SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บทที่ 2
ภาษามือหมวด คาทักทาย
การทักทาย เป็นอารยธรรมที่งดงามยิ่งของมวลมนุษยชาติ เป็นสิ่งที่ควรเรียนรู้เป็นอันดับแรก
ซึ่งวิธีการทักทายนั้นอาจมีความแตกต่างกันไปแล้วแต่วัฒนธรรมของชาตินั้นๆ โดยปกติเมื่อคนหูหนวก
พบกัน มีการสนทนาและสบตากันหากไม่ได้มองหน้ากันคนหูหนวกมักจะเดินเข้าไปหาเพื่อน และแตะ
หลังศอกเพื่อทักทายด้วยท่ามือ ซึ่งเหมือนกับคนปกติที่ต้องมีการสื่อสารกัน
1. การทักทายและทาความรู้จัก
1.1 การสวัสดีเป็นการทักทายของคนไทยที่ใช้เมื่อพบกันและจากกัน สาหรับบุคคลที่มี
ความบกพร่องทางการได้ยิน การสวัสดีสาหรับผู้ใหญ่จะใช้การไหว้ ส่วนการสวัสดีเพื่อนหรือบุคคลที่
อายุน้อยกว่าจะนามือไปแตะที่หน้าผากเพื่อเป็นการทักทายกัน ดังนี้
สวัสดี (ผู้ใหญ่)
พนมมือระดับหน้าอก
สวัสดี(เพื่อน/น้อง)
แบมือและแตะที่หน้าผากเลื่อนมือลงตามลูกศร
1.2 การกล่าวขอบคุณสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้นถ้าเป็นการกล่าว
ขอบคุณสาหรับผู้ใหญ่จะใช้การพนมมือ ส่วนการขอบคุณเพื่อนหรือว่าบุคคลที่มีอายุน้อยกว่าจะใช้มือ
ข้างหนึ่งวางที่หน้าอกและลากไปด้านข้าง ดังนี้
16
ขอบคุณ (ผู้ใหญ่)
พนมมือระดับหน้าอกและก้มตัว
ขอบคุณ(เพื่อน/น้อง)
ตั้งมือขึ้นในระดับอกเลื่อนมือไปทางหัวไหล่
1.3 การขอโทษสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้นถ้าเป็นการขอโทษ
ผู้ใหญ่จะพนมมือขึ้นและค้อมตัว ส่วนการขอโทษเพื่อนและบุคคลที่อายุน้อยกว่าให้ลูบฝ่ามือ ดังนี้
ขอโทษ(ผู้ใหญ่)
พนมมือระดับหน้าอกและก้มตัว
ขอโทษ (เพื่อน/น้อง)
แบมือทั้งสองประกบกัน และลูบเป็นวง
1.4 การทาความรู้จักคู่สนทนาเมื่อบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินพบกับผู้ใหญ่
เพื่อนหรือว่าน้องจะทักทายและทาความรู้จักเบื้องต้นก่อนโดยจะถามชื่อภาษามือ ถ้าไม่มีชื่อภาษามือ
ก็จะถามถึงชื่อ นามสกุล และสนทนาเพียงเล็กน้อยโดยใช้ท่าทาง
ชื่อภาษามือ
มือทั้งสองทาท่ามือชื่อ สองและนามาวางทับกัน
แล้วแบมือสองข้างหันเข้าหากันหมุนมือสลับกัน
ชื่อสะกดนิ้วมือ
ทาท่ามือชื่อและทาท่ามือสะกดนิ้วมือ
ชื่อ
ทาท่ามือสองทั้งสองมือและนามากระทบกัน
นามสกุล
ทาท่ามือชื่อ และทาท่ามือและสอง
17
2. การแสดงความรู้สึก
การแสดงความรู้สึกสาหรับบุคคลทั่วๆ ไปจะใช้น้าเสียงท่าทาง และคาพูดในการแสดง
ความรู้สึก ส่วนบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้นจะแสดงความรู้สึกด้วยสีหน้าและท่าทาง
ประกอบกับการทาสัญลักษณ์ภาษามือเพื่อแสดงความรู้สึกต่างๆให้คนรอบๆตัวได้รู้
2.1 การใช้ภาษามือคาว่า สบายดีไหมและเราจะตอบว่า สบายดี บุคคลที่มีความ
บกพร่องทางการได้ยินใช้ท่ามือเดียวกัน แต่ต่างกันที่ท่าทางและสีหน้า เช่น เมื่อถามว่า สบายดีไหม
ผู้ทาต้องทาท่ามือพร้อมกับเลิกคิ้วขึ้น ส่วนผู้ตอบทาท่ามือพร้อมกับหน้าที่ยิ้มแย้มนี่คือการตอบว่า
สบายดี ถ้าไม่สบายก็แบมือออกแตะหน้าผากพร้อมทาหน้าเศร้า ดังนี้
สบายดี
แบมือทั้งสองข้างแล้ววางมือแตะเหนือหน้าอกเลื่อนมือ
ออกมาทางหัวไหล่
ไม่สบาย(ป่วย)
แบมือออกแตะหน้าผากพร้อมทาหน้าเศร้า
