎระเบียบดังกล่าวเป็นที่ถูกต้องและควรปฏิบัติ ก็จะปฏิบัติกับทุกคนและทุกที่
ทุกเวลาเหมือนกัน
 ในทางตรงกันข้าม วัฒนธรรมเฉพาะการใช้กฎเกณฑ์ กฎระเบียบจะไม่เหมือนกันทุก
กรณีไป ถึงแม้ว่าจะเป็นกฎเดียวกัน แต่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์จะเป็นอย่างไร โดยดูว่า
บุคคลที่จะใช้กฎเกณฑ์ มีความสัมพันธ์กับคนที่จะทาหน้าที่ตัดสินตรงนั้นอย่างไร
แบบสากล แบบเฉพาะ
• เน้นความมีกฎ ระเบียบ • เน้นที่ความสัมพันธ์
• ไม่ละเมิดสัญญา • สัญญาแก้ไขได้ง่าย
• ไว้วางใจเชื่อใจคาพูด • ความเชื่ออยู่บนความวางใจ
• เชื่อในข้อเท็จจริง ความจริง • ความจริงใช้สัมพัทธ์ตามสถานการณ์ของแต่ละคน
• ข้อตกลงเป็นพันธะ • ข้อตกลงยืดหยุ่นตามสถานการณ์
• ใช้กระบวนการขั้นตอนกับทุกเรื่อง • ใช้เครือข่ายแบบไม่เป็นทางการ ในการสร้างความเข้าใจ
• ทาธุรกิจอย่างเป็นรูปแบบทางการ • ทาการเปลี่ยนแปลงแบบส่วนตัว
• ปฏิบัติต่อทุกกรณีเหมือนกันหมด • ปฏิบัติต่อแต่ละกรณีที่ไม่เหมือนกัน
• บอกการเปลี่ยนแปลงต่อสาธารณะ • ทาเป็นลักษณะส่วนตัว
 แนวคิดในเรื่องนี้จะเหมือนกับที่ Hofstede ได้อธิบายไว้ วัฒนธรรมแบบกลุ่มจะ
สะท้อนความเป็นสมาชิกของกลุ่มไม่ว่า ครอบครัว ในองค์กรและชุมชน ความ
รับผิดชอบ ความสาเร็จ และรางวัลจะวางอยู่บนฐานของกลุ่ม ในสังคมแบบปัจเจก
ชน บุคคลจะได้รับการเลี้ยงดูแบบให้มีความอิสระตั้งแต่เล็กมาเลยและความสาเร็จ
ในชีวิตขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล
ปัจเจกชน กลุ่ม
• เน้นคาว่า “ฉัน” หรือ “ผม” • เน้นที่ “เรา”
• ความสาเร็จและความรับผิดชอบขึ้นอยู่กับแต่ละคน • ความสาเร็จและความรับผิดชอบขึ้นอยู่กับกลุ่ม
• การตัดสินใจขึ้นกับบุคคล • การตัดสินใจขึ้นกับกลุ่ม
• ใช้ปัจจัยจูงใจ เช่น การจ่ายตามผลงาน • การทางานของกลุ่มบนขวัญกาลังใจและความเหนียวแน่น
• วางแผนเผื่อการเข้าออกงาน • คาดหวังว่ามีการเข้าออกจากงานต่า
• การริเริ่มด้วยบุคคล • กาหนดเป้ าหมายของกลุ่ม
 หมายถึงเรื่องการแสดงออกทางอารมณ์ กล่าวคือ ในวัฒนธรรมแบบเป็นกลางเห็นว่า
การปฏิสัมพันธ์จะเป็นเรื่องเชิงวัตถุวิสัยและแสดงตรง ๆ โดยจะมุ่งเน้นไปที่ประเด็น
งานมากกว่าการแสดงออกทางอารมณ์ คนจะเน้นที่ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่
กาหนดโดยปราศจากการเกี่ยวข้องกับเรื่องของอารมณ์
 ในทางตรงกันข้ามในวัฒนธรรมที่แสดงออกทางอารมณ์ในแทบทุกสถานการณ์ การ
แสดงออกทั้งในด้านความโกรธ การหัวเราะ ท่าทาง และการแสดงออกทางอารมณ์
ถือได้ว่าเป็นเรื่องปกติและยอมรับได้
แบบเป็นกลาง แบบแสดงออก
• ไม่เปิดเผยความคิดหรือความรู้สึก • เปิดเผยความคิดความรู้สึกทั้งด้วยวาจาและการแสดงออก
• ควบคุมอารมณ์และคายกย่อง • แสดงออกทางอารมณ์อย่างไม่สะกดใจ
• การสัมผัสร่างกายและการแสดงท่าทางเป็นสิ่งที่ต้อง
หลีกเลี่ยง
• การสัมผัสการแสดงออกท่าทางเป็นเรื่องธรรมดา
• กระทาการภายใต้การควบคุม • หลีกเลี่ยงความอ่อนแอ ซึ่งจะให้มีระยะห่าง
• พูดคุยตรงประเด็น • คาดหวังพันธะที่เข้มแข็งและอดทนต่อการแสดงอารมณ์ที่
ระเบิดออกมา
 เป็นการพิจารณาว่าชีวิตของแต่ละคนเข้าไปเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ในการทางาน
หรือไม่อย่างไร ในวัฒนธรรมแบบเฉพาะธุรกิจจะแยกออกไปไม่เกี่ยวกับชีวิต คนที่ทา
ธุรกิจด้วยกันจะมีความสัมพันธ์กันเฉพาะในเรื่องงานจะไม่ใช้ความคุ้นเคยในเรื่องมา
เป็นประโยชน์ในเรื่องส่วนตัว ดังนั้นในสังคมนี้จึงใช้สัญญาที่เป็นลายลักษณ์เป็น
เครื่องแทนความสัมพันธ์
 ในทางตรงกันข้ามในสังคมกระจัดกระจายความสัมพันธ์มีผลต่อการทาธุรกิจมีการ
แยกจากกันน้อยมากแต่จะดาเนินการไปพร้อม ๆ กัน ในการทาธุรกิจ ทั้ง 2 ฝ่ายจะ
สร้างความคุ้นเคยกันอย่างมากในแทบทุกเรื่อง
แบบเฉพาะ แบบกระจาย
• มีความสัมพันธ์ตรง ๆ • ความสัมพันธ์โดยอ้อมและอย่างลึกซึ้ง
• มีการสื่อสารอย่างชัดเจน • การสื่อสารไม่ชัดเจนนัก
• หลักเหตุผลบนศีลธรรม • การตัดสินใจบนฐานของสถานการณ์
