SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 มีภาษาที่ใช้อยู่ในโลกที่เป็นพื้นฐานประมาณ 3,000 ภาษา และก็มีสาเนียงที่
แตกต่างกันมาก ภาษาเป็นสิ่งสาคัญสาหรับวัฒนธรรมที่เพราะชี้ถึงความเป็นกลุ่มที่
เหมือนกัน ผู้จัดการที่บริหารบริษัทข้ามชาติจะต้องมีความเข้าใจตรงนี้ให้ดี บาง
ประเทศมีภาษาที่เป็นทางการมากกว่าหนึ่งภาษาเช่น แคนาดา และเบลเยี่ยม การใช้
ภาษาที่ไม่ตรงกับกลุ่มเป้ าหมายอาจมีผลต่อความสาเร็จในการเจรจาต่อรอง
 Benjamin Lee Whorf (1965) ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับภาษา พบว่า
ทุกภาษามีข้อจากัดในการสื่อความทั้งนั้น คือไม่สามารถสื่อความหมายได้ครบ
ทั้งหมดตามที่ต้องการ ภาษาเป็นสิ่งสะท้อนความคิด และเป็นตัวกาหนดรูปแบบทาง
วัฒนธรรม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ตัวแบบของ Hall
◦ Edward T. Hall(1976) ศึกษาวัฒนธรรมโดยเน้นที่รูปแบบของการสื่อสารและ
เสนอแนะให้แยกสังคม โดยดูว่ากลุ่มมีการสื่อสารกันอย่างไร โดยแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ
 1. บริบท คือ ปริมาณของข่าวสารที่ต้องการในการที่จะใช้เพื่อการแสดงออกไปในการสื่อสารกับอีก
ฝ่ายหนึ่งเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดี
 2. อาณาบริเวณหรือพื้นที่ : การสงวนพื้นที่ส่วนบุคคลไว้เพื่อเป็นวิธีที่จะสื่อสารกับอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น
คนอเมริกาเหนือ เมื่อต้องการพูดคุยกัน อาจต้องการระยะห่างพอสมควร ในขณะที่คนเอเชียคุยกับ
แบบใกล้ชิดกว่า
 3. เวลา : มีการดาเนินเวลาในแบบเชิงเดี่ยว คือ ทากิจกรรมหนึ่งในเวลาหนึ่งให้แล้วเสร็จไป หรือ
ประเภทการใช้เวลาแบบพหุ คือพยายามทาหลายกิจกรรมให้เสร็จพร้อม กันในเวลาเดียว
 4. การลื่นไหลของข้อมูลข่าวสาร หมายถึงโครงสร้างของการกระจายข้อมูลระหว่างบุคคลและ
องค์การเป็นอย่างไร
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 โดยรวมแล้วการศึกษาของ Hall เน้นหนักในเรื่องของบริบทของการสื่อสาร ว่า
สื่อสารออกไปแล้วมีความชัดเจนมากน้อยแค่ไหน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
1. แบบบริบทต่า คือ การสื่อสารและคาพูดที่แสดงออกไปมีความชัดเจนในตัวของมันเอง
2. แบบบริบทสูง คือ การสื่อสารในแบบที่เราไม่เข้าใจโดยทันที ต้องมีการตีความอีก ได้แก่ ญี่ปุ่น
อาหรับ ลาตินอเมริกา อิตาลี อังกฤษ ฝรั่งเศษ อเมริกาเหนือ สแกนดิเนเวีย เยอรมนี
สวิตเซอร์แลนด์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 นอกจากการพิจารณาการสื่อสารในรูปแบบบริบทสูงต่าดังกล่าวแล้ว จะเห็นได้ว่ายัง
มีการสื่อสารที่เรียกว่าการสื่อสารโดยตรง คือการสื่อสารแบบตรงประเด็นและไม่มี
ความเคลือบแคลงในความหมาย แต่ในทางตรงกันข้าม การสื่อแบบโดยอ้อม อาจ
มองว่า การถามอะไรตรง เกินไปค่อนข้างไม่สุภาพ จึงชอบที่จะถามอะไรโดยมีนัย
ต้องตีความมากกว่า
 หรือในอีกทาง คือการสื่อความหมายที่เป็นแบบทางการ แต่ละชาติแต่ละภาษาอาจมี
ระดับของการใช้ภาษาแบบเป็นทางการกับไม่เป็นทางการต่างกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การสื่อสารโดยท่าทาง
