SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
บทที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย
ภาษามือเป็นภาษาแรกของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่ใช้ในการสื่อความหมาย
ระหว่างคนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินด้วยกันและกับบุคคลอื่นๆ เมื่อบุคคลที่มีความบกพร่อง
ทางการได้ยินเติบโตขึ้นจะต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่นมากขึ้น ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินจึงต้องเรียนรู้
วิธีการสื่อความหมายที่ใช้แทนการพูดกับผู้อื่นในสังคมด้วย เนื่องจากการสูญเสียการได้ยิน ผู้ที่มีความ
บกพร่องทางการได้ยินจึงต้องเรียนโดยการฝึกทักษะด้วยตนเองโดยการดูริมฝีปากผู้อื่นเพื่อเข้าใจความ
ต้องการของผู้พูด และแสดงท่าทางตอบผู้พูดด้วยการใช้มือทาท่าทางต่างๆ เพื่อแสดงให้รู้ว่าเข้าใจ
หรือไม่เข้าใจในการสนทนาหรือฟังคาบอกเล่าต่างๆ ได้ ถ้าพ่อแม่บอกให้ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้
ยินทากิจวัตรประจาวันหรือกิจกรรมบางอย่างที่เคยชิน ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินก็ตอบสนอง
และแสดงความเข้าใจด้วยการปฏิบัติที่ทาให้รู้ว่าตนเข้าใจและรับรู้การสื่อความหมาย
ความเป็นมาของภาษามือไทย
การใช้ภาษามือประดิษฐ์ในระยะแรกคุณหญิงกมลา ไกรฤกษ์ ซึ่งเป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก
ของเด็กนักเรียนหูหนวกที่โรงเรียนเศรษฐเสถียร ซึ่งท่านคิดทาขึ้นจากการไปศึกษาต่อจากต่างประเทศ
โดยเลือกที่เหมาะสมกับการสอนเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินในประเทศไทย ให้สามารถสื่อ
ความรู้ในการสอนการเรียนระหว่างครูกับศิษย์ได้
การคิดทาท่าภาษามือประดิษฐ์ขึ้นใช้ในการสอนและการเรียนของเด็กหูหนวกไม่สามารถทาได้
ครบทุกคาที่ใช้พูด ใช้เรียน หรือในชีวิตประจาวันเท่ากับภาษาของคนปกติ ดังนั้นต้องมีการใช้วิธีการ
อื่นๆ เข้ามาช่วยในการพูด การเรียน หรือใช้ในชีวิตประจาวันได้แก่การสะกดนิ้วมือ ซึ่งจะมี
รายละเอียดในหัวข้อต่อๆ ไป
ความหมายของภาษามือ
นักการศึกษาทางด้านการศึกษาของเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินได้ตกลงและยอมรับ
ว่าภาษามือเป็นภาษาหนึ่งสาหรับติดต่อสื่อความหมาย และกรมสามัญศึกษาได้ให้ความหมายของ
ภาษามือไว้ดังนี้
ภาษามือ คือ ภาษาสาหรับคนหูหนวก ใช้มือ สีหน้า และกิริยาท่าทางประกอบในการสื่อ
ความหมาย และถ่ายทอดอารมณ์แทนการพูด ภาษามือของแต่ละชาติมีความหมายแตกต่างกัน
เช่นเดียวกับภาษาพูด ซึ่งแตกต่างกันตามขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและลักษณะภูมิศาสตร์
3
เช่น ภาษามือจีน ภาษามืออเมริกา และภาษามือไทย เป็นต้น ภาษามือเป็นภาษาที่นักการศึกษา
ทางด้านการศึกษาของคนหูหนวกตกลงและยอมรับกันแล้วว่าเป็นภาษาหนึ่งสาหรับติดต่อสื่อความหมาย
ระหว่างคนหูหนวกกับหูหนวกด้วยกัน และระหว่างคนปกติกับคนหูหนวก (กรมสามัญศึกษา.
2536: 3)
ภาษามือเป็นระบบสื่อสารอย่างหนึ่งของคนหูหนวก “ผู้พูด” จะใช้มือทั้งสองข้างแสดง
ท่าทาง หรือแสดงการวางมือในตาแหน่งต่างๆ กัน แต่ละท่า/ตาแหน่งของมือมีความหมาย ถ้าต้องการ
สื่อความหมายเป็นประโยคก็แสดงท่ามือหลายๆ ท่า ตามความหมายของคานั้นๆ (ผดุง อารยวิญญู.
2542: 34)
ดังนั้น ภาษามือจึงเป็นภาษาที่จะใช้สื่อสารสาหรับคนหูหนวกกับคนหูนวกและคนหูหนวกกับ
คนหูดีที่สามารถใช้ภาษามือได้ โดยการใช้ท่ามือ สีหน้า ท่าทาง ตาแหน่งและการวางมือซึ่งมี
ความหมายเป็นคา และนาคาต่างๆ ประกอบกัน จนกลายเป็นประโยค ที่ช่วยในการจัดการเรียน
การสอนและใช้ในชีวิตประจาวัน
ชนิดของภาษามือ
ภาษามือ สาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ภาษามือ
ธรรมชาติและภาษามือประดิษฐ์ ซึ่งมีความเหมือนและแตกต่างกันดังนี้
1. ภาษามือธรรมชาติ คือ ภาษาท่าทางที่คนปกติและคนหูหนวกคิดทาขึ้น เพื่อใช้สื่อ
ความหมายและความเข้าใจในการการอยู่ร่วมกันบ้านในชุมชน เช่น พ่อแม่ ญาติและเพื่อนของ
