SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บทที่ 4
ภาษามือหมวด วัน เวลาและฤดูกาล
การรู้จักวันเวลาเป็นการบอกกล่าวเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งสามารถจะบอกเหตุการณ์หรือ
การกระทาต่างๆ ได้ล่วงหน้า ทาให้มีแบบแผนในการดาเนินชีวิต สาหรับเด็กที่มีความบกพร่อง
ทางการได้ยินนั้น มีภาษามือใช้ในการบอกกล่าว เรื่อง วัน เวลา และฤดูกาล เช่นกัน เพื่อให้มี
การกาหนดและวางแผนในการดาเนินชีวิตล่วงหน้า
1. ภาษามือหมวดวัน เดือน ปี
ภาษามือหมวดวัน เดือน ปี สามารถทาได้โดยทาภาษามือพยัญชนะ ภาษามือ ตัวเลข
ซึ่งการทาภาษามือหมวดวัน ใช้พยัญชนะตัวหน้าเป็นหลัก เช่น วันจันทร์ ทาท่ามือ จ และหมุนจะได้
คาว่าจันทร์ ถ้าจะทาคาว่า วัน (กามือทั้งสองข้างและเอาแขนมาทับกันที่ใต้หน้าอกและชูขึ้น) หรือคา
ว่าวันศุกร์ ทาท่ามือคาว่า วัน และ ทาท่ามือ ศ ก็จะสามารถสื่อสารกันเข้าใจแล้ว ดังภาพ
วัน
กำมือทั้งสองข้ำงและเอำแขนมำทับกันที่ใต้หน้ำอกและ
ชูขึ้นและทำมือเลข 1
สัปดาห์
แบมือระดับหน้ำอก ห่อมือเล็กน้อย และนำมืออีกข้ำง
หนึ่งรวบและดึงขึ้น
จันทร์
ทำท่ำมือ จ และหมุน
ศุกร์
ทำท่ำมือ ศ ชูขึ้นในระดับหัวไหล่
33
ส่วนภาษามือหมวดเดือนสามารถทาภาษามือได้ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 แบบไทยโดยใช้
ท่ามือพยัญชนะ เช่น เดือน มกราคม คนไทยจะเขียนเป็นตัวย่อคือ ม.ค. บุคคลที่มีความบกพร่อง
ทางการได้ยินก็จะทาภาษามือเป็นท่ามือ ม จุด ค จุด ส่วนในแบบที่ 2 แบบสากล ซึ่งใช้ตัวเลขในการทา
ภาษามือ เช่น เดือนมกราคม ตรงกับเดือน 1 เวลาทาภาษามือก็จะทาภาษามือ คาว่า เดือน (ทาท่ามือ
เลขหนึ่งนามืออีกข้างมาแตะที่ปลายนิ้วชี้และเลื่อนมา) และตามด้วยท่ามือเลขหนึ่ง ดังภาพ
เดือนหนึ่ง(มกราคม)
ทำท่ำมือ เดือน และทำท่ำมือ เลขหนึ่ง
เดือนสิบ(ตุลาคม)
ทำท่ำมือ เดือน และทำท่ำมือ เลขสิบ
ในการทาภาษามือในหมวดเดือนมีข้อควรระวังในการวางตาแหน่งของมือ ในขณะที่ทาท่ามือ
เลขควรจะหันหลังมือออกด้านนอก และในหมวดนี้มีคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องอีกคาหนึ่งได้แก่คาว่า ปี (กา
มือสองข้างซ้อนกันและหมุนมือไปทางด้านหน้าหนึ่งรอบ) จะใช้ในการประกอบประโยคเมื่อมีการสนทนา
ซึ่งสามารถทาท่ามือได้ ตามภาพ
ปี
กำมือสองข้ำงซ้อนกันและหมุนมือไปทำงด้ำนหน้ำหนึ่งรอบ
2. ภาษามือหมวดเวลา
34
ในการทาภาษามือหมวดเวลาใช้การสังเกตจากพระอาทิตย์จะทาให้จาภาษามือหมวดนี้
ได้ง่ายขึ้น เช่น เช้า พระอาทิตย์จะค่อยๆ ขึ้น ตอนกลางวันพระอาทิตย์จะอยู่ตรงกลาง ตอนเย็นพระ
อาทิตย์จะค่อยๆ ตก ดังภาพ
เช้า
มือซ้ำยแตะข้อศอกมือขวำ มือขวำยกขึ้น
กลางวัน
มือซ้ำยแตะข้อศอกมือขวำ และทำท่ำมือ ร
บ่าย
มือซ้ำยแตะข้อศอกมือขวำ มือขวำเลื่อนลง
เย็น
มือซ้ำยแตะข้อศอกมือขวำ มือขวำลำกลงมำ
ระดับเอว
ค่า
ทำท่ำมือ สระโอ ที่ตำและหุบมือลงเล็กน้อย
มืด
ทำท่ำมือ สระโอ ที่ตำและหุบมือลงชิดกัน
การบอกเวลาอีกแบบหนึ่งคือการบอกช่วงของวัน เช่น วันนี้ พรุ่งนี้ เมื่อวานนี้ เมื่อวานซืน ซึ่ง
สามารถทาภาษามือได้เช่นกัน เช่น วันนี้หรือขณะนี้ ให้นึกถึงว่าตัวเรากาลังอยู่ในขณะนี้ เพราะฉะนั้นก็
ให้แบมือทั้งสองข้างหงายขึ้นและดึงลงเล็กน้อย ถ้าเป็นคาว่าพรุ่งนี้ ให้นึกถึงว่าพรุ่งนี้เป็นวันต่อไป เวลา
ทามือ แบมือข้างหูและลากมือมาด้านหน้า ตามภาพ
35
วันนี้
