SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บทที่ 16
ภาษามือหมวด ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียน
ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียนมีหลายหมวดที่น่าสนใจ ได้แก่ หมวดบุคคล หมวดของใช้ ตลอดจน
หมวดวิชาที่ใช้ในโรงเรียน ซึ่งเป็นภาษามือที่สาคัญในการจัดการศึกษาจนทาให้นักเรียนที่มีความ
บกพร่องทางการได้ยินสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ
1. ภาษามือหมวดบุคคลสาคัญในโรงเรียน
ภาษามือหมวดนี้มีการใช้ท่ามือที่ต้องใช้การนึกเป็นภาพ จึงจะเข้าใจภาษามือในคานั้นๆ
เช่น ครู ต้องตีความว่าครูคือคนที่สอนคน ดังนั้นท่ามือจึงเป็นท่าสอน แล้วก็ทาท่ามือคน ดังภาพ
ครู อาจารย์ ผู้สอน
ทำท่ำมือ ครู
นักเรียน
ทำท่ำมือ เรียน แต่แตะที่หน้ำผำกสองครั้ง
2. ภาษามือหมวดของใช้ในโรงเรียน
ในโรงเรียนมีของใช้ในส่วนต่างๆ มากมายไม่ว่าจะเป็นของใช้ของครู นักเรียนหรือ
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถทาท่ามือได้จากลักษณะการใช้ หรือว่ารูปร่างของสิ่งของนั้นๆ ดังภาพ
ต่อไปนี้
สมุด
พนมมือระดับหน้ำอกและเปิดมือกำงออก
โดยมือชิดกันอยู่
ดินสอ
ทำท่ำมือ สีดำ และทำท่ำมือ เขียน
131
ยางลบ
แบมือโดยมีมืออีกด้ำนหนึ่งกำไว้และยื่นนิ้วโป้งมำถูที่ฝ่ำ
มือ และห่อมือขยับเล็กน้อย
ไม้บรรทัด
ตั้งแขนระดับหน้ำอก ใช้แขนอีกข้ำงหนึ่งลูบจำกข้อศอก
ไปถึงปลำยนิ้ว
กระดาษ
แบมือทั้งสองข้ำงสลับกันและแตะมือสองครั้ง
ชอล์ก
กำมือโดยนิ้วชี้จรดกับนิ้วโป้งและเขียนในอำกำศ
3. ภาษามือหมวดวิชาเรียนในโรงเรียน
วิชาต่างๆ ในโรงเรียนมีภาษามือในการสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการ
ได้ยิน โดยในแต่ละวิชามีท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ ดังภาพต่อไปนี้
วิชา
ทำท่ำมือ ว และแตะที่ฝ่ำมืออีกข้ำงหนึ่งสองครั้ง
ภาษามือไทย
ทำท่ำมือ ภำษำมือ และทำท่ำมือ ไทย
132
ภาษาไทย
ทำท่ำมือ ไทย และทำท่ำมือ เลขสอง ขยับไปด้ำนข้ำง
ภาษาอังกฤษ
ทำท่ำมือเลขหนึ่งและขีดตำมภำพแล้วทำท่ำมือ ภำษำ
คณิตศาสตร์
ทำท่ำมือ เท่ำไหร่
วิทยาศาสตร์
กำมือสองข้ำงโดยมีนิ้วโป้งยื่นออกมำ และวนมือข้ำงใด
ข้ำงหนึ่งก่อนสลับกัน
สังคมศึกษา
ทำท่ำมือ เลขหนึ่ง ทั้งสองมือ และสลับหน้ำหลัง
พลศึกษา
คว่ำมือสองข้ำงระดับหน้ำอกและดึงเข้ำออก
4. การใช้ภาษามือในโรงเรียน
ครู : ไปไหนคะ นักเรียน : หนูจะไปเรียนคณิตศาสตร์ครับ
133
ครู : โชคดีคะ นักเรียน : ครับ
สรุป
ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียนประกอบไปด้วยคาศัพท์หมวดบุคคล ซึ่งมีบุคคลที่สาคัญในโรงเรียน
ได้แก่ ครูและนักเรียน ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรียนนั้นมีอุปกรณ์ที่บุคคลทั่วไปใช้ เช่น ดินสอ ปากกา
ยางลบ ไม้บรรทัด สมุด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีวิชาต่างๆ ที่ใช้ในโรงเรียน เช่น วิชาภาษาไทย วิชา
ภาษาอังกฤษ วิชาสังคม วิชาการออกแบบ วิชาสถาปัตยกรรม ซึ่งภาษามือคาต่างๆ นี้สามารถนามาใช้
ในชั้นเรียนได้และนามาสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
แบบฝึกท้ายบท
1. ให้นักศึกษาเขียนคาศัพท์ต่อไปนี้
1.1 ………………………………
1.2 ………………………………
1.3 ………………………………
134
1.4 ………………………………
1.5 ………………………………
2. ให้นักศึกษานาคาศัพท์ต่อไปนี้ทาเป็นรูปประโยคสนทนา
2.1 ครู
2.2 ดินสอ
2.3 วิชา
2.4 ภาษามือไทย
2.5 คณิตศาสตร์
135
เอกสารอ้างอิง
กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์.
ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 6. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
136