คนหูหนวก คนหูหนวกจะแสดงท่าทางตอบรับการสื่อความหมายว่าตนเข้าใจหรือไม่เข้าใจอย่างไร ซึ่ง
อาจมีมากพอที่จะใช้ในการสนทนาโต้ตอบกันได้เช่นเดียวกับคนปกติที่ใช้ภาษาพูดในการสื่อ
ความหมายว่าตนเข้าใจอย่างไร ซึ่งอาจมากพอที่จะใช้ในการสนทนาโต้ตอบกันได้เช่นเดียวกับคนปกติ
ที่ใช้ภาษาพูดในการสื่อความหมายกัน ดังนั้นภาษามือธรรมชาติจึงมีความแตกต่างกันมากในแต่ละ
ครอบครัวและแต่ละท้องถิ่น
ในแต่ละท้องถิ่นภาษาถิ่นที่ใช้เรียกชื่อสิ่งของหรือแสดงอาการต่างๆ ของคนปกติ
ไม่เหมือนกันและยังมีขนบธรรมเนียม ประเพณี และศาสนาที่แตกต่างกัน จึงเป็นสาเหตุให้ภาษามือ
ธรรมชาติของแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย ดังนั้นคนหูหนวกที่อยู่ต่างท้องถิ่นกัน
จึงมีความลาบากในการสื่อความหมายซึ่งกันและกัน เมื่อเป็นเช่นนี้การให้การศึกษาแก่เด็กหูหนวกจึง
ต้องกาหนดภาษามือที่เป็นแกนกลาง เพื่อให้เป็นภาษาวิชาการที่ครูสอนเด็กหูหนวกใช้สอนได้
เหมือนกัน เปรียบได้กับภาษาภาคกลางเป็นภาษาราชการจึงเป็นภาษาวิชาการที่จะต้องสอนนักเรียน
ให้อ่านออกเขียนได้ ฟังและพูดภาษากลางในการสื่อความหมายกันได้ทั่วไปในประเทศไทย
4
2. ภาษามือประดิษฐ์ คือ ภาษามือที่ได้มาจากภาษามือธรรมชาติที่คนหูหนวกทาท่าทาง
แทนการพูด เรียกชื่อสิ่งของ เครื่องใช้ หรือแสดงอากัปกิริยาต่างๆ ที่แต่ละคนแต่ละท้องถิ่นใช้เหมือนๆ
กันนามารวบรวมให้ใช้ส่วนหนึ่ง และอีกส่วนหนึ่งมีการรวบรวมความคิด ความต้องการจากคนหูหนวก
และนักวิชาการคิดท่าทางสาหรับคาต่างๆ ขึ้น ภาษามือประดิษฐ์นี้จะต้องได้รับการยอมรับและ
นาไปใช้เพื่อการสอนการเรียนสาหรับคนหูหนวกในโรงเรียน บางท่าอาจได้มากจากการทาท่า
เลียนแบบภาษามือของต่างประเทศ มีบางท่าอาจได้มาจากการทาท่าเลียนแบบภาษามือของ
ต่างประเทศ มีบางคาที่ใช้กันในกลุ่มคนไทยและใช้เลียนแบบภาษาต่างประเทศก็มีอยู่หลายคา
การสะกดนิ้วมือภาษาอังกฤษและการสะกดนิ้วมือภาษาไทย
การสะกดนิ้วมือเป็นภาษามือประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้สะกดคาต่างๆ ให้อ่านเขียนจากหนังสือเรียน
หรือทาแบบฝึกหัดได้เช่นเดียวกับคนปกติ ในการทาภาษามือภาษาอังกฤษนั้นตามภาพดังนี้
แบบสะกดนิ้วมือภาษาอังกฤษ
A
กำมือเอำนิ้วโป้งไว้ข้ำงนิ้ว
B
แบมือพับนิ้วโป้งชิดผ่ำมือ
C
ทำมือรูปตัว c
D
งอนิ้วกลำง นิ้วนำงนิ้วก้อยลงให้
ปลำยนิ้วกลำงชนกับปลำย
นิ้วโป้งและชูนิ้วชี้ขึ้น
E
งอนิ้วทั้งหมดลงนำนิ้วโป้ง
วำงที่ปลำยนิ้วชี้
F
แบมือและนำนิ้วชี้แตะที่ปลำย
นิ้วโป้ง
G
กำมือนำนิ้วชี้ นิ้วโป้งออกมำให้
สองนิ้วขนำนกัน
H
กำมือนำนิ้วชี้และนิ้วกลำง
ออกมำชี้ไปด้ำนข้ำง
5
I
กำมือและชูนิ้วก้อย
J
ทำท่ำมือตัว I และหมุนมือเข้ำ
หำลำตัว
K
กำมือชูนิ้วชี้และนิ้วกลำงขึ้นนำ
นิ้วโป้งไปแตะที่นิ้วกลำง
L
กำมือชูนิ้วชี้และนิ้วโป้ง กำงออก
ให้เหมือนตัว L
M
กำมือเอำนิ้วโป้งสอดใส่
ระหว่ำงนิ้วนำงและนิ้วก้อย
N
กำมือเอำนิ้วโป้งสอดใส่ระหว่ำง
นิ้วกลำงและนิ้วนำง
O
ทำมือตัว C แต่นำปลำยนิ้วโป้ง
และนิ้วชี้ติดกัน
P
ทำมือตัว K และคว่ำมือให้นิ้วชี้
ชี้ไปด้ำนหน้ำ
Q
ทำมือตัว G แต่คว่ำมือลง
R
กำมือและนำนิ้วชี้และนิ้วกลำง
มำไขว้ทับกัน
S
กำมือตำมปกติ
T
กำมือเอำนิ้วโป้งสอดใส่ระหว่ำง
นิ้วชี้และนิ้วกลำง
U
กำมือชูนิ้วชี้และนิ้วกลำงขึ้น
นิ้วทั้งสองชิดกัน
V
ทำมือมือ U แต่นิ้วห่ำงกัน
W
กำมือและชูนิ้วชี้ นิ้วกลำงและ
นิ้วนำงขึ้น
X
กำมือและชูนิ้วชี้ขึ้น งอนิ้ว
เล็กน้อย
6
Y
กำมือและกำงนิ้วก้อยกับ
นิ้วโป้งออก
Z
กำมือชูนิ้วชี้และขยับนิ้วเป็นตัว
Z ในอำกำศ
จากแบบสะกดนิ้วมือภาษาอังกฤษข้างต้น พบว่าในภาษาอังกฤษมีพยัญชนะและสระ รวม
ทั้งหมด 25 ตัว การที่จะนามาใช้ในประเทศไทยนั้นต้องนาตัวอักษรมาเทียบเสียงโดยใช้แบบท่าทาง
อักษรที่มีเสียงตรงกัน ดังนี้
ก ตรงกับเสียง K ทาท่ามือดังนี้ ต ตรงกับเสียง T ทาท่ามือดังนี้
ส ตรงกับเสียง S ทาท่ามือดังนี้ พ ตรงกับเสียง P ทาท่ามือดังนี้
ห ตรงกับเสียง H ทาท่ามือดังนี้ บ ตรงกับเสียง B ทาท่ามือดังนี้
ร ตรงกับเสียง R ทาท่ามือดังนี้ ว ตรงกับเสียง W ทาท่ามือดังนี้
ด ตรงกับเสียง D ทาท่ามือดังนี้ ฟ ตรงกับเสียง F ทาท่ามือดังนี้