• ใช้มาตรฐานและวัตถุประสงค์เป็นหลัก • ความพยายามปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
• มีการแยกระหว่างธุรกิจกับเรื่องส่วนตัว • มีการผสมกันระหว่างธุรกิจกับเรื่องส่วนตัว
• มีความชัดเจนในทิศทาง • ทิศทางเคลือบคลุม
 หมายถึงการที่คนเราประสบผลสาเร็จได้มาจากการปฏิบัติผลงานของตนเองหรือ
แบบที่ว่าผลสาเร็จได้จากการมีสถานะที่เหนือกว่าในสังคม(ไม่ได้มาด้วยฝีมือ) ใน
หน่วยงานที่เน้นในเรื่องของสถานะ การแต่งตั้งคนให้ดารงตาแหน่งจะพิจารณาที่ว่า
จบการศึกษาจากที่ใด ลูกเต้าใคร รวมทั้งการพิจารณาในเชิงอายุด้วย ทั้งนี้อาจจะไม่
ดูถึงความเหมาะสมอื่น ๆ เลยก็ได้ ดังนั้นในสังคมนี้คานาหน้าจึงมีความหมายอย่าง
ยิ่ง
แบบความสาเร็จ แบบสถานภาพติดตัว
• ใช้คานาหน้าก็เมื่อมีความเกี่ยวข้องจาเป็น • ใช้คานาหน้ากันเป็นปกติ เพื่อแสดงให้เห็น
• คนที่เหนือกว่าได้รับการนับถือจากผลงาน • ให้การนับถือผู้ที่เหนือกว่าตามพันธะในองค์กร
• ผสมผสานกับเรื่องของอายุ เพศ ในการบริหารจัดการ • ภูมิหลังและอายุเป็นคุณสมบัติหลัก
• รางวัลและความนับถือบนทักษะและความสาเร็จ • เน้นที่ความอาวุโส
• ผู้จัดการอาวุโสขึ้นกับความเชี่ยวชาญในเชิงเทคนิคและ
ภาระหน้าที่
• ใช้อานาจของผู้ที่เหนือกว่าเป็นตัวกาหนดการให้รางวัล
 ในการทาธุรกิจ ผู้จัดการมีความจาเป็นที่จะต้องเข้าใจในเรื่องของเวลา แต่ปรากฎว่า
คนแต่ละคนมีความเข้าใจในเรื่องของเวลาแตกต่างกันไปและถ้าหากยิ่งมาจากต่าง
วัฒนธรรมกันด้วยแล้วก็ยิ่งมีความแตกต่างกันมากไปอีกมิติของเวลาในลักษณะของ
อดีต ปัจจุบัน และอนาคต มีการรับรู้ที่ต่างกัน และเส้นแบ่งระหว่างช่วงเวลาก็จะไม่
เหมือนกัน
อดีต ปัจจุบัน อนาคต
• การสื่อสารอ้างอิงประวัติศาสตร์ต้น
กาเนิดประเทศ ธุรกิจ และครอบครัว
• สนุกกับเวลาตอนนี้ • สื่อสารแบบมุ่งสู่ความสาเร็จ
• นับถือต่ออดีตจของความรุ่งเรืองและ
ผู้อาวุโส
• การวางแผนไม่ค่อยเกิดผลทางการ
นาไปปฏิบัติ
• การวางแผนเป็นเรื่องสาคัญ
• ประวัติศาสตร์เป็นบริบทเพื่อการ
ทางานปัจจุบัน
• ผลกระทบโดยพลันสาคัญที่สุด • เน้นประโยชน์ที่ได้ในอนาคต
 เกี่ยวเนื่องกับความเชื่อว่าอะไรคือการควบคุมโชคชะตา ซึ่งก็คือการที่คนจะมี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ เราครอบงาธรรมชาติหรือธรรมชาติครอบงา
เรา
การควบคุมภายใน การควบคุมภายนอก
• การครอบงาสิ่งแวดล้อม • เน้นการประนีประนอม
• แสดงการต่อสู้ฝ่าฟัน • การปรับตัวและการกลมกลืนเป็นสิ่งดี
• เน้นที่ตนเอง หรือกลุ่ม • ปรับตัวตามวัฎจักร
• เน้นที่อานาจ • เน้นที่ความอดทน
• การครอบงาลูกน้อง • สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับลูกน้อง ความเท่าเทียม
และผู้เหนือกว่า เน้นที่ได้ด้วยกัน 2 ฝ่าย (win-win)
 จงอภิปรายถึงความสาคัญของปัจจัยทางวัฒนธรรมที่มีผลต่อการไปเปิดธุรกิจของไทย ใน
ต่างประเทศเช่น ประเทศทางยุโรปหรืออเมริกา และกิจการที่จะไปเปิดในดินแดน เหล่านั้น
ควรมีการเตรียมการอย่างไร
 จงอภิปรายถึงการเตรียมการเจรจาต่อรองทางการค้าระหว่างนักธุรกิจไทยกับนักธุรกิจ ญี่ปุ่น
ถ้าท่านเป็นนักธุรกิจไทย ต้องการจะร่วมทุนกับนักธุรกิจญี่ปุ่น ท่านจะมีการวาง แผนการ
เจรจาอย่างไร ให้อภิปรายพร้อมยกเหตุผลและตัวอย่างประกอบ
 จงอภิปรายถึงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม (Cultural
Dimension) ของ Geert Hofstede ว่าจะสามารถประยุกต์ไปใช้กับบริษัท
ไทยที่จะไปลงทุนในประเทศ สหรัฐอเมริกาได้อย่างไร และแนวคิดดังกล่าวมีจุดบกพร่องหรือ
อาจไม่เป็นจริงได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
 จงอภิปรายถึงกระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรมของประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง โดย
ผ่านทางธุรกิจข้ามชาติ และการถ่ายทอดวัฒนธรรมโดยวิธีการดังกล่าวจะมีผลเสีย ต่อ
ประเทศผู้รับวัฒนธรรมใหม่เข้ามาหรือไม่