แบมือทั้งสองข้ำงหงำยขึ้นและเลื่อนลงเล็กน้อย
พรุ่งนี้
แบมือข้ำงหูและลำกมือมำด้ำนหน้ำ
เมื่อวานนี้
แบมือหันฝ่ำมือไปด้ำนหลังและค่อยๆเลื่อนมือผ่ำนหู
เมื่อวานซืน
แบมือหันฝ่ำมือไปด้ำนหลังและค่อยๆเลื่อนมือผ่ำนหูแล้ว
กำมือชูนิ้วชี้และนิ้วกลำงขึ้น
3. ภาษามือหมวดฤดูกาล
คาศัพท์ในหมวดฤดูกาลนี้มีคาศัพท์เกี่ยวกับธรรมชาติด้วย ซึ่งท่ามือส่วนใหญ่เป็นลักษณะ
ของเหตุการณ์นั้น ๆ เช่น ภาษามือคาว่า หิน จะทามือเป็นก้อนและทาท่าทาง ประกอบกับสีหน้า หนัก
และแข็ง ตามภาพ
ดิน
หงำยมือและนำปลำยนิ้วมำชิดกันขยับไปมำเหมือนดำว
กระพริบ
หิน
ทำมือเป็นก้อนและขยับขึ้นลงเล็กน้อย
สิ่งที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับฤดูกาลนั้น คือดวงจันทร์ พระอาทิตย์ โดยมีความ
เกี่ยวข้องกัน คือ เวลาที่พระจันทร์ เข้าใกล้โลกน้าทะเลจะขึ้น และเกี่ยวพันธ์กับฤดูกาล ร้อน หนาว
ซึ่งบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินต้องทราบและเรียนรู้เช่นเดียวกับทุกคน ในการทาภาษามือ
สามารถได้โดยทาท่ามือตามรูปร่างและลักษณะและอาการ ตามภาพ
36
ดวงจันทร์
กำมือข้ำงหนึ่งแล้วนำปลำยนิ้วชี้และนิ้วโป้งแตะกัน
ค่อยๆ กำงนิ้วโป้งและนิ้วชี้ลำกนิ้วชี้เป็นครึ่งวงกลมแล้ว
มำแตะกันเหมือนเดิม
พระอาทิตย์
กำมือแล้วชูนิ้วชี้ นิ้วชี้ลำกลงมำที่ปำก และงุ้มมือยกชู
ระดับใบหน้ำด้ำนหน้ำ
ร้อน
แบมือและพัดที่หน้ำ
หนาว
กำมือสองข้ำงและขยับไปมำระดับอก
ภาษามือหมวดนี้มีคาศัพท์ที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องอีกคือภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดจาก
ธรรมชาติและฤดูกาล เช่น น้าท่วม แผ่นดินไหว โดยทาภาษามือดังนี้
น้าท่วม
กำมือและนำนิ้วโป้งสอดระหว่ำงนิ้วกลำงและนิ้วนำง
แล้วคว่ำมือสองข้ำงในระดับใต้หน้ำอกค่อยๆ เลื่อนขึ้น
ถึงบนอก
แผ่นดินไหว
แบมือระดับหน้ำอกแล้วส่ำยมือไปมำเล็กน้อย
4. การสนทนาในหมวดวันเดือนปี หมวดเวลาและหมวดฤดูกาล
37
ก : อายุเท่าไหร่ ข : สามสิบ
สรุป
การทาภาษามือในหมวดวัน เวลาและฤดูกาล คาศัพท์ส่วนใหญ่จะใช้ท่ามือของพยัญชนะ สระ
ตัวเลข มาผสมกันจนสามารถเป็นคาศัพท์และสื่อสารได้ การที่จะทาภาษามือหมวดวัน ต้องใช้
พยัญชนะตัวหน้าของวันนั้นๆ ส่วนการทาภาษามือหมวดเดือน ใช้ท่ามือ คาว่าเดือน และตามด้วย
ตัวเลข ส่วนการทาภาษามือเวลานั้นใช้ความเป็นจริงของธรรมชาติจะช่วยให้การทาภาษามือสวยและ
สามารถทาได้เลยไม่ต้องนึก เช่น เช้า ให้นึกถึงพระอาทิตย์กาลังจะขึ้น เป็นต้น ภาษามือหมวดฤดูกาล
นั้นใช้อาการที่เป็นธรรมชาติเช่นกัน เมื่อเราร้อนจะพัด เวลาหนาวจะตัวสั่น ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนทากันอยู่
แล้วจึงทาให้ภาษามือหมวดนี้เมื่อเรียนแล้วสามารถนาไปใช้ได้ตลอดเวลา
แบบฝึกท้ายบท
1. ให้นักศึกษาทาภาษามือคาต่อไปนี้
1.1 วัน / เดือน / ปี
1.2 วันพฤหัสบดี
1.3 วันเสาร์
1.4 เดือนมิถุนายน
1.5 เดือนพฤศจิกายน
1.6 สัปดาห์
1.7 กลางวัน
1.8 เช้า
1.9 พรุ่งนี้
38
1.10 แผ่นดินไหว
1.11 ฤดูฝน
1.12 น้าท่วม
1.13 เดือนสิงหาคม
1.14 ฤดูร้อน
1.15 ลมพายุ
เอกสารอ้างอิง
กรมสามัญศึกษา. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว .
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.
ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1.
กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

