SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ติ๊ง ต่อง ณ คาบเรียนวิชาภาษาไทย
แนวคิด
ในการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้าหาความรู้จากแหล่ง
ต่างๆอย่างมีระบบและเป็นแบบแผนเป็นส่วนประกอบที่สำาคัญ
ยิ่งและในการเขียนเสนอผลการค้นคว้าด้วยการเขียน
รายงาน ผู้เขียนต้องจัดรูปแบบ วิธีการในการเขียน การใช้
ภาษาให้เหมาะสม จึงจะสามารถเขียนรายงานได้ถูกต้อง
อาจาร
ย์ครับ
เรื่องนี้มี
แนวคิด
อย่างไร
ครับ
เมื่อเนเน่
เรียนแล้ว
หนูจะมี
ความ
สามารถยัง
ไงคะ
จุดประสงค์
เมื่อนักเรียนเรียนดดยใช้เอกสารประกอบการเรียน
สำาหรับการฝึกทักษะการเขียน ชุดที่ 10 เรื่องการเขียน
รายงานเชิงวิชาการแล้ว นักเรียนจะมีความสามารถดังนี้
1.เขียนปกหน้าและปกในของรายงานเชิงวิชาการได้ถูก
ต้อง
2.เขียนคำานำาได้ถูกต้อง
3.เขียนสารบัญได้ถูกต้อง
4.เขียนบรรณานุกรมได้ถูกต้อง
5.ทำารายงานเชิงวิชาการโดยมีส่วนประกอบของรายงาน
ได้ถูกต้องครบถ้วนได้
อ. ครับตอน
นี้ผมไม่ไม่รู้
เรื่องเลย ผม
ควรทำา
อย่างไรดี
ครับ
คำาแนะนำา
1.อ่านเนื้อหาของบทเรียนตามลำาดับอย่างพิจารณา
2.ทำาความเข้าใจบทเรียน
3.ทำากิจกรรม
4.ตอนใดไม่เข้าใจให้ถามเพื่อนหรือถามครูผู้สอน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
รายงานเชิงวิชาการ คือการเขียนรายงานเพื่อเสนอผล
การศึกษาค้นคว้าให้ผู้อื่นทราบ
ส่วนประกอบของรายงาน
รายงานเชิงวิชาการมีส่วนประกอบดังนี้
1.ปกหน้า หรือหน้าปก
2.ใบรองปก
3.หน้าปกใน
4.คำานำา
5.สารบัญ
6.บทนำา
7.เนื้อหา
8.บทสรุป
9.บรรณานุกรม
10. ใบรองปกหลัง
11. ปกหลัง
ปกหน้าหรือหน้าปก
ส่วนประกอบ หน้าปกมีส่วนประกอบดังนี้
อาจารย์ สรุปการ
เขียนรายงาน
วิชาการมันคือ
อะไรกันแน่ฮะ
1. ชื่อเรื่อง ให้เขียนไว้กลางหน้าปกส่วนบน
2.ชื่อผู้ทำารายงาน ถ้ามีหลายคนต้องเขียนให้ครบทุก
คน โดยเขียนไว้ตรงส่วนกลางชองหน้าปก
3.ชื่อวิชา ภาคเรียน ปีการศึกษาที่ทำา และชื่อสถาน
ศึกษา ให้เขียนไว้กลางหน้าปกส่วนล่าง
การเขียนหน้าปก
1.ไม่ต้องเขียนคำาว่ารายงานหน้าชื่อเรื่อง
2.ช่องว่างระหว่างชื่อเรื่อง กับชื่อผู้ทำารายงานเท่ากับ
ช่องว่างระหว่างชื่อผู้ทำารายงานกับชื่อวิชา
ใบรองปก เป็นกระดาษเปล่าไม่ต้องเขียนข้อความใด
ๆ
หน้าปกใน เหมือนหน้าปกทุกประการ
คำานำา
ลักษณะของคำานำา คือ ข้อตกลงเบื้องต้นระหว่างผู้ทำา
รายงานกับผู้อ่านรายงาน อันจะช่วยให้อ่านรายงานนั้นถูก
ต้องและได้ผลดียิ่งขึ้น คำานำาไม่ใช่ข้อแก้ตัวหรือออกตัวของผู้
ทำารายงาน