o เป็นการสื่อสารโดยใช้กริยาท่าทางการเคลื่อนไหว ทุกวัฒนธรรมมีการสื่อกันด้วยกริยาท่าทาง การแสดงออก
ทางสีหน้า ยกมือยกไม้ หรือกริยาอื่น
o การแสดงออกทางสีหน้าก็เป็นอีกลักษณะหนึ่งของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ทุกวัฒนธรรมมักใช้มือประกอบ
ท่าทางเวลาพูดเหมือนกัน บางครั้งการแสดงบางอย่างก็มีความหมาย เช่น การใช้นิ้วชี้กับนิ้วโป้ งทาเป็นรูป
วงกลมจะแสดงถึงว่าโอเค แต่ในญี่ปุ่นจะหมายถึงว่าเงิน แต่จะหมายถึงเรื่องลามกในบราซิล
 ระยะห่างในการสื่อสาร
o หมายถึงว่าคนเราใช้พื้นที่ในช่วงการเจรจากันห่างกันแค่ไหน ความรู้สึกต่าง ช่วยให้รับรู้ถึงความแตกต่างใน
ระยะห่างที่ต้องติดต่อกัน สิ่งที่มองเห็น กลิ่น การได้ยิน และการสัมผัส ล้วนแต่มีปฎิกิริยาต่อกันในลักษณะ
ความแตกต่างของพื้นที่ แต่ละสังคมจะมีระยะห่างในการติดต่อสื่อสารแตกต่างกันไป ผู้สนทนารู้สึกอึดอัดหาก
ว่าระยะห่างที่พูดคุยติดต่อกันไม่ได้กาหนดไว้อย่างเหมาะสมหรือถูกละเลยไป
 การสัมผัส
o การสัมผัสถือว่าเป็นรูปแบบการสื่อสารพื้นฐานอย่างหนึ่งของมนุษย์ ในการทักทายกันอาจมีการจับมือ
สวมกอด จูบในภาวะปกติเป็นประจา คนทั่วไปทักทายกันด้วยการสัมผัสซึ่งกันและกัน ซึ่งรากฐานเชิงลึกมาจาก
ค่านิยมทางวัฒนธรรม ชายรัสเซียมักจะใช้การจุมพิตทักทายผู้ชาย(นอกครอบครัวตนเอง)ด้วยกัน คนบราซิลใช้
การสวมกอด หากเป็นเด็กนักเรียนหญิงญี่ปุ่นก็จะใช้วิธีจับมือจูงกันไประหว่างเดิน โดยที่การสัมผัสกันกับคน
แปลกหน้าไม่เป็นสิ่งที่ปฏิบัติกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ขนาดของพื้นที่ก็มีผลต่อการสื่อให้ทราบถึงความหมายและแสดงถึงสถานะ
ตัวอย่างเช่น ขนาดพื้นที่ของห้องทางาน รวมทั้งการวางผังของห้อง ก็แสดงถึง
ความชอบของวัฒนธรรมนั้น
 อาคารสถานที่ก็เป็นสิ่งที่แสดงถึงค่านิยมและความรู้สึก
 การจัดสถานที่ย่อมบ่งบอกถึงวัฒนธรรม ในสังคมที่มีบริบทสูง เช่น ญี่ปุ่น การจัดที่นั่ง
ในที่ทางานมักจะมีการจัดรวมกันมีลักษณะเปิดโล่งและไม่มีพื้นที่ส่วนตัว จึงมี
ลักษณะของปทัสถานแบบกลุ่ม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 พื้นที่ส่วนบุคคลถือว่าเป็นอาณาบริเวณแสดงถึงความรู้สึกได้ของคนแต่ละชาติ
สาหรับคนอเมริกาเหนือ ระยะห่างระหว่างคนเวลาพูดคุยกันจะอยู่ที่ประมาณ 20
นิ้ว จะรู้สึกว่ากาลังดีผ่อนคลาย คนในแถบลาตินอเมริกาและตะวันออกกลางจะมี
ระยะห่างที่น้อยกว่า บางทีแทบจะหายใจรดกันเลยก็ว่าได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การสื่อสารมักมีปัญหาเรื่องของภาษาเสมอ เพราะต่างก็มักจะใช้ภาษาที่สองใน
การสื่อสารกันให้เข้าใจโดยเฉพาะภาษาอังกฤษซึ่งจะไม่ค่อยสันทัดด้วยกันทั้งสองฝ่าย
ดังนั้นในการทาธุรกิจระหว่างประเทศแล้วพูดได้มากกว่าหนึ่งภาษาย่อมได้เปรียบกว่า
และคนที่เข้าใจภาษาท้องถิ่นได้ด้วยก็จะได้ประโยชน์ในการทาความเข้าใจในวัฒนธรรม
นั้น ได้ดีกว่า
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เป็นหนทางหนึ่งในการช่วยสื่อสารกับคนต่างภาษาเพื่อให้ทั้งสองฝ่ายเข้าใจตรงกัน
และโดยเฉพาะในเรื่องสาคัญ ที่ต้องมีความเข้าใจที่ตรงกัน เช่น การจัดทาข้อตกลง
สัญญา เป็นต้น บทบาทของล่ามจะทาหน้าที่ในการแปลโดยตรงทันที โดยล่ามที่ดีไม่