ล ตรงกับเสียง L ทาท่ามือดังนี้ จ ตรงกับเสียง J ทาท่ามือดังนี้
ย ตรงกับเสียง Y ทาท่ามือดังนี้ ม ตรงกับเสียง M ทาท่ามือดังนี้
น ตรงกับเสียง N ทาท่ามือดังนี้ อ ตรงกับเสียง A ทาท่ามือดังนี้
ในตัวอักษรบางตัวของภาษาไทยต้องใช้การผสมเสียงในภาษาอังกฤษ 2 ตัว จึงจะเป็นเสียง
พยัญชนะนั้นๆ ได้แก่ ตัวอักษร ง ตัวอักษร ท และตัวอักษร ฉ ต้องใช้ท่ามือ 2 ท่ารวมกัน เวลาทา
ภาษามือต้องทา 2 จังหวะ ดังนี้
ง ตรงกับเสียง NG ทาท่ามือดังนี้
7
ฉ ตรงกับเสียง CH ทาท่ามือดังนี้
ท ตรงกับเสียง TH ทาท่ามือดังนี้
นอกจากนี้การสะกดนิ้วมือภาษาไทยจะมีเสียงพยัญชนะสระ และวรรณยุกต์ที่แตกต่างจาก
ภาษาอังกฤษ ดังนั้นในการกาหนดท่าสะกดนิ้วมือสาหรับพยัญชนะที่มีเสียงเหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน
ได้แก่ ก ต ส พ ห ด ฟ ล ย น จะใช้ท่าสะกดนิ้วมือเป็นตัวเลขในเสียงที่แตกต่างออกไป เช่น ก ข ค ฆ
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ก เป็น ก ทาท่า ดังนี้ 1 ท่า
ข เป็น ก – 1 ทาท่า ดังนี้ 2 ท่า
ค เป็น ก – 2 ทาท่า ดังนี้ 2 ท่า
ฆ เป็น ก – 3 ทาท่า ดังนี้ 2 ท่า
8
จากการเทียบเสียงในรูปแบบต่างๆ ข้างต้น จึงได้แบบสะกดนิ้วมือภาษาไทยที่ใช้ในการเรียน
การสอนสาหรับบุคคลที่บกพร่องทางการได้ยินและเพื่อใช้ในการสื่อสาร ดังนี้
แบบสะกดนิ้วมือภาษามือไทย
ก ข ค ฆ ง จ
ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ
ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด
ต ถ ท ธ น บ
ป ผ ฝ พ ฟ ภ
ม ย ร ล ว ศ
9
ษ ส ห ฬ อ ฮ
การสะกดสระ วรรณยุกต์และสัญลักษณ์ สามารถสะกดสระ วรรณยุกต์และสัญลักษณ์ได้โดย
ใช้การเทียบเสียง และการชี้ที่ฝ่ามือ เช่น การเทียบเสียง สระอี ตรงกับเสียง e สระโอ ตรงกับเสียง o
สระไอ ตรงกับเสียง i นอกนั้นเป็นการชี้ที่ฝ่ามือ ตามภาพดังนี้
แบบสะกดสระ วรรณยุกต์และสัญลักษณ์
สระอะ สระอา ไม้หันอากาศ สระอา
สระอิ สระอี สระอึ สระอือ
10
สระอุ สระอู สระเอ สระแอ
สระโอ สระไอไม้ม้วน สระไอไม้มลาย ฤ (รึ)
ไม้เอก ไม้โท ไม้ตรี ไม้จัตวา
ในการจัดการเรียนการสอนของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินมีการสะกดคา
เหมือนกับคนหูปกติ แต่ใช้การสะกดนิ้วมือภาษาไทยจะต้องเรียงลาดับพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์
เช่นเดียวกับการพิมพ์ดีด ตัวอย่าง คาว่า ควาย ดังนี้
ตัวอย่าง คาว่า โต๊ะ
ค ว า ย
ย
11
เทคนิคการใช้ภาษามือเพื่อการสื่อสาร
การสอนภาษามือเป็นการสอนภาษาหนึ่งที่ต้องมีวิธีการสื่อสารและเทคนิคในการสื่อสารกับ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินไม่ว่าจะเป็นหลักการตั้งชื่อภาษามือ หลักการทาภาษามือ หลักใน
การแสดงสีหน้าและการเคลื่อนไหวตลอดจนโครงสร้างและไวยกรณ์ทางภาษา ซึ่งเป็นเทคนิคการใช้
ภาษามือที่จะทาให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ดังมีรายละเอียดดังนี้
1. การตั้งชื่อภาษามือ ในการสนทนาแต่ละครั้งสาหรับผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
จาเป็นต้องมีการใช้ชื่อภาษามือ ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกโดยใช้สัญลักษณ์ทามือที่บุคคลที่มีความบกพร่อง
ทางการได้ยินตั้งให้กับคู่สนทนา โดยมีหลักการตั้งชื่อภาษามือ ดังนี้
1.1 การตั้งชื่อจากลักษณะเด่นบนใบหน้า ไม่ว่าจะเป็น ตาโต คิ้วเข้ม ขนตางอน
ตลอดจน ไฝในบริเวณต่างๆ ของใบหน้า เช่น มีไฝที่ใต้ปากก็จะชี้ที่ใต้ปาก มีไฝข้างแก้มชี้ที่ข้างแก้ม
เป็นต้น
1.2 การตั้งชื่อจากลักษณะเด่นของการแต่งกายและเครื่องประดับ บุคคลที่มีความ
บกพร่องทางการได้ยิน เมื่อต้องการตั้งชื่อภาษามือจะดูการแต่งกายที่เด่นชัดในการตั้งชื่อภาษามือด้วย
เช่น ถ้าใส่กาไลอันใหญ่ ก็จะมีชื่อภาษามือโดยต้องทาท่าจับที่ข้อมือเหมือนการใส่กาไล เป็นต้น
1.3 การตั้งชื่อจากสัญลักษณ์เด่นร่วมกับตัวอักษร การตั้งชื่อในรูปแบบนี้จะดูลักษณะ
เด่นร่วมกับใช้ตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่น ใส่ต่างหูใหญ่และชื่อเล่นติ๊ก ดังนั้นชื่อภาษามือ