2.2 การแสดงความรู้สึก รัก เกลียด หรือว่าจะบอกว่าเราชอบหรือไม่ชอบอะไรนั้นก็
สามารถทาภาษามือเพื่อสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินได้เหมือนกัน ส่วนการขยาย
ความรู้สึกต้องใช้สีหน้าท่าทาง เช่น รักมาก ก็ให้ทาท่าภาษามือและทาสีหน้ารักมากไปด้วยถ้าไม่แสดง
สีหน้าแล้วทาท่ามือ ความรู้สึกที่เราจะบอกก็จะผิดเพี้ยนไป ดังนี้
รัก เกลียด
18
แบบมือทั้งสองข้างทับกันที่หน้าอก กามือทั้งสองข้างและปล่อยมือออกไปด้านข้าง
ชอบ
นิ้วชี้และนิ้วโป้งหยิบที่หัวใจดึงออกมา
ไม่ชอบ
ทาท่าชอบและค่อยส่ายมือไปมา
3. การถามเพื่อใช้ในการสนทนา
การสนทนาทักทายกันนั้นจะมีการซักถามคาถามเพื่อให้เกิดความคุ้นเคยสนิทสนมกัน
มากขึ้น เช่นการถามว่าคนหูดีใช่ไหม การถามว่าจะไปไหน การถามว่าไปทาไม เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
และสนทนากันได้อย่างมีความหมาย จึงจาเป็นต้องใช้คาศัพท์ต่อไปนี้ในการสนทนา ดังนี้
คนหูดี
ชี้ที่หูโดยใช้นิ้วชี้และดึงมือออกมาชูนิ้วโป้ง
คนหูหนวก
ทาท่ามือเลขสองแตะที่หูลูบลงมาแตะที่ปาก
ที่ไหน
ทาท่ามือเลข หนึ่ง ขยับไปมา
ทาไม
แบมือแตะที่หน้าผากและดึงลงมาอยู่ในท่า ย
19
ใคร
ชี้ที่หน้าและวาดเป็นวงกลม
อะไร
แบมือและดีดนิ้วกลางสองครั้ง
4. คาที่ใช้เพื่อจบคาสนทนา
คาที่ใช้เพื่อการจบคาสนทนา ส่วนใหญ่ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินจะใช้คาว่า
โชคดีโดยจะทาท่ามือ เป็นตัว f และขยับไปมา และเดินถอยหลังจากคู่สนทนาของตนเองซึ่งจะทาให้
ทราบว่าจบการสนทนาแล้ว ในบางครั้งจะใช้คาว่า พบกันใหม่ ซึ่งทาท่ามือพบและทาท่ามือหนึ่งและ
หมุน แล้วค่อยๆ เดินจากกันไป ก็แสดงว่าจบการสนทนาเช่นกัน
โชคดี
ทาท่ามือ f ขยับไปมา
พบกันใหม่
ทาท่ามือพบและทาท่ามือหนึ่งและหมุน
5. การสนทนาในหมวดคาทักทาย
การสนทนากับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้น สามารถใช้คาศัพท์ภาษามือ
มาใช้ในการสนทนาร่วมกับการแสดงสีหน้าท่าทาง เช่น สบายดีไหม ก็ใช้คาศัพท์ภาษามือสบายดี และ
เลิกคิ้วขึ้นเพื่อแสดงสีหน้าของการสงสัย อยากรู้ ตามภาพต่อไปนี้
20
คุณชื่ออะไรครับ ฉันชื่อใกล้รุ่ง
คุณสบายดีไหมครับ ฉันสบายดีคะ
สรุป
ภาษามือหมวดคาทักทายเป็นสิ่งที่ควรรู้เป็นอันดับแรกซึ่งเริ่มจาการทักทายทาความรู้จัก
สวัสดี การกล่าวขอบคุณ การกล่าวขอโทษ การทาความรู้จักคู่สนทนาโดยการถามชื่อภาษามือหรือ
การถามชื่อ นามสกุลตลอดจนพูดคุยทาความรู้จักกัน นอกจากนี้การแสดงความรู้สึกเมื่อเริ่มการสนทนา
คือการถามทุกข์ สุข ของคู่สนทนาและเพื่อให้การสนทนาเกิดความคุ้นเคยมากขึ้น เช่น การถามว่าจะ
ไปไหน การถามว่าไปทาไม และเมื่อจบการสนทนาก็มีคาลา เช่น พบกันใหม่ โชคดี เพื่อจบการสนทนา
จะเห็นได้ว่าการสนทนาภาษามือสามารถสื่อสารได้เช่นเดียวกับคนทั่วๆไป เพียงแต่เราต้องศึกษาภาษา
มือให้ได้ถูกต้องเสียก่อน
แบบฝึกท้ายบท
1. นักศึกษาดูภาพต่อไปนี้และเลือกคาตอบให้ถูกต้อง
ก ข ค ง
21
1.1 การสวัสดีผู้ใหญ่
1.2 การสวัสดีเพื่อนหรือบุคคลอายุน้อยกว่า
1.3 การขอโทษผู้ใหญ่
1.4 การขอโทษเพื่อนกันหรืออายุน้อยกว่า
1.5 การขอบคุณผู้ใหญ่
1.6 การขอบคุณเพื่อนกันหรืออายุน้อยกว่า
2. ให้นักศึกษาจับคู่และสนทนากันเป็นภาษามือ (หน้าชั้นเรียน)