เพียงแต่ต้องมีภาษาดี แต่ควรจะต้องมีความรู้ในเชิงเทคนิคในเรื่องดังกล่าวด้วย เพื่อ
สามารถที่จะทาความเข้าใจรายละเอียดให้มากที่สุดโดยเฉพาะในการเจรจาต่อรอง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ขอให้ใช้ภาษาที่ง่ายที่สุดทั้งคาและความหมาย
 ควรเลือกคาที่มีความหมายแปลได้น้อยความหมาย ถ้าเป็นไปได้ใช้คาที่มีความหมาย
ธรรมดา
 ใช้หลักไวยากรณ์แบบง่าย
 พูดด้วยความชัดเจนและหยุดเป็นจังหวะ เพื่อหึคู่สนทนาติดตามได้ทัน
 หลีกเลี่ยงคาที่มาจากสานวนในหนังสือต่าง
 หลีกเลี่ยงคาพูดที่ผู้ฟังต้องใช้จินตนาการในการทาความเข้าใจ
 ไม่ควรใช้คาสแลง
 ใช้คาที่คนท้องถิ่นดูจะคุ้นเคยกว่า
 มีการสรุปเป็นระยะ เพื่อย้าความเข้าใจ
 ทดสอบการสื่อสารของคุณ โดยไม่ควรถามว่า “คุณเข้าใจไหม” แต่ทดสอบโดยเลียบเคียง
ว่าได้ฟังอะไรบ้างและอาจกล่าวย้าบางท่อนดู
 เทื่อพูดแล้วอีกฝ่ายไม่เข้าใจควรมีการพูดซ้าโดยคาที่ง่ายกว่า ใช้คากริยา ประธานแบบง่าย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ในวัฒนธรรมของเราเอง เราแทบไม่ต้องตีความเพราะว่าเราทราบความหมายดีอยู่
แล้วว่าหมายถึงอะไร
 สิ่งที่อันตรายคือการที่เราเอาวัฒนธรรมของเราไปตีความวัฒนธรรมอื่น เพื่อความ
ปลอดภัยจะต้องมีการสังเกตและตีความให้ดี และไม่ควรใช้คาพูดที่มีแต่เราที่คุ้นเคย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. โดยปรกติแล้ว การเรียกชื่อคนมักจะเรียกที่นามสกุล และมักจะเขียนขึ้นต้นด้วยชื่อ
สกุลก่อน ชื่อแรก แต่ในบางประเทศ เช่น ลาตินอเมริกา หากใช้ชื่อว่า Angelo
Lopez Jardina อาจต้องเรียกว่า “Mr.Lopez” ซึ่งก็จะต้องจาไว้เวลา
เรียกชื่อหรืออาจเขียนไว้ในกระดาษเวลาจะเรียกชื่อใคร
2. ต้องมีการแต่งตัวให้เหมาะสมกับโอกาส การนุ่งกางเกงของสุภาพสตรีเข้าไปใน
บางพื้นที่อาจไม่เป็นที่ยอมรับเท่ากับสวมใส่กระโปรง ถ้าหากเข้าไปในวัฒนธรรม
ของหญิงที่มีการใส่ชุดส่าหรี ควรจะจะสวมใส่ชุดบางเบามากกว่าจะใส่ชุดสูทไป
ร่วมงาน แน่นอนว่าในเขตพื้นที่เช่น มัสยิดก็ไม่อนุญาติให้ส่วมใส่รองเท้า
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
3. พิจารณาด้วยว่าคุณกาลังเข้าไปทาธุรกิจในวัฒนธรรมที่มีบริบทสูงหรือต่า ควรจะ
คานึงถึงเวลาในแบบใด และอย่านัดหมายให้ตรงกับวันสาคัญหรือวันหยุดของ
ประเทศหรือวัฒนธรรมนั้น
4. ในบางสังคม การมองจ้องหน้ากันตรง ถือว่าไม่สุภาพ อย่างกรณีในญี่ปุ่น แต่ใน
อังกฤษ การไม่สบตากันถือว่าไม่สุภาพ ในเอเชียและอาหรับการนั่งไขว่ห้างจะถือ
ว่าไม่สุภาพเหมือนกับหงายฝ่าเท้าชี้ไปยังคนอื่นก็เหมือนกัน
5. คนจานวนมากก็มีการให้ของขวัญของกานัลกันในช่วงการทาธุรกิจแต่ในบาง
วัฒนธรรม เช่น ในสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นการติดสินบนกัน แต่บางประเทศ เช่น
จีน ถือเป็นเรื่องที่ต้องปฎิบัติ แต่การให้ของขวัญก็ต้องระวังด้วยในญี่ปุ่นอย่าให้
อะไรที่นับออกมารวมแล้วได้ 4 เป็นอันขาด เพราะเป็นสิ่งที่ไม่พึงปรารถนาเพราะ
นั่นหมายถึงอะไรที่เกี่ยวกับความตาย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
6. ในอังกฤษ การยกนิ้ว 2 นิ้ว ไขว้กันจะมีความหมายเหมือนกับเวลาคนอเมริกันยก