จะทาท่ามือตัว t และแตะที่ติ่งหู ซึ่งการตั้งชื่อแบบนี้สามารถแก้ปัญหาการตั้งชื่อภาษาซ้ากันได้เป็น
อย่างดี
2. หลักการทาภาษามือ ในการทาภาษามือเพื่อสื่อความหมายมีหลักสาคัญคือ จะต้องเป็น
ท่าที่ทาง่าย สะดวก รวดเร็ว มีความหมายใกล้เคียงธรรมชาติ และเหมาะสมกับหลักสรีรศาสตร์ ควรทา
อย่างมีจังหวะ มีการเว้นระยะ ไม่ทาเร็วหรือช้าเกินไป และอยู่รัศมีสายตาสามารถมองเห็นได้
การทาท่ามือเดียวหรือสองมืออยู่ที่ระดับสายตาที่มองเห็น
โ ต ไม้ตรี ะ
ะ
12
3. การแสดงสีหน้าและการเคลื่อนไหวของใบหน้าเป็นสิ่งสาคัญช่วยให้เข้าใจความหมายใน
ภาษามือชัดยิ่งขึ้น เช่น การปวดท้อง ปวดศีรษะต้องแสดงสีหน้าและท่าทางด้วย การขมวดคิ้วแสดง
ความสงสัย ใช่หรือไม่ การเลิกคิ้วแสดงคาถามที่ต้องการคาตอบ
4. โครงสร้างและไวยากรณ์ทางภาษา
3.1 ท่ามือ (The handshape) คือ การทามือเป็นท่าต่าง ๆ เช่น กามือเป็นท่าชกมวย
แบมือเป็นท่าตามใจ กางนิ้วเป็นท่าเลข 5 เป็นต้น
3.2 ตาแหน่งของมือ (The position of the hand) ตาแหน่งที่เกิดให้ความหมาย
ต่างกัน ถึงแม้ว่าท่ามือจะเป็นท่ามือแบบเดียวกัน เช่น ฉัน จะใช้นิ้วชี้ชี้ที่หน้าอก ส่วนคาว่า รู้ ใช้นิ้วชี้
ชี้ที่ขมับ เป็นต้น
3.3 การเคลื่อนไหวของมือ (The movement of the hand) ท่ามือเดียวกันหาก
เคลื่อนต่างกัน ความหมายก็จะต่างกัน เช่น ย่า กามือขยับขึ้นลงใต้คางและชี้ที่ตา ทาท่ามือ ย ส่วนคา
ว่า ยาย กามือขยับขึ้นลงใต้คางและทาท่ามือ ย และวน
3.4 ทิศทางของฝ่ามือ (The orientation of the palms in relationship to the
body or to each other) ท่ามือท่าเดียวกันตาแหน่งเดียวกัน แต่ทิศทางต่างกันความหมายที่ได้ จะ
ต่างกันด้วย เช่นของฉัน จะหันฝ่ามือทาบที่หน้าอก ส่วนคาว่าของเขา หันฝ่ามือออกจากกลางอกไป
ข้างหน้า
สรุป
ภาษามือเป็นภาษาที่จะใช้สื่อสารสาหรับคนหูหนวกกับคนหูหนวก และคนหูหนวกกับคนหูดี
ที่สามารถใช้ภาษามือได้ โดยการใช้ท่ามือ สีหน้า ท่าทาง ตาแหน่งและการวางมือ ซึ่งมีความหมายเป็น
คา และนาคาต่างๆ ประกอบกันจนกลายเป็นประโยคที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอนและใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ซึ่งแบ่งได้ 2 ชนิด ได้แก่ ภาษามือธรรมชาติและภาษามือประดิษฐ์ ซึ่งภาษามือ
ธรรมชาติ เป็นภาษาท่าทางที่คนหูหนวกคิดขึ้นเพื่อใช้ในการสื่อสารกับคนทั่วๆ ไปส่วนภาษามือ
ประดิษฐ์นั้นได้มาจากภาษามือที่คนหูหนวกใช้เรียกชื่อสิ่งของ เครื่องใช้หรืออากัปกิริยาต่างๆ ขึ้นอยู่กับ
ท้องถิ่นโดยมีโครงสร้างและไวยกรณ์ภาษามือ นอกจากภาษามือแล้วการสื่อสารกับคนหูหนวก
จาเป็นต้องมีการสะกดนิ้วมือไทยในบางคาด้วย ได้แก่ การสะกดพยัญชนะไทย ซึ่งการสะกดพยัญชนะ
ไทย สระ และวรรณยุกต์นั้น จะเทียบเสียงจากภาษามืออังกฤษ และสะกดนิ้วมือเป็นตัวๆ ไป จน
กลายเป็นคา เพื่อง่ายต่อการใช้งาน ทั้งนี้ในการสื่อสารด้วยภาษามือมีเทคนิคในการใช้ภาษามือ ได้แก่
ควรเป็นท่าที่ทาง่าย สะดวก รวดเร็ว มีความหมายใกล้เคียงธรรมชาติ ไม่ทาเร็วหรือช้าเกินไป มีการ
แสดงสีหน้าและการเคลื่อนไหวของใบหน้า ตลอดจนต้องคานึงถึงโครงสร้างและไวยากรณ์ทางภาษา
13
เช่น ท่ามือ ตาแหน่งมือ การเคลื่อนไหวของมือ ทิศทางของฝ่ามือ จึงจะทาให้การใช้ภาษามือถูกต้อง
ตรงตามความหมายที่ต้องการจะสื่อสาร
แบบฝึกท้ายบท
1. ให้อธิบายความหมายและชนิดของภาษามือ
2. ให้นักศึกษาเขียนแผนที่ความคิดเกี่ยวกับเทคนิคการใช้ภาษามือเพื่อการสื่อสาร ที่ได้รับ
ในครั้งนี้
3. นักศึกษาแปลประโยคต่อไปนี้
3.1 3.6
3.2 3.7
3.3 3.8
3.4 3.9
3.5 3.10
4. นักศึกษาสะกดนิ้วมือตามที่กาหนด
4.1 ชื่อแนะนามสกุลภาษาอังกฤษ
4.2 ชื่อและนามสกุลภาษาไทย
14
4.3 จังหวัดที่ตนเองมีถิ่นกาเนิด
เอกสารอ้างอิง
กรมสามัญศึกษา. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว .
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว .
ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1.
ไทยวัฒนาพานิช : กรุงเทพฯ.
วารี ถิระจิตร. (2545). การศึกษาสาหรับเด็กพิเศษ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์.