เอกสารอ้างอิง
กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์.
ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทยเล่ม 1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
พจนานุกรมออนไลน์ . (2555). คาทักทาย. (ออนไลน์). http://www.kusolsuksa.com
วันที่สืบค้น 24 ส.ค. 55
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
22
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.

More Related Content

What's hot

บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13pop Jaturong
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10pop Jaturong
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14pop Jaturong
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12pop Jaturong
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226Siriya Khaosri
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
คู่มือบริหารร้านค้าปลีก
คู่มือบริหารร้านค้าปลีกคู่มือบริหารร้านค้าปลีก
คู่มือบริหารร้านค้าปลีกUtai Sukviwatsirikul
 
สื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้า
สื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้าสื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้า
สื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้าBeerza Kub
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายของวัฒนธรรม
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายของวัฒนธรรมเรียงความเรื่อง ความหลากหลายของวัฒนธรรม
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายของวัฒนธรรมMim Papatchaya
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 

What's hot (20)

บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
คู่มือบริหารร้านค้าปลีก
คู่มือบริหารร้านค้าปลีกคู่มือบริหารร้านค้าปลีก
คู่มือบริหารร้านค้าปลีก
 
สื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้า
สื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้าสื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้า
สื่อการสอน บทที่ 2 การดูแลรักษาเสื้อผ้า
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายของวัฒนธรรม
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายของวัฒนธรรมเรียงความเรื่อง ความหลากหลายของวัฒนธรรม
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายของวัฒนธรรม
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 ภาษามือหมวด คาทักทาย การทักทาย เป็นอารยธรรมที่งดงามยิ่งของมวลมนุษยชาติ เป็นสิ่งที่ควรเรียนรู้เป็นอันดับแรก ซึ่งวิธีการทักทายนั้นอาจมีความแตกต่างกันไปแล้วแต่วัฒนธรรมของชาตินั้นๆ โดยปกติเมื่อคนหูหนวก พบกัน มีการสนทนาและสบตากันหากไม่ได้มองหน้ากันคนหูหนวกมักจะเดินเข้าไปหาเพื่อน และแตะ หลังศอกเพื่อทักทายด้วยท่ามือ ซึ่งเหมือนกับคนปกติที่ต้องมีการสื่อสารกัน 1. การทักทายและทาความรู้จัก 1.1 