นิ้วกลางขึ้นมา 1 นิ้ว ซึ่งหมายถึงสิ่งไม่สุภาพ
7. ในแถบเอเชียตอนกลาง การับประทานอาหารแล้วยังเหลืออยู่จะแสดงว่าคุณไม่
ชอบอาหารนั้น ดังนั้นแนะนาว่าเวลาตักควรให้พอเหมาะ แต่หากเป็นประเทศจีน
การเหลืออาหารที่จานบ้างจะเป็นสัญญาณทางบวกว่าเจ้าภาพมีอาหารให้ทาน
อย่างเหลือเฟือพอเพียง และก็แนะนาว่าอย่ารับประทานอาหารด้วยมือซ้ายใน
มาเลเซียหรืออินเดีย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ตัวอย่างของความผิดพลาดทางวัฒนธรรมที่ควรให้ความใส่ใจเมื่อต้องทาธุรกิจข้ามชาติ
 ผู้จัดการบริษัทน้ามันปรุงอาหารบริษัทหนึ่งของอเมริกาพบว่าสินค้าของตนไม่อาจทาตลาด
ได้ในกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาเพราะว่าชื่อยี่ห้อนั้นเมื่อแปลออกมาเป็นภาษาสเปนแล้ว
หมายถึงว่า “น้ามันเจ้าลาโง่” ซึ่งคนคงไม่อยากซื้อไปใช้แน่
 บริษัทรถยนต์ของอเมริกาได้ตั้งชื่อรถรุ่นหนึ่งว่า มาทาดอร์ ซึ่งต้องการสื่อความหมายถึง
ความกล้าหาญและแข็งแกร่งนั่นเอง แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อนาไปจาหน่ายที่ประเทศ
เปอร์โตริโก คาเดียวกันนั้นกลับหมายถึง “นักฆ่า” จึงทาให้รถรุ่นนี้ไม่ได้รับความนิยมนัก
 ผู้จัดการฝ่ายขายแห่งหนึ่งในฮ่องกงพยายามที่จะควบคุมให้พนักงานเข้าทางานอย่างพร้อม
เพรียงตรงต่อเวลา ให้มีช่วงเวลาสายได้ 15 นาที พนักงานนั้นให้ความร่วมมือในการ
ทางานให้ตรงเวลา แต่ปรากฎว่าในตอนกลับนั้นพนักงานก็พร้อมใจกันกลับตรงเวลา
ถึงแม้ว่าจะยังมีงานคั่งค้างอยู่ก็ไม่สนใจผิดกับเมื่อตอนก่อนที่มักจะอยู่ทางานต่อหลังเวลา
งานจนเสร็จ ที่สุดแล้ว ผู้จัดการต้องยอมกลับมา ใช้ระบบเดิมที่ทุกคนพึงพอใจกว่า
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความแตกต่างในสไตล์การสื่อสารของวัฒนธรรมที่ต่างกัน
 ขั้นแรกก็คือคุณควรจะเข้าใจสไตล์การสื่อสารของตัวคุณเองและวัฒนธรรมของชาติ ดูว่ามีลักษณะอย่างไร
ก่อนที่จะไปทาความเข้าใจและความแตกต่างของวัฒนธรรมอื่น
 การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงความสับสน
◦ ขอให้ระมัดระวังการใช้คาพวกอุปมาอุปไมย
◦ หลีกเลี่ยงการใช้คาประโยคพวกที่เป็นเงื่อนไขคนต่างชาติมักจะเข้าใจสับสน
◦ ขอให้ระมัดระวังในเรื่องของนิสัยของอีกฝ่ายว่าเป็นอย่างไร
◦ ควรใช้ภาษาที่ง่ายที่สุด ใช้ศัพท์ที่ง่าย และสื่อสารอย่างตรง แต่หนักแน่น

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 

What's hot (20)

ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 

Similar to บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส11nueng11
 
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างบทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างTeetut Tresirichod
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaChapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaTeetut Tresirichod
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03Chaichan Boonmak
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาPonpirun Homsuwan
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศPuck Songpon