การเขียนคำานำา ควรมี 3 ย่อหน้า ดังนี้
1.ย่อหน้าที่ 1 บอกความสำาคัญของเรื่องที่เขียนว่ามี
ความสำาคัญหรือมีความน่าสนใจอย่างไรเป็นการกล่าง
ถึงภูมิหลังของรายงานนี้อย่างย่อยที่สุด
2.ย่อหน้าที่2 บอกเนื้อหาสาระหรือเรื่องราวที่ทำาโดยสรุป
ว่ากล่าวถึงเรื่องใดบ้างและเรื่องเหล่านั้นได้ข้อมูลมา
จากแหล่งใด
3.ย่อหน้าที่3 บอกความคาดหวังที่จะได้จากรายงาน
ฉบับนี้ จะมีประโยชน์กับผู้ใดอย่างไร เป็นต้น
สารบัญหรือสารบัญ
ส่วนประกอบของสารบัญ
1.หัวเรื่อง หรือเรื่อง หรือบทที่ปรากฏอยู่ที่รายงาน
2.เลขหน้า
การเขียนสารบัญ
1.การเขียนหัวข้อเรื่อง ให้จัดลำาดับเรื่องหรือ บทตาม
ลำาดับที่ปรากฏอยู่ในรายงานโดยไม่ต้องเอาคำานำามา
เรียงไว้ด้วย
2.การเลขหน้า ให้เขียนเลขหน้าเริ่มต้นของเรื่องนั้นๆ
โดยไม่เขียนเลขหน้าสุดท้ายของเรื่อง คือ 1-8
เป็นต้น
ประโยชน์ของการเขียนเลขหน้า เพื่อสะดวกแก่ผู้อ่าน
ให้สามารถค้นหาเรื่องที่ต้องการอ่านได้รวดเร็ว
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสารบัญ
นอกจากสารบัญเรื่องแล้วอาจมีสารบัญเพิ่มเติมตาม
ลักษณะของรายงาน เช่น รายงานนั้นมีตารางสถิติหลาย
ตาราง ก็จะต้องมีบัญชีตารางหรือสารบัญตารางนั้นเอง หรือ
หากรายงานมีภ่พประกอบหลายภาพก็จะต้องมีบัญชีภาพ
ประกอบหรือสารบัญภาพนั้นเอง ลักษณะการเขียนให้ระบุ
เลขหน้าไว้ด้วย
อ. แล้ว
มันมีส่วน
ประกอบ
อะไรบ้าง
หล่ะ เนื้อ
หาเนี่ย
เนื้อหา
ลักษณะของเนื้อหา เนื้อหา คือ ข้อมูลที่รวบรวมมาจาก
การศึกษาค้นคว้าและนำามาเลือกสรรเฉพาะที่ตรงกับสาระ
สำาคัญของเรื่องที่ต้องการจะเสนอ ข้อมูลที่นำามาเขียนต้องถูก
ต้องและการนำาข้อมูลมาต้องอ้างหลักฐานที่มาให้ถูกวิธี
ส่วนประกอบของเนื้อหา เนื้อหาของรายงานมีส่วนประกอบ 3
ส่วน คือ
1.บทนำา
2.ตัวเรื่อง
3.สรุป
1.บทนำา กล่าวถึงภูมิหลังและความสำาคัญของเรื่องที่ทำา
อย่างละเอียด
2.ตัวเรื่อง กล่าวถึงสาระสำาคัญของรายงานอย่างละเอียด
โดยเรียงตามลำาดับความคิดและเหตุผลอาจแบ่งหลายบท
หลายหัวข้อ ตัวเรื่อง ประกอบด้วย
- เนื้อหา
- ตัวอย่าง ข้อความที่คัดลอกมา ข้อความที่ย่อมา
- รูปภาพ
- ตาราง
- เชิงอรรถ
3.บทสรุป กล่าวถึงสาระของรายงานโดยสรุป อาจมีตอน
เดียวหรือหลายตอนก็ได้
อ.แล้ว
บรรณานุกร
มล่ะครับ มัน
มีหลัก
อย่างไรบ้าง
ในการเขียน
บรรณานุกรม
ลักษณะของบรรณานุกรม
บรรณานุกรม คือรายชื่อของหนังสือ
เอกสารหรือแหล่งข้อมูลนำามาอ้างอิงทั้งหมด
การเขียนบรรณานุกรม
1.นำามาจากหนังสือทั่วไป
ชื่อ ชื่อสกุล, ยศหรือฐานันดรศักดิ์หรือราชทินนาม (ถ้ามี) .