การสวัสดีเป็นการทักทายของคนไทยที่ใช้เมื่อพบกันและจากกัน สาหรับบุคคลที่มี ความบกพร่องทางการได้ยิน การสวัสดีสาหรับผู้ใหญ่จะใช้การไหว้ ส่วนการสวัสดีเพื่อนหรือบุคคลที่ อายุน้อยกว่าจะนามือไปแตะที่หน้าผากเพื่อเป็นการทักทายกัน ดังนี้ สวัสดี (ผู้ใหญ่) พนมมือระดับหน้าอก สวัสดี(เพื่อน/น้อง) แบมือและแตะที่หน้าผากเลื่อนมือลงตามลูกศร 1.2 การกล่าวขอบคุณสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้นถ้าเป็นการกล่าว ขอบคุณสาหรับผู้ใหญ่จะใช้การพนมมือ ส่วนการขอบคุณเพื่อนหรือว่าบุคคลที่มีอายุน้อยกว่าจะใช้มือ ข้างหนึ่งวางที่หน้าอกและลากไปด้านข้าง ดังนี้
  • 2. 16 ขอบคุณ (ผู้ใหญ่) พนมมือระดับหน้าอกและก้มตัว ขอบคุณ(เพื่อน/น้อง) ตั้งมือขึ้นในระดับอกเลื่อนมือไปทางหัวไหล่ 1.3 การขอโทษสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้นถ้าเป็นการขอโทษ ผู้ใหญ่จะพนมมือขึ้นและค้อมตัว ส่วนการขอโทษเพื่อนและบุคคลที่อายุน้อยกว่าให้ลูบฝ่ามือ ดังนี้ ขอโทษ(ผู้ใหญ่) พนมมือระดับหน้าอกและก้มตัว ขอโทษ (เพื่อน/น้อง) แบมือทั้งสองประกบกัน และลูบเป็นวง 1.4 การทาความรู้จักคู่สนทนาเมื่อบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินพบกับผู้ใหญ่ เพื่อนหรือว่าน้องจะทักทายและทาความรู้จักเบื้องต้นก่อนโดยจะถามชื่อภาษามือ ถ้าไม่มีชื่อภาษามือ ก็จะถามถึงชื่อ นามสกุล และสนทนาเพียงเล็กน้อยโดยใช้ท่าทาง ชื่อภาษามือ มือทั้งสองทาท่ามือชื่อ สองและนามาวางทับกัน แล้วแบมือสองข้างหันเข้าหากันหมุนมือสลับกัน ชื่อสะกดนิ้วมือ ทาท่ามือชื่อและทาท่ามือสะกดนิ้วมือ ชื่อ ทาท่ามือสองทั้งสองมือและนามากระทบกัน นามสกุล ทาท่ามือชื่อ และทาท่ามือและสอง
  • 3. 17 2. การแสดงความรู้สึก การแสดงความรู้สึกสาหรับบุคคลทั่วๆ ไปจะใช้น้าเสียงท่าทาง และคาพูดในการแสดง ความรู้สึก ส่วนบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้นจะแสดงความรู้สึกด้วยสีหน้าและท่าทาง ประกอบกับการทาสัญลักษณ์ภาษามือเพื่อแสดงความรู้สึกต่างๆให้คนรอบๆตัวได้รู้ 2.1 การใช้ภาษามือคาว่า สบายดีไหมและเราจะตอบว่า สบายดี บุคคลที่มีความ บกพร่องทางการได้ยินใช้ท่ามือเดียวกัน แต่ต่างกันที่ท่าทางและสีหน้า เช่น เมื่อถามว่า สบายดีไหม ผู้ทาต้องทาท่ามือพร้อมกับเลิกคิ้วขึ้น ส่วนผู้ตอบทาท่ามือพร้อมกับหน้าที่ยิ้มแย้มนี่คือการตอบว่า สบายดี ถ้าไม่สบายก็แบมือออกแตะหน้าผากพร้อมทาหน้าเศร้า ดังนี้ สบายดี แบมือทั้งสองข้างแล้ววางมือแตะเหนือหน้าอกเลื่อนมือ ออกมาทางหัวไหล่ ไม่สบาย(ป่วย) แบมือออกแตะหน้าผากพร้อมทาหน้าเศร้า 2.2 การแสดงความรู้สึก รัก เกลียด หรือว่าจะบอกว่าเราชอบหรือไม่ชอบอะไรนั้นก็ สามารถทาภาษามือเพื่อสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินได้เหมือนกัน ส่วนการขยาย ความรู้สึกต้องใช้สีหน้าท่าทาง เช่น รักมาก ก็ให้ทาท่าภาษามือและทาสีหน้ารักมากไปด้วยถ้าไม่แสดง สีหน้าแล้วทาท่ามือ ความรู้สึกที่เราจะบอกก็จะผิดเพี้ยนไป ดังนี้ รัก เกลียด