More Related Content

What's hot

บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13pop Jaturong
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11pop Jaturong
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14pop Jaturong
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10pop Jaturong
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12pop Jaturong
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226Siriya Khaosri
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆSukanda Panpetch
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจkingkarn somchit
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีAttachoke Putththai
 
9789740333487
97897403334879789740333487
9789740333487CUPress
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) Kun Cool Look Natt
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 

What's hot (20)

บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆ
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
 
9789740333487
97897403334879789740333487
9789740333487
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 

Similar to บทที่ 4

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdfแบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdfssusera5136e
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง OccupationsChamchuree88
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 

Similar to บทที่ 4 (12)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdfแบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
1
11
1
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Web
WebWeb
Web
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
 
ชุดกิจกรรมที่ 1
ชุดกิจกรรมที่  1ชุดกิจกรรมที่  1
ชุดกิจกรรมที่ 1
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

บทที่ 4

  • 1. บทที่ 4 ภาษามือหมวด วัน เวลาและฤดูกาล การรู้จักวันเวลาเป็นการบอกกล่าวเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งสามารถจะบอกเหตุการณ์หรือ การกระทาต่างๆ ได้ล่วงหน้า ทาให้มีแบบแผนในการดาเนินชีวิต สาหรับเด็กที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยินนั้น มีภาษามือใช้ในการบอกกล่าว เรื่อง วัน เวลา และฤดูกาล เช่นกัน เพื่อให้มี การกาหนดและวางแผนในการดาเนินชีวิตล่วงหน้า 1. ภาษามือหมวดวัน เดือน ปี ภาษามือหมวดวัน เดือน ปี สามารถทาได้โดยทาภาษามือพยัญชนะ ภาษามือ ตัวเลข ซึ่งการทาภาษามือหมวดวัน ใช้พยัญชนะตัวหน้าเป็นหลัก เช่น วันจันทร์ ทาท่ามือ จ และหมุนจะได้ คาว่าจันทร์ ถ้าจะทาคาว่า วัน (กามือทั้งสองข้างและเอาแขนมาทับกันที่ใต้หน้าอกและชูขึ้น) หรือคา ว่าวันศุกร์ ทาท่ามือคาว่า วัน และ ทาท่ามือ ศ ก็จะสามารถสื่อสารกันเข้าใจแล้ว ดังภาพ วัน กำมือทั้งสองข้ำงและเอำแขนมำทับกันที่ใต้หน้ำอกและ ชูขึ้นและทำมือเลข 1 สัปดาห์ แบมือระดับหน้ำอก ห่อมือเล็กน้อย และนำมืออีกข้ำง หนึ่งรวบและดึงขึ้น จันทร์ ทำท่ำมือ จ และหมุน ศุกร์ ทำท่ำมือ ศ ชูขึ้นในระดับหัวไหล่