ผดุง อารยวิญญู. (2542). การศึกษาสาหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ. พิมพ์ครั้งที่ 2
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แว่นแก้ว.

More Related Content

What's hot

บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13pop Jaturong
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10pop Jaturong
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14pop Jaturong
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12pop Jaturong
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226Siriya Khaosri
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติsurang1
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 

What's hot (20)

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
Dichotomous key
Dichotomous keyDichotomous key
Dichotomous key
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 

Similar to บทที่ 1

9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารAom Chadaporn
 
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารAom Chadaporn
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
9789740329886
97897403298869789740329886
9789740329886CUPress
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001Thidarat Termphon
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03Chaichan Boonmak
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส11nueng11
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Similar to บทที่ 1 (20)

9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
 
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
9789740329886
97897403298869789740329886
9789740329886
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษาใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย ภาษามือเป็นภาษาแรกของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่ใช้ในการสื่อความหมาย ระหว่างคนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินด้วยกันและกับบุคคลอื่นๆ เมื่อบุคคลที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยินเติบโตขึ้นจะต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่นมากขึ้น ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินจึงต้องเรียนรู้ วิธีการสื่อความหมายที่ใช้แทนการพูดกับผู้อื่นในสังคมด้วย เนื่องจากการสูญเสียการได้ยิน ผู้ที่มีความ บกพร่องทางการได้ยินจึงต้องเรียนโดยการฝึกทักษะด้วยตนเองโดยการดูริมฝีปากผู้อื่นเพื่อเข้าใจความ ต้องการของผู้พูด และแสดงท่าทางตอบผู้พูดด้วยการใช้มือทาท่าทางต่างๆ เพื่อแสดงให้รู้ว่าเข้าใจ หรือไม่เข้าใจในการสนทนาหรือฟังคาบอกเล่าต่างๆ ได้ ถ้าพ่อแม่บอกให้ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ ยินทากิจวัตรประจาวันหรือกิจกรรมบางอย่างที่เคยชิน ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินก็ตอบสนอง และแสดงความเข้าใจด้วยการปฏิบัติที่ทาให้รู้ว่าตนเข้าใจและรับรู้การสื่อความหมาย ความเป็นมาของภาษามือไทย การใช้ภาษามือประดิษฐ์ในระยะแรกคุณหญิงกมลา ไกรฤกษ์ ซึ่งเป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก ของเด็กนักเรียนหูหนวกที่โรงเรียนเศรษฐเสถียร ซึ่งท่านคิดทาขึ้นจากการไปศึกษาต่อจากต่างประเทศ โดยเลือกที่เหมาะสมกับการสอนเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินในประเทศไทย ให้สามารถสื่อ ความรู้ในการสอนการเรียนระหว่างครูกับศิษย์ได้ การคิดทาท่าภาษามือประดิษฐ์ขึ้นใช้ในการสอนและการเรียนของเด็กหูหนวกไม่สามารถทาได้ ครบทุกคาที่ใช้พูด ใช้เรียน หรือในชีวิตประจาวันเท่ากับภาษาของคนปกติ ดังนั้นต้องมีการใช้วิธีการ อื่นๆ เข้ามาช่วยในการพูด การเรียน หรือใช้ในชีวิตประจาวันได้แก่การสะกดนิ้วมือ ซึ่งจะมี รายละเอียดในหัวข้อต่อๆ ไป ความหมายของภาษามือ นักการศึกษาทางด้านการศึกษาของเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินได้ตกลงและยอมรับ ว่าภาษามือเป็นภาษาหนึ่งสาหรับติดต่อสื่อความหมาย และกรมสามัญศึกษาได้ให้ความหมายของ ภาษามือไว้ดังนี้ ภาษามือ คือ ภาษาสาหรับคนหูหนวก ใช้มือ สีหน้า และกิริยาท่าทางประกอบในการสื่อ ความหมาย และถ่ายทอดอารมณ์แทนการพูด ภาษามือของแต่ละชาติมีความหมายแตกต่างกัน เช่นเดียวกับภาษาพูด ซึ่งแตกต่างกันตามขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและลักษณะภูมิศาสตร์
  • 2. 3 เช่น ภาษามือจีน ภาษามืออเมริกา และภาษามือไทย เป็นต้น ภาษามือเป็นภาษาที่นักการศึกษา ทางด้านการศึกษาของคนหูหนวกตกลงและยอมรับกันแล้วว่าเป็นภาษาหนึ่งสาหรับติดต่อสื่อความหมาย ระหว่างคนหูหนวกกับหูหนวกด้วยกัน และระหว่างคนปกติกับคนหูหนวก (กรมสามัญศึกษา. 2536: 3) ภาษามือเป็นระบบสื่อสารอย่างหนึ่งของคนหูหนวก “ผู้พูด” จะใช้มือทั้งสองข้างแสดง ท่าทาง หรือแสดงการวางมือในตาแหน่งต่างๆ กัน แต่ละท่า/ตาแหน่งของมือมีความหมาย ถ้าต้องการ สื่อความหมายเป็นประโยคก็แสดงท่ามือหลายๆ ท่า ตามความหมายของคานั้นๆ (ผดุง อารยวิญญู. 2542: 34) ดังนั้น ภาษามือจึงเป็นภาษาที่จะใช้สื่อสารสาหรับคนหูหนวกกับคนหูนวกและคนหูหนวกกับ คนหูดีที่สามารถใช้ภาษามือได้ โดยการใช้ท่ามือ สีหน้า ท่าทาง ตาแหน่งและการวางมือซึ่งมี ความหมายเป็นคา และนาคาต่างๆ ประกอบกัน จนกลายเป็นประโยค ที่ช่วยในการจัดการเรียน การสอนและใช้ในชีวิตประจาวัน ชนิดของภาษามือ ภาษามือ สาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ภาษามือ ธรรมชาติและภาษามือประดิษฐ์ ซึ่งมีความเหมือนและแตกต่างกันดังนี้ 1. ภาษามือธรรมชาติ คือ ภาษาท่าทางที่คนปกติและคนหูหนวกคิดทาขึ้น เพื่อใช้สื่อ ความหมายและความเข้าใจในการการอยู่ร่วมกันบ้านในชุมชน เช่น พ่อแม่ ญาติและเพื่อนของ คนหูหนวก คนหูหนวกจะแสดงท่าทางตอบรับการสื่อความหมายว่าตนเข้าใจหรือไม่เข้าใจอย่างไร ซึ่ง อาจมีมากพอที่จะใช้ในการสนทนาโต้ตอบกันได้เช่นเดียวกับคนปกติที่ใช้ภาษาพูดในการสื่อ ความหมายว่าตนเข้าใจอย่างไร ซึ่งอาจมากพอที่จะใช้ในการสนทนาโต้ตอบกันได้เช่นเดียวกับคนปกติ ที่ใช้ภาษาพูดในการสื่อความหมายกัน ดังนั้นภาษามือธรรมชาติจึงมีความแตกต่างกันมากในแต่ละ ครอบครัวและแต่ละท้องถิ่น ในแต่ละท้องถิ่นภาษาถิ่นที่ใช้เรียกชื่อสิ่งของหรือแสดงอาการต่างๆ ของคนปกติ ไม่เหมือนกันและยังมีขนบธรรมเนียม ประเพณี และศาสนาที่แตกต่างกัน จึงเป็นสาเหตุให้ภาษามือ ธรรมชาติของแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย ดังนั้นคนหูหนวกที่อยู่ต่างท้องถิ่นกัน จึงมีความลาบากในการสื่อความหมายซึ่งกันและกัน เมื่อเป็นเช่นนี้การให้การศึกษาแก่เด็กหูหนวกจึง ต้องกาหนดภาษามือที่เป็นแกนกลาง เพื่อให้เป็นภาษาวิชาการที่ครูสอนเด็กหูหนวกใช้สอนได้ เหมือนกัน เปรียบได้กับภาษาภาคกลางเป็นภาษาราชการจึงเป็นภาษาวิชาการที่จะต้องสอนนักเรียน ให้อ่านออกเขียนได้ ฟังและพูดภาษากลางในการสื่อความหมายกันได้ทั่วไปในประเทศไทย
  • 3. 4 2. ภาษามือประดิษฐ์ คือ ภาษามือที่ได้มาจากภาษามือธรรมชาติที่คนหูหนวกทาท่าทาง แทนการพูด เรียกชื่อสิ่งของ เครื่องใช้ หรือแสดงอากัปกิริยาต่างๆ ที่แต่ละคนแต่ละท้องถิ่นใช้เหมือนๆ กันนามารวบรวมให้ใช้ส่วนหนึ่ง และอีกส่วนหนึ่งมีการรวบรวมความคิด ความต้องการจากคนหูหนวก และนักวิชาการคิดท่าทางสาหรับคาต่างๆ ขึ้น ภาษามือประดิษฐ์นี้จะต้องได้รับการยอมรับและ นาไปใช้เพื่อการสอนการเรียนสาหรับคนหูหนวกในโรงเรียน บางท่าอาจได้มากจากการทาท่า เลียนแบบภาษามือของต่างประเทศ มีบางท่าอาจได้มาจากการทาท่าเลียนแบบภาษามือของ ต่างประเทศ มีบางคาที่ใช้กันในกลุ่มคนไทยและใช้เลียนแบบภาษาต่างประเทศก็มีอยู่หลายคา การสะกดนิ้วมือภาษาอังกฤษและการสะกดนิ้วมือภาษาไทย การสะกดนิ้วมือเป็นภาษามือประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้สะกดคาต่างๆ ให้อ่านเขียนจากหนังสือเรียน หรือทาแบบฝึกหัดได้เช่นเดียวกับคนปกติ ในการทาภาษามือภาษาอังกฤษนั้นตามภาพดังนี้ แบบสะกดนิ้วมือภาษาอังกฤษ A กำมือเอำนิ้วโป้งไว้ข้ำงนิ้ว B แบมือพับนิ้วโป้งชิดผ่ำมือ C ทำมือรูปตัว c D งอนิ้วกลำง นิ้วนำงนิ้วก้อยลงให้ ปลำยนิ้วกลำงชนกับปลำย นิ้วโป้งและชูนิ้วชี้ขึ้น E งอนิ้วทั้งหมดลงนำนิ้วโป้ง วำงที่ปลำยนิ้วชี้ F แบมือและนำนิ้วชี้แตะที่ปลำย นิ้วโป้ง G กำมือนำนิ้วชี้ นิ้วโป้งออกมำให้ สองนิ้วขนำนกัน H กำมือนำนิ้วชี้และนิ้วกลำง ออกมำชี้ไปด้ำนข้ำง