More Related Content

What's hot

บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12pop Jaturong
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14pop Jaturong
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10pop Jaturong
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆSukanda Panpetch
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะสมใจ จันสุกสี
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226Siriya Khaosri
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 

What's hot (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
005 ชุดที่ 1
005 ชุดที่ 1005 ชุดที่ 1
005 ชุดที่ 1
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
การยศาสตร์ (Ergonomics)
การยศาสตร์ (Ergonomics)การยศาสตร์ (Ergonomics)
การยศาสตร์ (Ergonomics)
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 

Similar to บทที่ 16

%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9Piyakan Phonphan
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4beta_t
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4FerNews
 
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfแบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfSophinyaDara
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8ฝฝ' ฝน
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้คุณครูพี่อั๋น
 
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Ptato Ok
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningSudkamon Play
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Ptato Ok
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามAon Narinchoti
 
THAI_Intensive_Thai_Textbook_for_Grade_1.pdf
THAI_Intensive_Thai_Textbook_for_Grade_1.pdfTHAI_Intensive_Thai_Textbook_for_Grade_1.pdf
THAI_Intensive_Thai_Textbook_for_Grade_1.pdfssuser3a5b071
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 

Similar to บทที่ 16 (20)

%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
Chapter 4
Chapter 4 Chapter 4
Chapter 4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfแบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
 
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
THAI_Intensive_Thai_Textbook_for_Grade_1.pdf
THAI_Intensive_Thai_Textbook_for_Grade_1.pdfTHAI_Intensive_Thai_Textbook_for_Grade_1.pdf
THAI_Intensive_Thai_Textbook_for_Grade_1.pdf
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