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านTeacher Sophonnawit
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างnattaya
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787CUPress
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001Thidarat Termphon
 

Similar to บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (20)

การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส
 
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างบทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaChapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
1
11
1
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้าง
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  มีภาษาที่ใช้อยู่ในโลกที่เป็นพื้นฐานประมาณ 3,000 ภาษา และก็มีสาเนียงที่ แตกต่างกันมาก ภาษาเป็นสิ่งสาคัญสาหรับวัฒนธรรมที่เพราะชี้ถึงความเป็นกลุ่มที่ เหมือนกัน ผู้จัดการที่บริหารบริษัทข้ามชาติจะต้องมีความเข้าใจตรงนี้ให้ดี บาง ประเทศมีภาษาที่เป็นทางการมากกว่าหนึ่งภาษาเช่น แคนาดา และเบลเยี่ยม การใช้ ภาษาที่ไม่ตรงกับกลุ่มเป้ าหมายอาจมีผลต่อความสาเร็จในการเจรจาต่อรอง  Benjamin Lee Whorf (1965) ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับภาษา พบว่า ทุกภาษามีข้อจากัดในการสื่อความทั้งนั้น คือไม่สามารถสื่อความหมายได้ครบ ทั้งหมดตามที่ต้องการ ภาษาเป็นสิ่งสะท้อนความคิด และเป็นตัวกาหนดรูปแบบทาง วัฒนธรรม
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ตัวแบบของ Hall ◦ Edward T. Hall(1976) ศึกษาวัฒนธรรมโดยเน้นที่รูปแบบของการสื่อสารและ เสนอแนะให้แยกสังคม โดยดูว่ากลุ่มมีการสื่อสารกันอย่างไร โดยแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ  1. บริบท คือ ปริมาณของข่าวสารที่ต้องการในการที่จะใช้เพื่อการแสดงออกไปในการสื่อสารกับอีก ฝ่ายหนึ่งเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดี  2. อาณาบริเวณหรือพื้นที่ : การสงวนพื้นที่ส่วนบุคคลไว้เพื่อเป็นวิธีที่จะสื่อสารกับอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น คนอเมริกาเหนือ เมื่อต้องการพูดคุยกัน อาจต้องการระยะห่างพอสมควร ในขณะที่คนเอเชียคุยกับ แบบใกล้ชิดกว่า  3. เวลา : มีการดาเนินเวลาในแบบเชิงเดี่ยว คือ ทากิจกรรมหนึ่งในเวลาหนึ่งให้แล้วเสร็จไป หรือ ประเภทการใช้เวลาแบบพหุ คือพยายามทาหลายกิจกรรมให้เสร็จพร้อม กันในเวลาเดียว  4. การลื่นไหลของข้อมูลข่าวสาร หมายถึงโครงสร้างของการกระจายข้อมูลระหว่างบุคคลและ องค์การเป็นอย่างไร