More Related Content

What's hot

Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behavior
Somyot Ongkhluap
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
Teetut Tresirichod
 
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
Wannarat Wattana
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจบทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจ
TK Tof
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์pptapple_clubx
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
Incentive
IncentiveIncentive
Incentive
Chuta Tharachai
 
Chapter 4 western culture and eastern culture
Chapter 4 western culture and eastern cultureChapter 4 western culture and eastern culture
Chapter 4 western culture and eastern culture
Teetut Tresirichod
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
พัน พัน
 
Ch 0 intro to mice
Ch 0 intro to miceCh 0 intro to mice
Ch 0 intro to mice
Chuta Tharachai
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
Chaloempond Chantong
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
Teetut Tresirichod
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptapple_clubx
 
Chapter 7 prototype
Chapter 7 prototypeChapter 7 prototype
Chapter 7 prototype
Teetut Tresirichod
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
Ornkapat Bualom
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

What's hot (20)

Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behavior
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
บทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจบทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจ
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
Incentive
IncentiveIncentive
Incentive
 
Chapter 4 western culture and eastern culture
Chapter 4 western culture and eastern cultureChapter 4 western culture and eastern culture
Chapter 4 western culture and eastern culture
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
Ch 0 intro to mice
Ch 0 intro to miceCh 0 intro to mice
Ch 0 intro to mice
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
 
Chapter 7 prototype
Chapter 7 prototypeChapter 7 prototype
Chapter 7 prototype
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 

Similar to บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ

สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
Taraya Srivilas
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstya035
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
Rorsed Mardra
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstNew Born
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
pattamasatun
 
ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม DEI.pptx
 ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม DEI.pptx ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม DEI.pptx
ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม DEI.pptx
maruay songtanin
 
8 ประเด็นโลกศึกษา
8 ประเด็นโลกศึกษา8 ประเด็นโลกศึกษา
8 ประเด็นโลกศึกษาysmhcnboice
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
Chalit Arm'k
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2New Born
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2ya035
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
pattamasatun
 

Similar to บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ (20)

สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม DEI.pptx
 ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม DEI.pptx ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม DEI.pptx
ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม DEI.pptx
 
8 ประเด็นโลกศึกษา
8 ประเด็นโลกศึกษา8 ประเด็นโลกศึกษา
8 ประเด็นโลกศึกษา
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 

More from Teetut Tresirichod

Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdfProcess Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
Teetut Tresirichod
 
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
Teetut Tresirichod
 
Using JAMOVI in structural equation analysis
Using JAMOVI in structural equation analysisUsing JAMOVI in structural equation analysis
Using JAMOVI in structural equation analysis
Teetut Tresirichod
 
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
Teetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Teetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Teetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
Teetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
Teetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Teetut Tresirichod
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
Teetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
Teetut Tresirichod
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
Teetut Tresirichod
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
Teetut Tresirichod
 
LINE OA
LINE OALINE OA
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
Teetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Teetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
Teetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
Teetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Teetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdfProcess Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
 
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
 
Using JAMOVI in structural equation analysis
Using JAMOVI in structural equation analysisUsing JAMOVI in structural equation analysis
Using JAMOVI in structural equation analysis
 