  • 4. 18 แบบมือทั้งสองข้างทับกันที่หน้าอก กามือทั้งสองข้างและปล่อยมือออกไปด้านข้าง ชอบ นิ้วชี้และนิ้วโป้งหยิบที่หัวใจดึงออกมา ไม่ชอบ ทาท่าชอบและค่อยส่ายมือไปมา 3. การถามเพื่อใช้ในการสนทนา การสนทนาทักทายกันนั้นจะมีการซักถามคาถามเพื่อให้เกิดความคุ้นเคยสนิทสนมกัน มากขึ้น เช่นการถามว่าคนหูดีใช่ไหม การถามว่าจะไปไหน การถามว่าไปทาไม เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และสนทนากันได้อย่างมีความหมาย จึงจาเป็นต้องใช้คาศัพท์ต่อไปนี้ในการสนทนา ดังนี้ คนหูดี ชี้ที่หูโดยใช้นิ้วชี้และดึงมือออกมาชูนิ้วโป้ง คนหูหนวก ทาท่ามือเลขสองแตะที่หูลูบลงมาแตะที่ปาก ที่ไหน ทาท่ามือเลข หนึ่ง ขยับไปมา ทาไม แบมือแตะที่หน้าผากและดึงลงมาอยู่ในท่า ย
  • 5. 19 ใคร ชี้ที่หน้าและวาดเป็นวงกลม อะไร แบมือและดีดนิ้วกลางสองครั้ง 4. คาที่ใช้เพื่อจบคาสนทนา คาที่ใช้เพื่อการจบคาสนทนา ส่วนใหญ่ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินจะใช้คาว่า โชคดีโดยจะทาท่ามือ เป็นตัว f และขยับไปมา และเดินถอยหลังจากคู่สนทนาของตนเองซึ่งจะทาให้ ทราบว่าจบการสนทนาแล้ว ในบางครั้งจะใช้คาว่า พบกันใหม่ ซึ่งทาท่ามือพบและทาท่ามือหนึ่งและ หมุน แล้วค่อยๆ เดินจากกันไป ก็แสดงว่าจบการสนทนาเช่นกัน โชคดี ทาท่ามือ f ขยับไปมา พบกันใหม่ ทาท่ามือพบและทาท่ามือหนึ่งและหมุน 5. การสนทนาในหมวดคาทักทาย การสนทนากับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้น สามารถใช้คาศัพท์ภาษามือ มาใช้ในการสนทนาร่วมกับการแสดงสีหน้าท่าทาง เช่น สบายดีไหม ก็ใช้คาศัพท์ภาษามือสบายดี และ เลิกคิ้วขึ้นเพื่อแสดงสีหน้าของการสงสัย อยากรู้ ตามภาพต่อไปนี้
  • 6. 20 คุณชื่ออะไรครับ ฉันชื่อใกล้รุ่ง คุณสบายดีไหมครับ ฉันสบายดีคะ สรุป ภาษามือหมวดคาทักทายเป็นสิ่งที่ควรรู้เป็นอันดับแรกซึ่งเริ่มจาการทักทายทาความรู้จัก สวัสดี การกล่าวขอบคุณ การกล่าวขอโทษ การทาความรู้จักคู่สนทนาโดยการถามชื่อภาษามือหรือ การถามชื่อ นามสกุลตลอดจนพูดคุยทาความรู้จักกัน นอกจากนี้การแสดงความรู้สึกเมื่อเริ่มการสนทนา คือการถามทุกข์ สุข ของคู่สนทนาและเพื่อให้การสนทนาเกิดความคุ้นเคยมากขึ้น เช่น การถามว่าจะ ไปไหน การถามว่าไปทาไม และเมื่อจบการสนทนาก็มีคาลา เช่น พบกันใหม่ โชคดี เพื่อจบการสนทนา จะเห็นได้ว่าการสนทนาภาษามือสามารถสื่อสารได้เช่นเดียวกับคนทั่วๆไป เพียงแต่เราต้องศึกษาภาษา มือให้ได้ถูกต้องเสียก่อน แบบฝึกท้ายบท 1. นักศึกษาดูภาพต่อไปนี้และเลือกคาตอบให้ถูกต้อง ก ข ค ง
  • 7. 21 1.1 การสวัสดีผู้ใหญ่ 1.2 การสวัสดีเพื่อนหรือบุคคลอายุน้อยกว่า 1.3 การขอโทษผู้ใหญ่ 1.4 การขอโทษเพื่อนกันหรืออายุน้อยกว่า 1.5 การขอบคุณผู้ใหญ่ 1.6 การขอบคุณเพื่อนกันหรืออายุน้อยกว่า 2. ให้นักศึกษาจับคู่และสนทนากันเป็นภาษามือ (หน้าชั้นเรียน) เอกสารอ้างอิง กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์. ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทยเล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. พจนานุกรมออนไลน์ . (2555). คาทักทาย. (ออนไลน์). http://www.kusolsuksa.com วันที่สืบค้น 24 ส.ค. 55 สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
  • 8. 22 สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.