ชื่อหนังสือ ครั้งที่พิมพ์ . จังหวัด
ที่พิมพ์ : สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ .
2.นำามาจากบทความในหนังสือ
ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ . “ชื่อบทวาม , “ใน ชื่อหนังสือ
. ชื่อบรรณาธิการหรือ
ผู้รวมรวบ ( ถ้ามี ) . หน้าของบทความนั้น . จังหวัดที่
พิมพ์ : สำานักพิมพ์ หรือ
ผู้จัดพิมพ์ , ปีที่พิมพ์.
3.นำามาจากบทความในวารสาร
ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ . “ ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร .
ปีที่หรือเล่มที่ (ฉบับที่ ): หน้าที่
ตีพิมพ์บทความ ; วัน เดือน ปี .
4.นำามาจากบทความในหนังสือพิมพ์
ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ . “ชื่อบทความ,” ชื่อ
หนังสือพิมพ์ . วัน เดือน ปี . หน้าที่ตีพิมพ์
บทความ .
5.นำามาจากการสัมภาษณ์
ชื่อ ชื่อสกุลผู้ให้สัมภาษณ์ , ตำาแหน่ง ( ถ้ามี ) . สัมภาษณ์,
วัน เดือน ปี .
6.นำามาจากวัสดุอื่นๆ เช่น แถบบันทึกเสียง แถบวีดิ
ทัศน์
ชื่อ ชื่อสกุลผู้บรรยาย ผู้พูดหรือผู้ขับร้อง . ชื่อเรื่อง .
(ประเภทของวัสดุ) . ชื่อจังหวัด: ผู้ผลิต
หรือ ผู้จัดทำา, ปีที่ผลิต .
ข้อสังเกตในการเขียนบรรณานุกรม
1.การใช้คำาเรียกอาจใช้ได้ดังนี้
- บรรณานุกรมเมื่อมีเอกสารอ้างอิงมากกว่า 5 เล่ม
- หนังสืออุเทศ มีเอกสารอ้างอิงไม่เกิน 5 เล่ม
- หนังสืออ้างอิงเป็นคำากลางๆ ใช้ได้ทุกกรณี
2.การเรียงลำาดับ
- ถ้าหนังสืออ้างอิงมีทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ให้เรียงหนังสืออ้างอิงภาษาไทยก่อนภาษาต่างประเทศ
- การเรียงลำาดับบรรณานุกรม ให้เรียงลำาดับตัวอักษร
ของชื่อผู้แต่ง โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับกับการเรียงคำา
ในพจนานุกรม
3.การขึ้นบรรทัดใหม่ รายละเอียดของเอกสารแต่ละเล่ม
ถ้าเขียนไม่พอในบรรทัดเดียว บรรทัดต่อไปให้ย่อเข้ามา
ประมาณ 7 ตัวอักษร ( อาจเว้นเข้ามา 3-7 ตัวอักษรแล้ว
แต่ข้อตกลงของแต่ละสถาบัน)
ใบรองปกหลัง เป็นกระดาษเปล่าไม่ต้องเขียนข้อความใดๆ
หมายเหตุ หน้าต่อไปจะแสดงตัวอย่างส่วนประกอบของ
รายงานเชิงวิชาการ
ปกหน้า หรือหน้าปก
การเขียนสะกดคำา
นายศิริ ศิริธรรมปิติ
เลขที่ 19 ชั้น ม. 4/1
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาภาษาไทย ท
401
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2544
หมายเหตุ ช่องว่างระหว่างชื่อเรื่อง กับ ชื่อ เลขที่ ชั้นของผู้