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 

บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ

  • 2. Geert Hofstede (1980,1991) ได้ศึกษาถึง ความแตกต่างของวัฒนธรรมของแต่ละชาติในช่วงทศวรรษ 1980 โดยตัวแบบวางอยู่บนรากฐานของความแตกต่างในเรื่อง ของค่านิยม(values) และความเชื่อ(Believes) ที่ เกี่ยวเนื่องเป้ าประสงค์ของการทางาน
  • 3. 1. ระยะห่างของอานาจ (Power Distance) 2. การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน (Uncertainty Avoidance) 3. ปัจเจกชนและกลุ่ม (Individualism Vs Collectivism) 4. การมุ่งงานหรือมุ่งคน (Masculinity Vs Femininity) 5. การมุ่งระยะยาว (Long-term Orientation)
  • 4. สังคมที่มีระยะห่างมากจะมีลักษณะของการยอมรับในการควบคุมและ ยอมรับในคนที่มีอานาจมากกว่า ในขณะที่สังคมที่มีระยะห่างของอานาจน้อยกว่าจะ มองว่าอานาจเป็นเพียงเครื่องมือหนึ่งของกระบวนการบริหารและการตัดสินใจ 1)ปทัสถานของผู้ที่เหนือกว่า (หัวหน้า ผู้นา ..) ที่จะได้ว่าเขาจะพิจารณา พฤติกรรมลูกน้องในลักษณะใด 2)ค่านิยมและความเชื่อของผู้ที่เหนือกว่าและผู้ใต้บังคับบัญชามีความ แตกต่างกันอย่างไร ประเทศที่มีระยะห่างของอานาจมาก จะมีปทัสถาน ค่านิยม และ ความเชื่อดังตัวอย่างต่อไปนี้ • ความไม่เท่าเทียมกันเป็นสิ่งดี • ทุกคนมีตาแหน่งที่ของตน บางคนสถานะสูง บางคนสถานะต่า • ทุกคนควรพึ่งพิงอยู่กับผู้นา • คนที่มีอานาจย่อมจะเป็นผู้มีสิทธิพิเศษนี้ • ผู้มีพลังอานาจต้องใช้ออกมาไม่ปิดบัง
  • 5. ระยะห่างน้อย ระยะห่างมาก • ระดับเฉลี่ยการพี่งพิงต่า • ต้องการการพึ่งพิงสูง • ความไม่เท่าเทียมในสังคมลดน้อยลง • มีลาดับความไม่เท่าเทียม • ระดับความไม่เท่าเทียมในบทบาทมีเพื่อความสะดวก • ลาดับการบังคับบัญชาคือ ความไม่เท่าเทียมที่เป็นอยู่ • ผู้บังคับบัญชาพบได้ง่าย • ผู้บังคับบัญชาพบได้ยาก • ทุกคนมีสิทธิ์เท่าเทียมกัน • คนมีอานาจ มีสิทธิพิเศษ • หนทางการเปลี่ยนสังคมด้วยการกระจายอานาจ(วิวัฒนาการ) • การเปลี่ยนสังคมคือการโค่นล้มผู้มีอานาจ (ด้วยการปฏิวัติ) • ความสาเร็จมาจากการศึกษา • ได้มาจากชนชั้นทางสังคมที่สูงกว่า • มีอิสระ • ทาตามรูปแบบ เชื่อฟัง • การประเมินที่ผลงาน • ดูที่ความวางใจ • ค่าตอบแทนระหว่างผู้บริหาร/พนักงานไม่ต่างกัน • มีความแตกต่างกัน • การมีส่วนร่วมสูง • ต้องมีการควบคุมแนะนาใกล้ชิด • คนชอบที่จะทางาน • คนไม่ชอบทางานหนัก ต้องมีการบังคับ • การกระจายอานาจ โครงสร้างองค์กรแบบรวม • โครงสร้างแบบพีระมิดทรงสูง • การกาหนดกลยุทธ์มีความหลากหลาย • กลยุทธ์อาจวางเพื่อเอื้อต่ออานาจผู้นาหรือรัฐบาล
  • 6. การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนเกี่ยวพันกับเรื่องของ ปทัสถาน ค่านิยม และความเชื่อ โดยจะมีความอดทนเพียงใดต่อ ความเคลือบคลุมที่เกิดขึ้น ในสังคมที่หลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนสูง มีความพยายามที่จะวางระบบโครงสร้างสังคม (การเมือง การศึกษา และธุรกิจ) ให้มีความเป็นระเบียบ การคาดการณ์ได้ ถือเป็นสิ่งที่สาคัญ และการใช้กฎระเบียบเป็นตัวควบคุมในสังคม แบบนี้เอง สถานการณ์ที่มีความเสี่ยงจะสร้างความเครียดและทา ให้คนรู้สึกผิดหวัง คนจึงพยายามหลีกเลี่ยง
  • 7.  หลีกเลี่ยงความขัดแย้ง  ไม่อาจทนต่อบุคคลที่เบี่ยงเบนและคิดที่แปลกไป  กฏหมายเป็นสิ่งสาคัญที่เราควรปฏิบัติตาม  ผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่มักถูกเสมอ  ฉันทามติคือสิ่งสาคัญ