  • 2. 33 ส่วนภาษามือหมวดเดือนสามารถทาภาษามือได้ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 แบบไทยโดยใช้ ท่ามือพยัญชนะ เช่น เดือน มกราคม คนไทยจะเขียนเป็นตัวย่อคือ ม.ค. บุคคลที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยินก็จะทาภาษามือเป็นท่ามือ ม จุด ค จุด ส่วนในแบบที่ 2 แบบสากล ซึ่งใช้ตัวเลขในการทา ภาษามือ เช่น เดือนมกราคม ตรงกับเดือน 1 เวลาทาภาษามือก็จะทาภาษามือ คาว่า เดือน (ทาท่ามือ เลขหนึ่งนามืออีกข้างมาแตะที่ปลายนิ้วชี้และเลื่อนมา) และตามด้วยท่ามือเลขหนึ่ง ดังภาพ เดือนหนึ่ง(มกราคม) ทำท่ำมือ เดือน และทำท่ำมือ เลขหนึ่ง เดือนสิบ(ตุลาคม) ทำท่ำมือ เดือน และทำท่ำมือ เลขสิบ ในการทาภาษามือในหมวดเดือนมีข้อควรระวังในการวางตาแหน่งของมือ ในขณะที่ทาท่ามือ เลขควรจะหันหลังมือออกด้านนอก และในหมวดนี้มีคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องอีกคาหนึ่งได้แก่คาว่า ปี (กา มือสองข้างซ้อนกันและหมุนมือไปทางด้านหน้าหนึ่งรอบ) จะใช้ในการประกอบประโยคเมื่อมีการสนทนา ซึ่งสามารถทาท่ามือได้ ตามภาพ ปี กำมือสองข้ำงซ้อนกันและหมุนมือไปทำงด้ำนหน้ำหนึ่งรอบ 2. ภาษามือหมวดเวลา
  • 3. 34 ในการทาภาษามือหมวดเวลาใช้การสังเกตจากพระอาทิตย์จะทาให้จาภาษามือหมวดนี้ ได้ง่ายขึ้น เช่น เช้า พระอาทิตย์จะค่อยๆ ขึ้น ตอนกลางวันพระอาทิตย์จะอยู่ตรงกลาง ตอนเย็นพระ อาทิตย์จะค่อยๆ ตก ดังภาพ เช้า มือซ้ำยแตะข้อศอกมือขวำ มือขวำยกขึ้น กลางวัน มือซ้ำยแตะข้อศอกมือขวำ และทำท่ำมือ ร บ่าย มือซ้ำยแตะข้อศอกมือขวำ มือขวำเลื่อนลง เย็น มือซ้ำยแตะข้อศอกมือขวำ มือขวำลำกลงมำ ระดับเอว ค่า ทำท่ำมือ สระโอ ที่ตำและหุบมือลงเล็กน้อย มืด ทำท่ำมือ สระโอ ที่ตำและหุบมือลงชิดกัน การบอกเวลาอีกแบบหนึ่งคือการบอกช่วงของวัน เช่น วันนี้ พรุ่งนี้ เมื่อวานนี้ เมื่อวานซืน ซึ่ง สามารถทาภาษามือได้เช่นกัน เช่น วันนี้หรือขณะนี้ ให้นึกถึงว่าตัวเรากาลังอยู่ในขณะนี้ เพราะฉะนั้นก็ ให้แบมือทั้งสองข้างหงายขึ้นและดึงลงเล็กน้อย ถ้าเป็นคาว่าพรุ่งนี้ ให้นึกถึงว่าพรุ่งนี้เป็นวันต่อไป เวลา ทามือ แบมือข้างหูและลากมือมาด้านหน้า ตามภาพ