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  โดยรวมแล้วการศึกษาของ Hall เน้นหนักในเรื่องของบริบทของการสื่อสาร ว่า สื่อสารออกไปแล้วมีความชัดเจนมากน้อยแค่ไหน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ 1. แบบบริบทต่า คือ การสื่อสารและคาพูดที่แสดงออกไปมีความชัดเจนในตัวของมันเอง 2. แบบบริบทสูง คือ การสื่อสารในแบบที่เราไม่เข้าใจโดยทันที ต้องมีการตีความอีก ได้แก่ ญี่ปุ่น อาหรับ ลาตินอเมริกา อิตาลี อังกฤษ ฝรั่งเศษ อเมริกาเหนือ สแกนดิเนเวีย เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  นอกจากการพิจารณาการสื่อสารในรูปแบบบริบทสูงต่าดังกล่าวแล้ว จะเห็นได้ว่ายัง มีการสื่อสารที่เรียกว่าการสื่อสารโดยตรง คือการสื่อสารแบบตรงประเด็นและไม่มี ความเคลือบแคลงในความหมาย แต่ในทางตรงกันข้าม การสื่อแบบโดยอ้อม อาจ มองว่า การถามอะไรตรง เกินไปค่อนข้างไม่สุภาพ จึงชอบที่จะถามอะไรโดยมีนัย ต้องตีความมากกว่า  หรือในอีกทาง คือการสื่อความหมายที่เป็นแบบทางการ แต่ละชาติแต่ละภาษาอาจมี ระดับของการใช้ภาษาแบบเป็นทางการกับไม่เป็นทางการต่างกัน
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การสื่อสารโดยท่าทาง o เป็นการสื่อสารโดยใช้กริยาท่าทางการเคลื่อนไหว ทุกวัฒนธรรมมีการสื่อกันด้วยกริยาท่าทาง การแสดงออก ทางสีหน้า ยกมือยกไม้ หรือกริยาอื่น o การแสดงออกทางสีหน้าก็เป็นอีกลักษณะหนึ่งของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ทุกวัฒนธรรมมักใช้มือประกอบ ท่าทางเวลาพูดเหมือนกัน บางครั้งการแสดงบางอย่างก็มีความหมาย เช่น การใช้นิ้วชี้กับนิ้วโป้ งทาเป็นรูป วงกลมจะแสดงถึงว่าโอเค แต่ในญี่ปุ่นจะหมายถึงว่าเงิน แต่จะหมายถึงเรื่องลามกในบราซิล  ระยะห่างในการสื่อสาร o หมายถึงว่าคนเราใช้พื้นที่ในช่วงการเจรจากันห่างกันแค่ไหน ความรู้สึกต่าง ช่วยให้รับรู้ถึงความแตกต่างใน ระยะห่างที่ต้องติดต่อกัน สิ่งที่มองเห็น กลิ่น การได้ยิน และการสัมผัส ล้วนแต่มีปฎิกิริยาต่อกันในลักษณะ ความแตกต่างของพื้นที่ แต่ละสังคมจะมีระยะห่างในการติดต่อสื่อสารแตกต่างกันไป ผู้สนทนารู้สึกอึดอัดหาก ว่าระยะห่างที่พูดคุยติดต่อกันไม่ได้กาหนดไว้อย่างเหมาะสมหรือถูกละเลยไป  การสัมผัส o การสัมผัสถือว่าเป็นรูปแบบการสื่อสารพื้นฐานอย่างหนึ่งของมนุษย์ ในการทักทายกันอาจมีการจับมือ สวมกอด จูบในภาวะปกติเป็นประจา คนทั่วไปทักทายกันด้วยการสัมผัสซึ่งกันและกัน ซึ่งรากฐานเชิงลึกมาจาก ค่านิยมทางวัฒนธรรม ชายรัสเซียมักจะใช้การจุมพิตทักทายผู้ชาย(นอกครอบครัวตนเอง)ด้วยกัน คนบราซิลใช้ การสวมกอด หากเป็นเด็กนักเรียนหญิงญี่ปุ่นก็จะใช้วิธีจับมือจูงกันไประหว่างเดิน โดยที่การสัมผัสกันกับคน แปลกหน้าไม่เป็นสิ่งที่ปฏิบัติกัน
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ขนาดของพื้นที่ก็มีผลต่อการสื่อให้ทราบถึงความหมายและแสดงถึงสถานะ ตัวอย่างเช่น ขนาดพื้นที่ของห้องทางาน รวมทั้งการวางผังของห้อง ก็แสดงถึง ความชอบของวัฒนธรรมนั้น  อาคารสถานที่ก็เป็นสิ่งที่แสดงถึงค่านิยมและความรู้สึก  การจัดสถานที่ย่อมบ่งบอกถึงวัฒนธรรม ในสังคมที่มีบริบทสูง เช่น ญี่ปุ่น การจัดที่นั่ง ในที่ทางานมักจะมีการจัดรวมกันมีลักษณะเปิดโล่งและไม่มีพื้นที่ส่วนตัว จึงมี ลักษณะของปทัสถานแบบกลุ่ม
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  พื้นที่ส่วนบุคคลถือว่าเป็นอาณาบริเวณแสดงถึงความรู้สึกได้ของคนแต่ละชาติ สาหรับคนอเมริกาเหนือ ระยะห่างระหว่างคนเวลาพูดคุยกันจะอยู่ที่ประมาณ 20 นิ้ว จะรู้สึกว่ากาลังดีผ่อนคลาย คนในแถบลาตินอเมริกาและตะวันออกกลางจะมี ระยะห่างที่น้อยกว่า บางทีแทบจะหายใจรดกันเลยก็ว่าได้