  • 8. การหลีกเลี่ยงต่า การหลีกเลี่ยงสูง • ผ่อนคลายไม่วิตกกังวล • กังวลและกดดัน • อารมณ์และความก้าวร้าวไม่แสดงออก • การแสดงออกของอารมณ์/ความก้าวร้าวรับได้ • ความขัดแย้งและการแข่งขันไม่ใช่สิ่งคุมคาม เป็นการสู้อย่างยุติธรรม • ความขัดแย้งและการแข่งขัน นาไปสู่สิ่งที่คาดการณ์ไม่ได้และไม่พึง ปรารถนา • ยอมรับในความขัดแย้ง อดทนได้ • ต้องการความเห็นพ้องสูงและไม่อาจอดทนต่อความคิดแตกต่างและบุคคล ได้ • พร้อมรับความเสี่ยง • ต้องการความมั่นคงมากกว่า • ให้มีกฎระเบียบน้อยที่สุด • ต้องการกฎระเบียบ กฏหมาย แบบลายลักษณ์ • มองเป้ าหมายเชิงสัมพันธ์/ประจักษ์นิยม • เสาะหาเพื่อผลสูงสุด ความจริงสัจจะในทางศาสนาและวิทยาศาสตร์ • ดูผลงาน, การศึกษา • ความอาวุโส ความภักดี • การประเมินผลงานตามข้อมูล การสับเปลี่ยนเพื่อเลื่อนตาแหน่ง • ดูความอาวุโสมากกว่าผลงาน • ไม่มีการกากับทิศทางการทางานมาก ให้มีความยืดหยุ่น • กากับงาน • กระตุ้นตนเองในการทางาน/การแข่งขัน • คนมองหาความมั่นคง เลี่ยงการแข่งขัน • เน้นองค์กรขนาดเล็กสายการบังคับบัญชาสั้น ไม่เป็นทางการ กฎระเบียบที่ เป็นลายลักษณ์ไม่มาก • เน้นองค์กรขนาดใหญ่ สายการบังคับบัญชายาว มีความเป็นทางการสูง มี กฏระเบียบ กระบวนการมากมาย • ไม่กลัวความเสี่ยง • ไม่ชอบเสี่ยง
  • 10.  ประชาชนแต่ละคนจะรับผิดชอบตัวเอง  แต่ละคนขึ้นกับความก้าวหน้าความสาเร็จเป็นหลัก  คนไม่จาเป็นต้องมีอารมณ์ที่ขึ้นอยู่กับองค์การหรือกลุ่ม
  • 11.  ความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคลอยู่บนฐานของการเป็นสมาชิกเชิงกลุ่ม  การตัดสินใจของกลุ่มถือว่าดีที่สุด  กลุ่มจะช่วยปกป้ องแต่ละคนเพื่อแลกให้ดได้มาซึ่งความภักดีที่แต่ละคนจะมีต่อกลุ่ม
  • 12. วัฒนธรรมแบบกลุ่ม แบบปัจเจกชน • มีความรู้สึกว่าเรา (We) • รู้สึกในฐานะ “ตนเอง” (I) • ความเห็นเกิดจากกลุ่ม • ความเห็นแต่ละบุคคล • ดาเนินการโดยผูกพันต่อกลุ่มครอบครัวและสังคม • ดาเนินการเพื่อผลประโยชน์ตนเอง • การลงโทษ (การเสียหน้า อับอาย) • การลงโทษ (เสียความนับถือเป็นความผิด) • มาตรฐานค่านิยมแตกต่างกันระหว่างใน – นอกกลุ่ม • มาตรฐานค่านิยมใช้เหมือนกันทั่วไป • กลุ่มรับผิดชอบต่อความสาเร็จ • แต่ละคนรับผิดชอบความสาเร็จด้วยตนเอง • เน้นขวัญและความเหนียวแน่นในกลุ่ม • ใช้รางวัลเป็นสิ่งตอบแทนให้แต่ละคน • การเข้า – ออกจากงานต่า • มีการเข้า-ออกงานสูง • กาหนดเป้ าประสงค์กลุ่ม • ให้แต่ละคนริเริ่ม
  • 13. วัฒนธรรมที่แตกต่างกันจะมีความคาดหวังในบทบาทของ ชายและหญิงที่ไม่เหมือนกันในแทบทุกวัฒนธรรมเราพบว่าชาย และหญิงจะได้รับบทบาทที่แตกต่างกัน ผลของการศึกษาจานวน มากชี้ว่าผู้ชายจะมีการเน้นและการกระตุ้นการนาไปสู่ความสาเร็จ และให้พึ่งพิงตนเองได้ ในขณะที่ฝ่ายหญิงกระบวนการทางสังคม จะเน้นไปที่เรื่องการอบรมเลี้ยงดูและก็เรื่องความรับผิดชอบ
  • 14.  มีการแยกบทบาทของเพศ (ชาย-หญิง) ออกจากกันอย่างชัดเจน  ผู้ชายจะเป็นใหญ่และปกครอง  ผู้ชายมีความเด็ดขาด แน่นอน  งานต้องมาก่อนเรื่องอื่น แม้แต่ครอบครัว  ความก้าวหน้า ความสาเร็จ และเงินเป็นเรื่องสาคัญ