  • 4. 5 I กำมือและชูนิ้วก้อย J ทำท่ำมือตัว I และหมุนมือเข้ำ หำลำตัว K กำมือชูนิ้วชี้และนิ้วกลำงขึ้นนำ นิ้วโป้งไปแตะที่นิ้วกลำง L กำมือชูนิ้วชี้และนิ้วโป้ง กำงออก ให้เหมือนตัว L M กำมือเอำนิ้วโป้งสอดใส่ ระหว่ำงนิ้วนำงและนิ้วก้อย N กำมือเอำนิ้วโป้งสอดใส่ระหว่ำง นิ้วกลำงและนิ้วนำง O ทำมือตัว C แต่นำปลำยนิ้วโป้ง และนิ้วชี้ติดกัน P ทำมือตัว K และคว่ำมือให้นิ้วชี้ ชี้ไปด้ำนหน้ำ Q ทำมือตัว G แต่คว่ำมือลง R กำมือและนำนิ้วชี้และนิ้วกลำง มำไขว้ทับกัน S กำมือตำมปกติ T กำมือเอำนิ้วโป้งสอดใส่ระหว่ำง นิ้วชี้และนิ้วกลำง U กำมือชูนิ้วชี้และนิ้วกลำงขึ้น นิ้วทั้งสองชิดกัน V ทำมือมือ U แต่นิ้วห่ำงกัน W กำมือและชูนิ้วชี้ นิ้วกลำงและ นิ้วนำงขึ้น X กำมือและชูนิ้วชี้ขึ้น งอนิ้ว เล็กน้อย
  • 5. 6 Y กำมือและกำงนิ้วก้อยกับ นิ้วโป้งออก Z กำมือชูนิ้วชี้และขยับนิ้วเป็นตัว Z ในอำกำศ จากแบบสะกดนิ้วมือภาษาอังกฤษข้างต้น พบว่าในภาษาอังกฤษมีพยัญชนะและสระ รวม ทั้งหมด 25 ตัว การที่จะนามาใช้ในประเทศไทยนั้นต้องนาตัวอักษรมาเทียบเสียงโดยใช้แบบท่าทาง อักษรที่มีเสียงตรงกัน ดังนี้ ก ตรงกับเสียง K ทาท่ามือดังนี้ ต ตรงกับเสียง T ทาท่ามือดังนี้ ส ตรงกับเสียง S ทาท่ามือดังนี้ พ ตรงกับเสียง P ทาท่ามือดังนี้ ห ตรงกับเสียง H ทาท่ามือดังนี้ บ ตรงกับเสียง B ทาท่ามือดังนี้ ร ตรงกับเสียง R ทาท่ามือดังนี้ ว ตรงกับเสียง W ทาท่ามือดังนี้ ด ตรงกับเสียง D ทาท่ามือดังนี้ ฟ ตรงกับเสียง F ทาท่ามือดังนี้ ล ตรงกับเสียง L ทาท่ามือดังนี้ จ ตรงกับเสียง J ทาท่ามือดังนี้ ย ตรงกับเสียง Y ทาท่ามือดังนี้ ม ตรงกับเสียง M ทาท่ามือดังนี้ น ตรงกับเสียง N ทาท่ามือดังนี้ อ ตรงกับเสียง A ทาท่ามือดังนี้ ในตัวอักษรบางตัวของภาษาไทยต้องใช้การผสมเสียงในภาษาอังกฤษ 2 ตัว จึงจะเป็นเสียง พยัญชนะนั้นๆ ได้แก่ ตัวอักษร ง ตัวอักษร ท และตัวอักษร ฉ ต้องใช้ท่ามือ 2 ท่ารวมกัน เวลาทา ภาษามือต้องทา 2 จังหวะ ดังนี้ ง ตรงกับเสียง NG ทาท่ามือดังนี้
  • 6. 7 ฉ ตรงกับเสียง CH ทาท่ามือดังนี้ ท ตรงกับเสียง TH ทาท่ามือดังนี้ นอกจากนี้การสะกดนิ้วมือภาษาไทยจะมีเสียงพยัญชนะสระ และวรรณยุกต์ที่แตกต่างจาก ภาษาอังกฤษ ดังนั้นในการกาหนดท่าสะกดนิ้วมือสาหรับพยัญชนะที่มีเสียงเหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน ได้แก่ ก ต ส พ ห ด ฟ ล ย น จะใช้ท่าสะกดนิ้วมือเป็นตัวเลขในเสียงที่แตกต่างออกไป เช่น ก ข ค ฆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ก เป็น ก ทาท่า ดังนี้ 1 ท่า ข เป็น ก – 1 ทาท่า ดังนี้ 2 ท่า ค เป็น ก – 2 ทาท่า ดังนี้ 2 ท่า ฆ เป็น ก – 3 ทาท่า ดังนี้ 2 ท่า
  • 8. 9 ษ ส ห ฬ อ ฮ การสะกดสระ วรรณยุกต์และสัญลักษณ์ สามารถสะกดสระ วรรณยุกต์และสัญลักษณ์ได้โดย ใช้การเทียบเสียง และการชี้ที่ฝ่ามือ เช่น การเทียบเสียง สระอี ตรงกับเสียง e สระโอ ตรงกับเสียง o สระไอ ตรงกับเสียง i นอกนั้นเป็นการชี้ที่ฝ่ามือ ตามภาพดังนี้ แบบสะกดสระ วรรณยุกต์และสัญลักษณ์ สระอะ สระอา ไม้หันอากาศ สระอา สระอิ สระอี สระอึ สระอือ
  • 9. 10 สระอุ สระอู สระเอ สระแอ สระโอ สระไอไม้ม้วน สระไอไม้มลาย ฤ (รึ) ไม้เอก ไม้โท ไม้ตรี ไม้จัตวา ในการจัดการเรียนการสอนของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินมีการสะกดคา เหมือนกับคนหูปกติ แต่ใช้การสะกดนิ้วมือภาษาไทยจะต้องเรียงลาดับพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ เช่นเดียวกับการพิมพ์ดีด ตัวอย่าง คาว่า ควาย ดังนี้ ตัวอย่าง คาว่า โต๊ะ ค ว า ย ย
  • 10. 11 เทคนิคการใช้ภาษามือเพื่อการสื่อสาร การสอนภาษามือเป็นการสอนภาษาหนึ่งที่ต้องมีวิธีการสื่อสารและเทคนิคในการสื่อสารกับ บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินไม่ว่าจะเป็นหลักการตั้งชื่อภาษามือ หลักการทาภาษามือ หลักใน การแสดงสีหน้าและการเคลื่อนไหวตลอดจนโครงสร้างและไวยกรณ์ทางภาษา ซึ่งเป็นเทคนิคการใช้ ภาษามือที่จะทาให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ดังมีรายละเอียดดังนี้ 1. การตั้งชื่อภาษามือ ในการสนทนาแต่ละครั้งสาหรับผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน จาเป็นต้องมีการใช้ชื่อภาษามือ ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกโดยใช้สัญลักษณ์ทามือที่บุคคลที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยินตั้งให้กับคู่สนทนา โดยมีหลักการตั้งชื่อภาษามือ ดังนี้ 1.1 การตั้งชื่อจากลักษณะเด่นบนใบหน้า ไม่ว่าจะเป็น ตาโต คิ้วเข้ม ขนตางอน ตลอดจน ไฝในบริเวณต่างๆ ของใบหน้า เช่น มีไฝที่ใต้ปากก็จะชี้ที่ใต้ปาก มีไฝข้างแก้มชี้ที่ข้างแก้ม เป็นต้น 1.2 การตั้งชื่อจากลักษณะเด่นของการแต่งกายและเครื่องประดับ บุคคลที่มีความ บกพร่องทางการได้ยิน เมื่อต้องการตั้งชื่อภาษามือจะดูการแต่งกายที่เด่นชัดในการตั้งชื่อภาษามือด้วย เช่น ถ้าใส่กาไลอันใหญ่ ก็จะมีชื่อภาษามือโดยต้องทาท่าจับที่ข้อมือเหมือนการใส่กาไล เป็นต้น 1.3 การตั้งชื่อจากสัญลักษณ์เด่นร่วมกับตัวอักษร การตั้งชื่อในรูปแบบนี้จะดูลักษณะ เด่นร่วมกับใช้ตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่น ใส่ต่างหูใหญ่และชื่อเล่นติ๊ก ดังนั้นชื่อภาษามือ จะทาท่ามือตัว t และแตะที่ติ่งหู ซึ่งการตั้งชื่อแบบนี้สามารถแก้ปัญหาการตั้งชื่อภาษาซ้ากันได้เป็น อย่างดี 2. หลักการทาภาษามือ ในการทาภาษามือเพื่อสื่อความหมายมีหลักสาคัญคือ จะต้องเป็น ท่าที่ทาง่าย สะดวก รวดเร็ว มีความหมายใกล้เคียงธรรมชาติ และเหมาะสมกับหลักสรีรศาสตร์ ควรทา อย่างมีจังหวะ มีการเว้นระยะ ไม่ทาเร็วหรือช้าเกินไป และอยู่รัศมีสายตาสามารถมองเห็นได้ การทาท่ามือเดียวหรือสองมืออยู่ที่ระดับสายตาที่มองเห็น โ ต ไม้ตรี ะ ะ
  • 11. 12 3. การแสดงสีหน้าและการเคลื่อนไหวของใบหน้าเป็นสิ่งสาคัญช่วยให้เข้าใจความหมายใน ภาษามือชัดยิ่งขึ้น เช่น การปวดท้อง ปวดศีรษะต้องแสดงสีหน้าและท่าทางด้วย การขมวดคิ้วแสดง ความสงสัย ใช่หรือไม่ การเลิกคิ้วแสดงคาถามที่ต้องการคาตอบ 4. โครงสร้างและไวยากรณ์ทางภาษา 3.1 ท่ามือ (The handshape) คือ การทามือเป็นท่าต่าง ๆ เช่น กามือเป็นท่าชกมวย แบมือเป็นท่าตามใจ กางนิ้วเป็นท่าเลข 5 เป็นต้น 3.2 ตาแหน่งของมือ (The position of the hand) ตาแหน่งที่เกิดให้ความหมาย ต่างกัน ถึงแม้ว่าท่ามือจะเป็นท่ามือแบบเดียวกัน เช่น ฉัน จะใช้นิ้วชี้ชี้ที่หน้าอก ส่วนคาว่า รู้ ใช้นิ้วชี้ ชี้ที่ขมับ เป็นต้น 3.3 การเคลื่อนไหวของมือ (The movement of the hand) ท่ามือเดียวกันหาก เคลื่อนต่างกัน ความหมายก็จะต่างกัน เช่น ย่า กามือขยับขึ้นลงใต้คางและชี้ที่ตา ทาท่ามือ ย ส่วนคา ว่า ยาย กามือขยับขึ้นลงใต้คางและทาท่ามือ ย และวน 3.4 ทิศทางของฝ่ามือ (The orientation of the palms in relationship to the body or to each other) ท่ามือท่าเดียวกันตาแหน่งเดียวกัน แต่ทิศทางต่างกันความหมายที่ได้ จะ ต่างกันด้วย เช่นของฉัน จะหันฝ่ามือทาบที่หน้าอก ส่วนคาว่าของเขา หันฝ่ามือออกจากกลางอกไป ข้างหน้า สรุป ภาษามือเป็นภาษาที่จะใช้สื่อสารสาหรับคนหูหนวกกับคนหูหนวก และคนหูหนวกกับคนหูดี ที่สามารถใช้ภาษามือได้ โดยการใช้ท่ามือ สีหน้า ท่าทาง ตาแหน่งและการวางมือ ซึ่งมีความหมายเป็น คา และนาคาต่างๆ ประกอบกันจนกลายเป็นประโยคที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอนและใช้ใน ชีวิตประจาวัน ซึ่งแบ่งได้ 2 ชนิด ได้แก่ ภาษามือธรรมชาติและภาษามือประดิษฐ์ ซึ่งภาษามือ ธรรมชาติ เป็นภาษาท่าทางที่คนหูหนวกคิดขึ้นเพื่อใช้ในการสื่อสารกับคนทั่วๆ ไปส่วนภาษามือ ประดิษฐ์นั้นได้มาจากภาษามือที่คนหูหนวกใช้เรียกชื่อสิ่งของ เครื่องใช้หรืออากัปกิริยาต่างๆ ขึ้นอยู่กับ ท้องถิ่นโดยมีโครงสร้างและไวยกรณ์ภาษามือ นอกจากภาษามือแล้วการสื่อสารกับคนหูหนวก จาเป็นต้องมีการสะกดนิ้วมือไทยในบางคาด้วย ได้แก่ การสะกดพยัญชนะไทย ซึ่งการสะกดพยัญชนะ ไทย สระ และวรรณยุกต์นั้น จะเทียบเสียงจากภาษามืออังกฤษ และสะกดนิ้วมือเป็นตัวๆ ไป จน กลายเป็นคา เพื่อง่ายต่อการใช้งาน ทั้งนี้ในการสื่อสารด้วยภาษามือมีเทคนิคในการใช้ภาษามือ ได้แก่ ควรเป็นท่าที่ทาง่าย สะดวก รวดเร็ว มีความหมายใกล้เคียงธรรมชาติ ไม่ทาเร็วหรือช้าเกินไป มีการ แสดงสีหน้าและการเคลื่อนไหวของใบหน้า ตลอดจนต้องคานึงถึงโครงสร้างและไวยากรณ์ทางภาษา
  • 12. 13 เช่น ท่ามือ ตาแหน่งมือ การเคลื่อนไหวของมือ ทิศทางของฝ่ามือ จึงจะทาให้การใช้ภาษามือถูกต้อง ตรงตามความหมายที่ต้องการจะสื่อสาร แบบฝึกท้ายบท 1. ให้อธิบายความหมายและชนิดของภาษามือ 2. ให้นักศึกษาเขียนแผนที่ความคิดเกี่ยวกับเทคนิคการใช้ภาษามือเพื่อการสื่อสาร ที่ได้รับ ในครั้งนี้ 3. นักศึกษาแปลประโยคต่อไปนี้ 3.1 3.6 3.2 3.7 3.3 3.8 3.4 3.9 3.5 3.10 4. นักศึกษาสะกดนิ้วมือตามที่กาหนด 4.1 ชื่อแนะนามสกุลภาษาอังกฤษ 4.2 ชื่อและนามสกุลภาษาไทย
  • 13. 14 4.3 จังหวัดที่ตนเองมีถิ่นกาเนิด เอกสารอ้างอิง กรมสามัญศึกษา. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว . กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว . ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. ไทยวัฒนาพานิช : กรุงเทพฯ. วารี ถิระจิตร. (2545). การศึกษาสาหรับเด็กพิเศษ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์. ผดุง อารยวิญญู. (2542). การศึกษาสาหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แว่นแก้ว.