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ การสื่อสารมักมีปัญหาเรื่องของภาษาเสมอ เพราะต่างก็มักจะใช้ภาษาที่สองใน การสื่อสารกันให้เข้าใจโดยเฉพาะภาษาอังกฤษซึ่งจะไม่ค่อยสันทัดด้วยกันทั้งสองฝ่าย ดังนั้นในการทาธุรกิจระหว่างประเทศแล้วพูดได้มากกว่าหนึ่งภาษาย่อมได้เปรียบกว่า และคนที่เข้าใจภาษาท้องถิ่นได้ด้วยก็จะได้ประโยชน์ในการทาความเข้าใจในวัฒนธรรม นั้น ได้ดีกว่า
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เป็นหนทางหนึ่งในการช่วยสื่อสารกับคนต่างภาษาเพื่อให้ทั้งสองฝ่ายเข้าใจตรงกัน และโดยเฉพาะในเรื่องสาคัญ ที่ต้องมีความเข้าใจที่ตรงกัน เช่น การจัดทาข้อตกลง สัญญา เป็นต้น บทบาทของล่ามจะทาหน้าที่ในการแปลโดยตรงทันที โดยล่ามที่ดีไม่ เพียงแต่ต้องมีภาษาดี แต่ควรจะต้องมีความรู้ในเชิงเทคนิคในเรื่องดังกล่าวด้วย เพื่อ สามารถที่จะทาความเข้าใจรายละเอียดให้มากที่สุดโดยเฉพาะในการเจรจาต่อรอง
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ขอให้ใช้ภาษาที่ง่ายที่สุดทั้งคาและความหมาย  ควรเลือกคาที่มีความหมายแปลได้น้อยความหมาย ถ้าเป็นไปได้ใช้คาที่มีความหมาย ธรรมดา  ใช้หลักไวยากรณ์แบบง่าย  พูดด้วยความชัดเจนและหยุดเป็นจังหวะ เพื่อหึคู่สนทนาติดตามได้ทัน  หลีกเลี่ยงคาที่มาจากสานวนในหนังสือต่าง  หลีกเลี่ยงคาพูดที่ผู้ฟังต้องใช้จินตนาการในการทาความเข้าใจ  ไม่ควรใช้คาสแลง  ใช้คาที่คนท้องถิ่นดูจะคุ้นเคยกว่า  มีการสรุปเป็นระยะ เพื่อย้าความเข้าใจ  ทดสอบการสื่อสารของคุณ โดยไม่ควรถามว่า “คุณเข้าใจไหม” แต่ทดสอบโดยเลียบเคียง ว่าได้ฟังอะไรบ้างและอาจกล่าวย้าบางท่อนดู  เทื่อพูดแล้วอีกฝ่ายไม่เข้าใจควรมีการพูดซ้าโดยคาที่ง่ายกว่า ใช้คากริยา ประธานแบบง่าย
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ในวัฒนธรรมของเราเอง เราแทบไม่ต้องตีความเพราะว่าเราทราบความหมายดีอยู่ แล้วว่าหมายถึงอะไร  สิ่งที่อันตรายคือการที่เราเอาวัฒนธรรมของเราไปตีความวัฒนธรรมอื่น เพื่อความ ปลอดภัยจะต้องมีการสังเกตและตีความให้ดี และไม่ควรใช้คาพูดที่มีแต่เราที่คุ้นเคย
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. โดยปรกติแล้ว การเรียกชื่อคนมักจะเรียกที่นามสกุล และมักจะเขียนขึ้นต้นด้วยชื่อ สกุลก่อน ชื่อแรก แต่ในบางประเทศ เช่น ลาตินอเมริกา หากใช้ชื่อว่า Angelo Lopez Jardina อาจต้องเรียกว่า “Mr.Lopez” ซึ่งก็จะต้องจาไว้เวลา เรียกชื่อหรืออาจเขียนไว้ในกระดาษเวลาจะเรียกชื่อใคร 2. ต้องมีการแต่งตัวให้เหมาะสมกับโอกาส การนุ่งกางเกงของสุภาพสตรีเข้าไปใน บางพื้นที่อาจไม่เป็นที่ยอมรับเท่ากับสวมใส่กระโปรง ถ้าหากเข้าไปในวัฒนธรรม ของหญิงที่มีการใส่ชุดส่าหรี ควรจะจะสวมใส่ชุดบางเบามากกว่าจะใส่ชุดสูทไป ร่วมงาน แน่นอนว่าในเขตพื้นที่เช่น มัสยิดก็ไม่อนุญาติให้ส่วมใส่รองเท้า