ทำารายงาน เท่ากับ ช่องว่างระหว่างชื่อ เลขที่ ชั้น ของผู้
ทำารายงาน กับ ชื่อวิชา
2. ใบรองปก
ใบรองปก เป็นกระดาษเปล่าไม่เขียนอะไรเลย ให้ใช้ขนาด
และลักษณะเดียวกับกระดาษเขียนรายงาน
3. หน้าปกใน
การเขียนสะกดคำา
นายศิริ ศิริธรรมปิติ
เลขที่ 19 ชั้น ม. 4/1
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาภาษาไทย ท
401
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2544
หน้าปกใน เขียนเหมือนปกหน้าทุกประการ
4. คำานำา
คำานำา
การเขียนเป็นทักษะทางภาษาที่จำาเป็นสำาหรับชีวิต
เพราะเป็นเครื่องมือ
ที่ใช้ในการสื่อสาร หากผู้เขียนเขียนสะกดคำาไม่ถูกต้อง
อาจทำาให้การสื่อสาร
คลาดเคลื่อนได้ จึงมีความจำาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเขียน
สะกดคำาให้ถูกต้อง
รายงานฉบับนี้ ประกอบด้วย สาเหตุที่ทำาให้เขียน
สะกดผิด ข้อสังเกต
เกี่ยวกับการเขียนคำาที่มักเขียนผิด และได้ประมวลคำาที่
มักเขียนผิดไว้ ตั้งแต่
อักษรหมวด ก. ถึง หมวด อ. และเนื้อหาทั้งหมดใน
รายงานฉบับนี้ ผู้เขียนได้
ค้นคว้ารวบรวมจากหนังสือที่เขียนด้วยผู้ทรงคุณวุฒิทาง
ด้านภาษาไทย
หลายด้านด้วยกัน
หวังว่ารายงานฉบับนี้ จะช่วยให้ผู้อ่านได้รับความรู้
เรื่องการเขียน
สะกดคำาเพิ่มขึ้น และสามารถนำาไปใช้ในการติดต่อ
สื่อสารได้เป็นอย่างดี
ศิริ ศิริธรรมปิติ
เลขที่ 19 ม. 4/1
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
คำานำา คือข้อตกลงเบื้องต้นระหว่างผู้ทำารายงาน กับผู้อ่าน
รายงานซึ่งจะช่วยให้อ่านรายงานนั้นถูกต้อง และได้ผลดียิ่ง
ขึ้น
5. สารบัญ
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทนำา..ความสำาคัญของการเขียน
1
สาเหตุที่ทำาให้การเขียนสะกดผิด
2
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการเขียนคำาที่มักสะกดผิด
10
ประมวลคำาที่มักเขียนผิด 13
บรรณานุกรม 20
สารบัญ ประกอบด้วยหัวข้อเรื่อง หรือเรื่อง หรือบทที่ประกฏ
อยู่ในรายงาน พร้อมระบุเลขหน้า เพื่อสะดวกแก่ผู้อ่านจะได้
ค้นหา เรื่องที่อ่านได้รวดเร็ว
เนื้อหา (6. บทนำา, 7. เนื้อหา, 8. บทสรุป)
6. บทนำา
7. เนื้อหา
8. บทสรุป
( ทั้ง 3 ส่วนนี้ คือ เนื้อหาในรายงาน แบ่งเป็นกี่เรื่อง กี่
บท แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้เขียนรายงานเรื่องนั้นๆ )
เนื้อหา ประกอบด้วยบทนำา เนื้อหาสาระ หรือบทต่างๆ
ในรายงาน และบทสรุป
9. บรรณานุกรม
บรรณานุกรม
ชื่อ ชื่อสกุล, ยศ หรือฐานันดรศักดิ์ หรือราชทินนาม –ถ้ามี-.
ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ์.
จังหวัดที่พิมพ์ : สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์
ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ,” ในชื่อหนังสือ.
ชื่อบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม
(ถ้ามี). หน้าของบทความนั้น. จังหวัดที่พิมพ์ : สำานัก
พิมพ์ หรือผู้จัดพิมพ์, ปีที่พิมพ์.
ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร.
ปีที่หรือเล่มที่ (ฉบับที่) : หน้าที่
ตีพิมพ์บทความ ; วัน เดือน ปี.
ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ,” ชื่อ
หนังสือพิมพ์. วัน เดือน ปี. หน้าที่ตีพิมพ์ บทความ.
ชื่อ ชื่อสกุลผู้ให้สัมภาษณ์, ตำาแหน่ง (ถ้ามี). สัมภาษณ์, วัน
เดือน ปี.
ชื่อ ชื่อสกุลผู้บรรยาย ผู้พูด หรือผู้ขับร้อง. ชื่อเรื่อง.
(ประเภทของวัสดุ). ชื่อจังหวัด : ผู้ผลิต
หรือผู้จัดทำา, ปีที่ผลิต.
บรรณานุกรม คือ รายชื่อหนังสือ หรือเอกสารที่อ้างอิง
ข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าเรื่องนั้นๆ ซึ่งจัดเรียงไว้ตามลำาดับ
ตัวอักษรของชื่อผู้แต่ง หรือหน่วยงาน
ที่เป็นเจ้าของ
10. ใบรองปกหลัง
ใบรองปกหลัง เป็นกระดาษเปล่าชนิดเดียวกับที่ใช้เขียน
หรือพิมพ์เนื้อหา ใบรองปกหลังนี้ไม่ต้องเขียนข้อความใดๆ
12. ปกหลัง ใช้กระดาษชนิดเดียวกับปกหน้า แต่ไม่ต้อง
เขียนข้อความใดๆ
การเตรียมเขียนรายงานเชิงวิชาการ
การเตรียมเขียนรายงานเชิง
วิชาการเริ่มต้นแล้ว
การเตรียมเขียนรายงานเชิงวิชาการ มีขั้นตอนโดยทั่วๆ
ไปดังนี้
1.การเลือกเรื่อง ถ้าไม่มีการกำาหนดเรื่องให้ หรือมี
โอกาสในการเลือกเรื่องเอง ควรใช้หลักเกณฑ์ ใน
การพิจารณาเลือก ดังนี้
1.1. เป็นเรื่องที่ตนสนใจ หรือมีความรู้เกี่ยวกับเรื่อง
นั้นๆอยู่บ้าง
1.2. เป็นเรื่องที่น่าสนใจ ทันต่อเหตุการณ์ หรือเป็น
เรื่องแปลกที่คนทั่วไปยังไม่ทราบมากนัก และมี
ประโยชน์
1.3. เป็นเรื่องที่สามารถหาข้อมูลได้ง่าย
1.4. เป็นเรื่องที่สามารถกำาหนดขอบเขตได้ชัดเจน
2.การตั้งชื่อเรื่อง การเขียนรายงานเชิงวิชาการ มักตั้ง
ชื่อตามความสำาคัญของเรื่อง
3.การวางโครงเรื่อง มีวิธีดำาเนินการตามลำาดับดังนี้
3.1. รวบรวมความรู้ความคิด
3.2. จัดหมวดหมู่ความรู้ความคิด
3.3. จัดลำาดับความรู้ความคิด
4.การรวบรวมหนังสือ และเอกสารที่จะใช้ในการเขียน
รายงาน ทำาได้โดยดูชื่อหนังสือที่น่าจะเกี่ยวข้อง