  • 15. สังคมมุ่งคน สังคมมุ่งงาน • คุณภาพชีวิต การรับใช้ผู้อื่น • ผลงานทะยานอยากสู่จุดสูงสุด • ทางานเพื่อมีชีวิตอยู่ • มีชีวิตเพื่อทาแต่งาน • เล็กและค่อยเป็นค่อยไปเป็นการดี • ใหญ่กว่า เร็วกว่า ดีกว่า • เห็นอกเห็นใจผู้ตกทุกข์ • ชื่นชอบผู้ประสบความสาเร็จ • ใช้สัญชาตญาณ • การตัดสินใจอย่างเด็ดขาดแน่นอน • บทบาททับซ้อนชายหญิง • แยกบทบาทชายหญิงอย่างชัดเจน • การมีส่วนร่วมมากกว่า • ใช้ทฤษฎี X มีการใช้อานาจ • เน้นกลุ่ม องค์กรขนาดเล็ก • เน้นปัจเจกบุคคล ชอบองค์กร ขนาดใหญ่
  • 16. Hofstede ได้ทาการศึกษาเพิ่มเติมจากเดิมที่เคยศึกษาไว้ 4 มิติ และได้พบว่า อารยธรรมตะวันออกได้รับอิทธิพลอย่างมากจากลัทธิขงจื้อ และเห็นว่าสังคมมีการมุ่งให้เกิดผลใน ระยะสั้นหรือระยะยาว ในวัฒนธรรมที่มุ่งผลระยะสั้น ผู้นาจะมีระบบการให้รางวัลกับผลงานที่ต้องการให้ได้ อย่างรวดเร็ว รวมทั้งการเลื่อนตาแหน่งในขณะที่วัฒนธรรมแบบมุ่งระยะยาว การคัดเลือกคนเข้า ทางานจะดูถึงลักษณะบุคคลและการศึกษาที่เหมาะสมกับตาแหน่งนั้น จะไม่มีการไปดูว่ามีทักษะ พิเศษอะไรที่จะช่วยให้งานสาเร็จอย่างรวดเร็ว คือการคัดเลือกคนทางานต้องใช้ได้เลย และก็ต้องทา ให้เห็นผลงานและก็ไม่คิดว่าพนักงานคนนั้นจะอยู่กับบริษัทตลอดไป รวมทั้งการไม่ได้อบรมให้เพราะ อาจไม่คุ้มทุน
  • 17. การมุ่งระยะสั้น การมุ่งระยะยาว • ต้องการคนที่มีทักษะใช้งานได้ทันที • มีคุณลักษณะและภูมิหลังที่เหมาะสม • จากัดเฉพาะความต้องการขณะนั้น • มองผลและลงทุนระยะยาว • ต้องการความรวดเร็ว • ช้า ๆ ค่อย พัฒนาไป • จ่ายเงินและส่งเสริมโดยตรง • เน้นความมั่นคงมากกว่า • ใช้ปัจจัยเพื่อให้เกิดความก้าวหน้า • สร้างข้อผูกพันทางสังคม • ให้ผลตอบแทนโดยเร็ว • มุ่งเป้ าหมายระยะยาว • การวิเคราะห์ปัญหาอย่างใช้ตรรกะ • ใช้ฉันทามติ ความสัมพันธ์ทางสังคม • รวดเร็ว ง่าย แบบวัดได้ • กาไรระยะยาว การเติบโต แบบค่อย ๆ เพิ่ม
  • 18.
  • 19. 1. ลักษณะความเป็นสากลกับความเฉพาะ 2. ลักษณะของกลุ่มและปัจเจกชน 3. ลักษณะอย่างเป็นกลางหรือแบบแสดงออก 4. ลักษณะกระจัดกระจายกับเฉพาะเจาะจง 5. ความสาเร็จที่ได้ด้วยตนเองหรือเพราะติดตัวมา 6. อดีต ปัจจุบัน และอนาคต 7. การควบคุมหรือการยอมรับ
  • 20.  คือการที่วัฒนธรรมนั้นมีการใช้กฏระเบียบอย่างตรงไปตรงมาหรือว่าขึ้นกับ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ในวัฒนธรรมแบบสากล หนทางที่ถูกต้องในการปฏิบัติ ต่อผู้อื่นจะวางอยู่บนหลักการ กฎหมาย ศาสนา หรือหลักการทางวัฒนธรรม และเมื่อ คิดว่ากฎระเบียบดังกล่าวเป็นที่ถูกต้องและควรปฏิบัติ ก็จะปฏิบัติกับทุกคนและทุกที่ ทุกเวลาเหมือนกัน  ในทางตรงกันข้าม วัฒนธรรมเฉพาะการใช้กฎเกณฑ์ กฎระเบียบจะไม่เหมือนกันทุก กรณีไป ถึงแม้ว่าจะเป็นกฎเดียวกัน แต่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์จะเป็นอย่างไร โดยดูว่า บุคคลที่จะใช้กฎเกณฑ์ มีความสัมพันธ์กับคนที่จะทาหน้าที่ตัดสินตรงนั้นอย่างไร
  • 21. แบบสากล แบบเฉพาะ • เน้นความมีกฎ ระเบียบ • เน้นที่ความสัมพันธ์ • ไม่ละเมิดสัญญา • สัญญาแก้ไขได้ง่าย • ไว้วางใจเชื่อใจคาพูด • ความเชื่ออยู่บนความวางใจ • เชื่อในข้อเท็จจริง ความจริง • ความจริงใช้สัมพัทธ์ตามสถานการณ์ของแต่ละคน • ข้อตกลงเป็นพันธะ • ข้อตกลงยืดหยุ่นตามสถานการณ์ • ใช้กระบวนการขั้นตอนกับทุกเรื่อง • ใช้เครือข่ายแบบไม่เป็นทางการ ในการสร้างความเข้าใจ • ทาธุรกิจอย่างเป็นรูปแบบทางการ • ทาการเปลี่ยนแปลงแบบส่วนตัว • ปฏิบัติต่อทุกกรณีเหมือนกันหมด • ปฏิบัติต่อแต่ละกรณีที่ไม่เหมือนกัน • บอกการเปลี่ยนแปลงต่อสาธารณะ • ทาเป็นลักษณะส่วนตัว