บทที่ 16

  • 1. บทที่ 16 ภาษามือหมวด ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียน ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียนมีหลายหมวดที่น่าสนใจ ได้แก่ หมวดบุคคล หมวดของใช้ ตลอดจน หมวดวิชาที่ใช้ในโรงเรียน ซึ่งเป็นภาษามือที่สาคัญในการจัดการศึกษาจนทาให้นักเรียนที่มีความ บกพร่องทางการได้ยินสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ 1. ภาษามือหมวดบุคคลสาคัญในโรงเรียน ภาษามือหมวดนี้มีการใช้ท่ามือที่ต้องใช้การนึกเป็นภาพ จึงจะเข้าใจภาษามือในคานั้นๆ เช่น ครู ต้องตีความว่าครูคือคนที่สอนคน ดังนั้นท่ามือจึงเป็นท่าสอน แล้วก็ทาท่ามือคน ดังภาพ ครู อาจารย์ ผู้สอน ทำท่ำมือ ครู นักเรียน ทำท่ำมือ เรียน แต่แตะที่หน้ำผำกสองครั้ง 2. ภาษามือหมวดของใช้ในโรงเรียน ในโรงเรียนมีของใช้ในส่วนต่างๆ มากมายไม่ว่าจะเป็นของใช้ของครู นักเรียนหรือ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถทาท่ามือได้จากลักษณะการใช้ หรือว่ารูปร่างของสิ่งของนั้นๆ ดังภาพ ต่อไปนี้ สมุด พนมมือระดับหน้ำอกและเปิดมือกำงออก โดยมือชิดกันอยู่ ดินสอ ทำท่ำมือ สีดำ และทำท่ำมือ เขียน
  • 2. 131 ยางลบ แบมือโดยมีมืออีกด้ำนหนึ่งกำไว้และยื่นนิ้วโป้งมำถูที่ฝ่ำ มือ และห่อมือขยับเล็กน้อย ไม้บรรทัด ตั้งแขนระดับหน้ำอก ใช้แขนอีกข้ำงหนึ่งลูบจำกข้อศอก ไปถึงปลำยนิ้ว กระดาษ แบมือทั้งสองข้ำงสลับกันและแตะมือสองครั้ง ชอล์ก กำมือโดยนิ้วชี้จรดกับนิ้วโป้งและเขียนในอำกำศ 3. ภาษามือหมวดวิชาเรียนในโรงเรียน วิชาต่างๆ ในโรงเรียนมีภาษามือในการสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการ ได้ยิน โดยในแต่ละวิชามีท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ ดังภาพต่อไปนี้ วิชา ทำท่ำมือ ว และแตะที่ฝ่ำมืออีกข้ำงหนึ่งสองครั้ง ภาษามือไทย ทำท่ำมือ ภำษำมือ และทำท่ำมือ ไทย
  • 3. 132 ภาษาไทย ทำท่ำมือ ไทย และทำท่ำมือ เลขสอง ขยับไปด้ำนข้ำง ภาษาอังกฤษ ทำท่ำมือเลขหนึ่งและขีดตำมภำพแล้วทำท่ำมือ ภำษำ คณิตศาสตร์ ทำท่ำมือ เท่ำไหร่ วิทยาศาสตร์ กำมือสองข้ำงโดยมีนิ้วโป้งยื่นออกมำ และวนมือข้ำงใด ข้ำงหนึ่งก่อนสลับกัน สังคมศึกษา ทำท่ำมือ เลขหนึ่ง ทั้งสองมือ และสลับหน้ำหลัง พลศึกษา คว่ำมือสองข้ำงระดับหน้ำอกและดึงเข้ำออก 4. การใช้ภาษามือในโรงเรียน ครู : ไปไหนคะ นักเรียน : หนูจะไปเรียนคณิตศาสตร์ครับ
  • 4. 133 ครู : โชคดีคะ นักเรียน : ครับ สรุป ภาษามือที่ใช้ในโรงเรียนประกอบไปด้วยคาศัพท์หมวดบุคคล ซึ่งมีบุคคลที่สาคัญในโรงเรียน ได้แก่ ครูและนักเรียน ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในโรงเรียนนั้นมีอุปกรณ์ที่บุคคลทั่วไปใช้ เช่น ดินสอ ปากกา ยางลบ ไม้บรรทัด สมุด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีวิชาต่างๆ ที่ใช้ในโรงเรียน เช่น วิชาภาษาไทย วิชา ภาษาอังกฤษ วิชาสังคม วิชาการออกแบบ วิชาสถาปัตยกรรม ซึ่งภาษามือคาต่างๆ นี้สามารถนามาใช้ ในชั้นเรียนได้และนามาสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษาเขียนคาศัพท์ต่อไปนี้ 1.1 ……………………………… 1.2 ……………………………… 1.3 ………………………………
  • 5. 134 1.4 ……………………………… 1.5 ……………………………… 2. ให้นักศึกษานาคาศัพท์ต่อไปนี้ทาเป็นรูปประโยคสนทนา 2.1 ครู 2.2 ดินสอ 2.3 วิชา 2.4 ภาษามือไทย 2.5 คณิตศาสตร์
  • 6. 135 เอกสารอ้างอิง กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์. ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 6. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
  • 7. 136