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3. พิจารณาด้วยว่าคุณกาลังเข้าไปทาธุรกิจในวัฒนธรรมที่มีบริบทสูงหรือต่า ควรจะ คานึงถึงเวลาในแบบใด และอย่านัดหมายให้ตรงกับวันสาคัญหรือวันหยุดของ ประเทศหรือวัฒนธรรมนั้น 4. ในบางสังคม การมองจ้องหน้ากันตรง ถือว่าไม่สุภาพ อย่างกรณีในญี่ปุ่น แต่ใน อังกฤษ การไม่สบตากันถือว่าไม่สุภาพ ในเอเชียและอาหรับการนั่งไขว่ห้างจะถือ ว่าไม่สุภาพเหมือนกับหงายฝ่าเท้าชี้ไปยังคนอื่นก็เหมือนกัน 5. คนจานวนมากก็มีการให้ของขวัญของกานัลกันในช่วงการทาธุรกิจแต่ในบาง วัฒนธรรม เช่น ในสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นการติดสินบนกัน แต่บางประเทศ เช่น จีน ถือเป็นเรื่องที่ต้องปฎิบัติ แต่การให้ของขวัญก็ต้องระวังด้วยในญี่ปุ่นอย่าให้ อะไรที่นับออกมารวมแล้วได้ 4 เป็นอันขาด เพราะเป็นสิ่งที่ไม่พึงปรารถนาเพราะ นั่นหมายถึงอะไรที่เกี่ยวกับความตาย
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6. ในอังกฤษ การยกนิ้ว 2 นิ้ว ไขว้กันจะมีความหมายเหมือนกับเวลาคนอเมริกันยก นิ้วกลางขึ้นมา 1 นิ้ว ซึ่งหมายถึงสิ่งไม่สุภาพ 7. ในแถบเอเชียตอนกลาง การับประทานอาหารแล้วยังเหลืออยู่จะแสดงว่าคุณไม่ ชอบอาหารนั้น ดังนั้นแนะนาว่าเวลาตักควรให้พอเหมาะ แต่หากเป็นประเทศจีน การเหลืออาหารที่จานบ้างจะเป็นสัญญาณทางบวกว่าเจ้าภาพมีอาหารให้ทาน อย่างเหลือเฟือพอเพียง และก็แนะนาว่าอย่ารับประทานอาหารด้วยมือซ้ายใน มาเลเซียหรืออินเดีย
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ตัวอย่างของความผิดพลาดทางวัฒนธรรมที่ควรให้ความใส่ใจเมื่อต้องทาธุรกิจข้ามชาติ  ผู้จัดการบริษัทน้ามันปรุงอาหารบริษัทหนึ่งของอเมริกาพบว่าสินค้าของตนไม่อาจทาตลาด ได้ในกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาเพราะว่าชื่อยี่ห้อนั้นเมื่อแปลออกมาเป็นภาษาสเปนแล้ว หมายถึงว่า “น้ามันเจ้าลาโง่” ซึ่งคนคงไม่อยากซื้อไปใช้แน่  บริษัทรถยนต์ของอเมริกาได้ตั้งชื่อรถรุ่นหนึ่งว่า มาทาดอร์ ซึ่งต้องการสื่อความหมายถึง ความกล้าหาญและแข็งแกร่งนั่นเอง แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อนาไปจาหน่ายที่ประเทศ เปอร์โตริโก คาเดียวกันนั้นกลับหมายถึง “นักฆ่า” จึงทาให้รถรุ่นนี้ไม่ได้รับความนิยมนัก  ผู้จัดการฝ่ายขายแห่งหนึ่งในฮ่องกงพยายามที่จะควบคุมให้พนักงานเข้าทางานอย่างพร้อม เพรียงตรงต่อเวลา ให้มีช่วงเวลาสายได้ 15 นาที พนักงานนั้นให้ความร่วมมือในการ ทางานให้ตรงเวลา แต่ปรากฎว่าในตอนกลับนั้นพนักงานก็พร้อมใจกันกลับตรงเวลา ถึงแม้ว่าจะยังมีงานคั่งค้างอยู่ก็ไม่สนใจผิดกับเมื่อตอนก่อนที่มักจะอยู่ทางานต่อหลังเวลา งานจนเสร็จ ที่สุดแล้ว ผู้จัดการต้องยอมกลับมา ใช้ระบบเดิมที่ทุกคนพึงพอใจกว่า
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความแตกต่างในสไตล์การสื่อสารของวัฒนธรรมที่ต่างกัน  ขั้นแรกก็คือคุณควรจะเข้าใจสไตล์การสื่อสารของตัวคุณเองและวัฒนธรรมของชาติ ดูว่ามีลักษณะอย่างไร ก่อนที่จะไปทาความเข้าใจและความแตกต่างของวัฒนธรรมอื่น  การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงความสับสน ◦ ขอให้ระมัดระวังการใช้คาพวกอุปมาอุปไมย ◦ หลีกเลี่ยงการใช้คาประโยคพวกที่เป็นเงื่อนไขคนต่างชาติมักจะเข้าใจสับสน ◦ ขอให้ระมัดระวังในเรื่องของนิสัยของอีกฝ่ายว่าเป็นอย่างไร ◦ ควรใช้ภาษาที่ง่ายที่สุด ใช้ศัพท์ที่ง่าย และสื่อสารอย่างตรง แต่หนักแน่น