  • 22.  แนวคิดในเรื่องนี้จะเหมือนกับที่ Hofstede ได้อธิบายไว้ วัฒนธรรมแบบกลุ่มจะ สะท้อนความเป็นสมาชิกของกลุ่มไม่ว่า ครอบครัว ในองค์กรและชุมชน ความ รับผิดชอบ ความสาเร็จ และรางวัลจะวางอยู่บนฐานของกลุ่ม ในสังคมแบบปัจเจก ชน บุคคลจะได้รับการเลี้ยงดูแบบให้มีความอิสระตั้งแต่เล็กมาเลยและความสาเร็จ ในชีวิตขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล
  • 23. ปัจเจกชน กลุ่ม • เน้นคาว่า “ฉัน” หรือ “ผม” • เน้นที่ “เรา” • ความสาเร็จและความรับผิดชอบขึ้นอยู่กับแต่ละคน • ความสาเร็จและความรับผิดชอบขึ้นอยู่กับกลุ่ม • การตัดสินใจขึ้นกับบุคคล • การตัดสินใจขึ้นกับกลุ่ม • ใช้ปัจจัยจูงใจ เช่น การจ่ายตามผลงาน • การทางานของกลุ่มบนขวัญกาลังใจและความเหนียวแน่น • วางแผนเผื่อการเข้าออกงาน • คาดหวังว่ามีการเข้าออกจากงานต่า • การริเริ่มด้วยบุคคล • กาหนดเป้ าหมายของกลุ่ม
  • 24.  หมายถึงเรื่องการแสดงออกทางอารมณ์ กล่าวคือ ในวัฒนธรรมแบบเป็นกลางเห็นว่า การปฏิสัมพันธ์จะเป็นเรื่องเชิงวัตถุวิสัยและแสดงตรง ๆ โดยจะมุ่งเน้นไปที่ประเด็น งานมากกว่าการแสดงออกทางอารมณ์ คนจะเน้นที่ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ กาหนดโดยปราศจากการเกี่ยวข้องกับเรื่องของอารมณ์  ในทางตรงกันข้ามในวัฒนธรรมที่แสดงออกทางอารมณ์ในแทบทุกสถานการณ์ การ แสดงออกทั้งในด้านความโกรธ การหัวเราะ ท่าทาง และการแสดงออกทางอารมณ์ ถือได้ว่าเป็นเรื่องปกติและยอมรับได้
  • 25. แบบเป็นกลาง แบบแสดงออก • ไม่เปิดเผยความคิดหรือความรู้สึก • เปิดเผยความคิดความรู้สึกทั้งด้วยวาจาและการแสดงออก • ควบคุมอารมณ์และคายกย่อง • แสดงออกทางอารมณ์อย่างไม่สะกดใจ • การสัมผัสร่างกายและการแสดงท่าทางเป็นสิ่งที่ต้อง หลีกเลี่ยง • การสัมผัสการแสดงออกท่าทางเป็นเรื่องธรรมดา • กระทาการภายใต้การควบคุม • หลีกเลี่ยงความอ่อนแอ ซึ่งจะให้มีระยะห่าง • พูดคุยตรงประเด็น • คาดหวังพันธะที่เข้มแข็งและอดทนต่อการแสดงอารมณ์ที่ ระเบิดออกมา
  • 26.  เป็นการพิจารณาว่าชีวิตของแต่ละคนเข้าไปเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ในการทางาน หรือไม่อย่างไร ในวัฒนธรรมแบบเฉพาะธุรกิจจะแยกออกไปไม่เกี่ยวกับชีวิต คนที่ทา ธุรกิจด้วยกันจะมีความสัมพันธ์กันเฉพาะในเรื่องงานจะไม่ใช้ความคุ้นเคยในเรื่องมา เป็นประโยชน์ในเรื่องส่วนตัว ดังนั้นในสังคมนี้จึงใช้สัญญาที่เป็นลายลักษณ์เป็น เครื่องแทนความสัมพันธ์  ในทางตรงกันข้ามในสังคมกระจัดกระจายความสัมพันธ์มีผลต่อการทาธุรกิจมีการ แยกจากกันน้อยมากแต่จะดาเนินการไปพร้อม ๆ กัน ในการทาธุรกิจ ทั้ง 2 ฝ่ายจะ สร้างความคุ้นเคยกันอย่างมากในแทบทุกเรื่อง
  • 27. แบบเฉพาะ แบบกระจาย • มีความสัมพันธ์ตรง ๆ • ความสัมพันธ์โดยอ้อมและอย่างลึกซึ้ง • มีการสื่อสารอย่างชัดเจน • การสื่อสารไม่ชัดเจนนัก • หลักเหตุผลบนศีลธรรม • การตัดสินใจบนฐานของสถานการณ์ • ใช้มาตรฐานและวัตถุประสงค์เป็นหลัก • ความพยายามปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง • มีการแยกระหว่างธุรกิจกับเรื่องส่วนตัว • มีการผสมกันระหว่างธุรกิจกับเรื่องส่วนตัว • มีความชัดเจนในทิศทาง • ทิศทางเคลือบคลุม