  • 4. 35 วันนี้ แบมือทั้งสองข้ำงหงำยขึ้นและเลื่อนลงเล็กน้อย พรุ่งนี้ แบมือข้ำงหูและลำกมือมำด้ำนหน้ำ เมื่อวานนี้ แบมือหันฝ่ำมือไปด้ำนหลังและค่อยๆเลื่อนมือผ่ำนหู เมื่อวานซืน แบมือหันฝ่ำมือไปด้ำนหลังและค่อยๆเลื่อนมือผ่ำนหูแล้ว กำมือชูนิ้วชี้และนิ้วกลำงขึ้น 3. ภาษามือหมวดฤดูกาล คาศัพท์ในหมวดฤดูกาลนี้มีคาศัพท์เกี่ยวกับธรรมชาติด้วย ซึ่งท่ามือส่วนใหญ่เป็นลักษณะ ของเหตุการณ์นั้น ๆ เช่น ภาษามือคาว่า หิน จะทามือเป็นก้อนและทาท่าทาง ประกอบกับสีหน้า หนัก และแข็ง ตามภาพ ดิน หงำยมือและนำปลำยนิ้วมำชิดกันขยับไปมำเหมือนดำว กระพริบ หิน ทำมือเป็นก้อนและขยับขึ้นลงเล็กน้อย สิ่งที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับฤดูกาลนั้น คือดวงจันทร์ พระอาทิตย์ โดยมีความ เกี่ยวข้องกัน คือ เวลาที่พระจันทร์ เข้าใกล้โลกน้าทะเลจะขึ้น และเกี่ยวพันธ์กับฤดูกาล ร้อน หนาว ซึ่งบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินต้องทราบและเรียนรู้เช่นเดียวกับทุกคน ในการทาภาษามือ สามารถได้โดยทาท่ามือตามรูปร่างและลักษณะและอาการ ตามภาพ
  • 5. 36 ดวงจันทร์ กำมือข้ำงหนึ่งแล้วนำปลำยนิ้วชี้และนิ้วโป้งแตะกัน ค่อยๆ กำงนิ้วโป้งและนิ้วชี้ลำกนิ้วชี้เป็นครึ่งวงกลมแล้ว มำแตะกันเหมือนเดิม พระอาทิตย์ กำมือแล้วชูนิ้วชี้ นิ้วชี้ลำกลงมำที่ปำก และงุ้มมือยกชู ระดับใบหน้ำด้ำนหน้ำ ร้อน แบมือและพัดที่หน้ำ หนาว กำมือสองข้ำงและขยับไปมำระดับอก ภาษามือหมวดนี้มีคาศัพท์ที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องอีกคือภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดจาก ธรรมชาติและฤดูกาล เช่น น้าท่วม แผ่นดินไหว โดยทาภาษามือดังนี้ น้าท่วม กำมือและนำนิ้วโป้งสอดระหว่ำงนิ้วกลำงและนิ้วนำง แล้วคว่ำมือสองข้ำงในระดับใต้หน้ำอกค่อยๆ เลื่อนขึ้น ถึงบนอก แผ่นดินไหว แบมือระดับหน้ำอกแล้วส่ำยมือไปมำเล็กน้อย 4. การสนทนาในหมวดวันเดือนปี หมวดเวลาและหมวดฤดูกาล
  • 6. 37 ก : อายุเท่าไหร่ ข : สามสิบ สรุป การทาภาษามือในหมวดวัน เวลาและฤดูกาล คาศัพท์ส่วนใหญ่จะใช้ท่ามือของพยัญชนะ สระ ตัวเลข มาผสมกันจนสามารถเป็นคาศัพท์และสื่อสารได้ การที่จะทาภาษามือหมวดวัน ต้องใช้ พยัญชนะตัวหน้าของวันนั้นๆ ส่วนการทาภาษามือหมวดเดือน ใช้ท่ามือ คาว่าเดือน และตามด้วย ตัวเลข ส่วนการทาภาษามือเวลานั้นใช้ความเป็นจริงของธรรมชาติจะช่วยให้การทาภาษามือสวยและ สามารถทาได้เลยไม่ต้องนึก เช่น เช้า ให้นึกถึงพระอาทิตย์กาลังจะขึ้น เป็นต้น ภาษามือหมวดฤดูกาล นั้นใช้อาการที่เป็นธรรมชาติเช่นกัน เมื่อเราร้อนจะพัด เวลาหนาวจะตัวสั่น ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนทากันอยู่ แล้วจึงทาให้ภาษามือหมวดนี้เมื่อเรียนแล้วสามารถนาไปใช้ได้ตลอดเวลา แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษาทาภาษามือคาต่อไปนี้ 1.1 วัน / เดือน / ปี 1.2 วันพฤหัสบดี 1.3 วันเสาร์ 1.4 เดือนมิถุนายน 1.5 เดือนพฤศจิกายน 1.6 สัปดาห์ 1.7 กลางวัน 1.8 เช้า 1.9 พรุ่งนี้
  • 7. 38 1.10 แผ่นดินไหว 1.11 ฤดูฝน 1.12 น้าท่วม 1.13 เดือนสิงหาคม 1.14 ฤดูร้อน 1.15 ลมพายุ เอกสารอ้างอิง กรมสามัญศึกษา. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว . กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.