  • 28.  หมายถึงการที่คนเราประสบผลสาเร็จได้มาจากการปฏิบัติผลงานของตนเองหรือ แบบที่ว่าผลสาเร็จได้จากการมีสถานะที่เหนือกว่าในสังคม(ไม่ได้มาด้วยฝีมือ) ใน หน่วยงานที่เน้นในเรื่องของสถานะ การแต่งตั้งคนให้ดารงตาแหน่งจะพิจารณาที่ว่า จบการศึกษาจากที่ใด ลูกเต้าใคร รวมทั้งการพิจารณาในเชิงอายุด้วย ทั้งนี้อาจจะไม่ ดูถึงความเหมาะสมอื่น ๆ เลยก็ได้ ดังนั้นในสังคมนี้คานาหน้าจึงมีความหมายอย่าง ยิ่ง
  • 29. แบบความสาเร็จ แบบสถานภาพติดตัว • ใช้คานาหน้าก็เมื่อมีความเกี่ยวข้องจาเป็น • ใช้คานาหน้ากันเป็นปกติ เพื่อแสดงให้เห็น • คนที่เหนือกว่าได้รับการนับถือจากผลงาน • ให้การนับถือผู้ที่เหนือกว่าตามพันธะในองค์กร • ผสมผสานกับเรื่องของอายุ เพศ ในการบริหารจัดการ • ภูมิหลังและอายุเป็นคุณสมบัติหลัก • รางวัลและความนับถือบนทักษะและความสาเร็จ • เน้นที่ความอาวุโส • ผู้จัดการอาวุโสขึ้นกับความเชี่ยวชาญในเชิงเทคนิคและ ภาระหน้าที่ • ใช้อานาจของผู้ที่เหนือกว่าเป็นตัวกาหนดการให้รางวัล
  • 30.  ในการทาธุรกิจ ผู้จัดการมีความจาเป็นที่จะต้องเข้าใจในเรื่องของเวลา แต่ปรากฎว่า คนแต่ละคนมีความเข้าใจในเรื่องของเวลาแตกต่างกันไปและถ้าหากยิ่งมาจากต่าง วัฒนธรรมกันด้วยแล้วก็ยิ่งมีความแตกต่างกันมากไปอีกมิติของเวลาในลักษณะของ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต มีการรับรู้ที่ต่างกัน และเส้นแบ่งระหว่างช่วงเวลาก็จะไม่ เหมือนกัน
  • 31. อดีต ปัจจุบัน อนาคต • การสื่อสารอ้างอิงประวัติศาสตร์ต้น กาเนิดประเทศ ธุรกิจ และครอบครัว • สนุกกับเวลาตอนนี้ • สื่อสารแบบมุ่งสู่ความสาเร็จ • นับถือต่ออดีตจของความรุ่งเรืองและ ผู้อาวุโส • การวางแผนไม่ค่อยเกิดผลทางการ นาไปปฏิบัติ • การวางแผนเป็นเรื่องสาคัญ • ประวัติศาสตร์เป็นบริบทเพื่อการ ทางานปัจจุบัน • ผลกระทบโดยพลันสาคัญที่สุด • เน้นประโยชน์ที่ได้ในอนาคต
  • 33. การควบคุมภายใน การควบคุมภายนอก • การครอบงาสิ่งแวดล้อม • เน้นการประนีประนอม • แสดงการต่อสู้ฝ่าฟัน • การปรับตัวและการกลมกลืนเป็นสิ่งดี • เน้นที่ตนเอง หรือกลุ่ม • ปรับตัวตามวัฎจักร • เน้นที่อานาจ • เน้นที่ความอดทน • การครอบงาลูกน้อง • สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับลูกน้อง ความเท่าเทียม และผู้เหนือกว่า เน้นที่ได้ด้วยกัน 2 ฝ่าย (win-win)
  • 34.  จงอภิปรายถึงความสาคัญของปัจจัยทางวัฒนธรรมที่มีผลต่อการไปเปิดธุรกิจของไทย ใน ต่างประเทศเช่น ประเทศทางยุโรปหรืออเมริกา และกิจการที่จะไปเปิดในดินแดน เหล่านั้น ควรมีการเตรียมการอย่างไร  จงอภิปรายถึงการเตรียมการเจรจาต่อรองทางการค้าระหว่างนักธุรกิจไทยกับนักธุรกิจ ญี่ปุ่น ถ้าท่านเป็นนักธุรกิจไทย ต้องการจะร่วมทุนกับนักธุรกิจญี่ปุ่น ท่านจะมีการวาง แผนการ เจรจาอย่างไร ให้อภิปรายพร้อมยกเหตุผลและตัวอย่างประกอบ  จงอภิปรายถึงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม (Cultural Dimension) ของ Geert Hofstede ว่าจะสามารถประยุกต์ไปใช้กับบริษัท ไทยที่จะไปลงทุนในประเทศ สหรัฐอเมริกาได้อย่างไร และแนวคิดดังกล่าวมีจุดบกพร่องหรือ อาจไม่เป็นจริงได้หรือไม่ เพราะเหตุใด  จงอภิปรายถึงกระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรมของประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง โดย ผ่านทางธุรกิจข้ามชาติ และการถ่ายทอดวัฒนธรรมโดยวิธีการดังกล่าวจะมีผลเสีย ต่อ ประเทศผู้รับวัฒนธรรมใหม่เข้ามาหรือไม่