แล้วเปิดอ่านผ่านๆ ในหน้าคำานำา สารบัญ ดรรชนี
เพื่อตัดสินใจว่าจะเลือกเล่มนั้นหรือไม่ ถ้าเล่มใดมี
หัวข้อตรง หรือใกล้เคียงให้เลือกไว้ก่อน
5.การรวบรวมข้อมูลโดยการบันทึก ให้รายละเอียด
เฉพาะบท เฉพาะตอนที่เกี่ยวข้อง แล้วจัดทำาบันทึก
ความรู้
6.การเขียนส่วนอ้างอิง อาจเขียนเพื่ออธิบายเพิ่มเติม
และเขียนเพื่อแสดงที่มาของข้อมูลเพื่อช่วยให้ข้อ
เขียนนั้นมีนำ้าหนักน่าเชื่อถือ และเป็นการแสดง
มารยาทต่อเจ้าของความรู้ ความคิดเดิม ส่วนอ้างอิงมี
3 ลักษณะ ดังนี้
6.1. การอ้างอิงแทรกในเนื้อหา มีการอ้างอิงแหล่ง
ที่มา และคำาอธิบายเพิ่มเติม
1) อ้างอิงแหล่งที่มา ให้เขียน ดังนี้
(ชื่อ ชื่อสกุลผู้แต่ง.ปีที่พิมพ์ : เลขหน้าที่อ้างอิง)
เช่น
(กำาชัย ทองหล่อ . 2533: 95)
2) คำาอธิบายเพิ่มเติม ให้เขียนไว้ในวงเล็บแทรกใน
เนื้อหาได้เลย
6.2. การอ้างอิงในเชิงอรรถ ให้เขียนดังนี้
1) เขียนไว้ส่วนล่างสุดของหน้ากระดาษ โดยมีเส้น
ขวางยาวประมาณ 1 ใน 3 หรือครึ่งหนึ่งของหน้า
กระดาษ
2) ตัวเลขกำากับเชิงอรรถต้องตรงกับตัวเลขที่ใช้
กำากับท้ายข้อความในเนื้อเรื่องหน้าเดียวกัน
3)ตัวเลขกำากับเชิงอรรถให้เริ่มต้นนับ 1 ใหม่เมื่อ
ขึ้นหน้าใหม่
4) ข้อความในเชิงอรรถต้องจบในหน้าเดียว และ
ต้องอยู่ในหน้าเดียวกับข้อความในเรื่องที่เชิงอรรถ
นั้นกล่าวถึง
การเขียนเชิงอรรถ
1)เชิงอรรถอ้างอิงแหล่งที่มา
- อ้างอิงจากหนังสือ
ชื่อผู้แต่ง ชื่อสกุล. ชื่อหนังสือ. ปีที่พิมพ์.
หน้าที่อ้างอิง
- อ้างอิงจากวารสาร
ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ
หรือชื่อเรื่อง,” ชื่อวารสาร. เล่ม ที่หรือปีที่
.(ฉบับที่):หน้าที่พิมพ์บทความ ; วัน เดือน ปี ที่
วารสารนั้นออ การวางตลาด
- อ้างอิงจากหนังสือพิมพ์
ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ . “ชื่อบทความ,”
ชื่อหนังสือพิมพ์. วัน เดือน ปี หน้าที่พิมพ์
บทความ
- อ้างอิงข้อความที่ได้จากการสัมภาษณ์
ผู้ให้สัมภาษณ์ ,ผู้สัมภาษณ์ ,สถานที่สัมภาษณ์
เมื่อวันที่ เดือน ปี ที่ สัมภาษณ์ .
2)เชิงอรรถเสริมความ หรือต้องการขยายความเพื่อ
ความเข้าใจยิ่งขึ้น
3)เชิงอรรถโยง ใช้เมื่อต้องการโยงให้ผู้อ่าน ดูเรื่อง
ราวในหน้าอื่นของรายงานที่มีความเกี่ยวข้องกับ
เรื่องที่กำาลังอ่าน
6.3. การอ้างอิงท้ายรายงาน หรือบรรณานุกรม ดัง
อธิบายแล้ว
จบแล้ว
บ๊าย
บาย

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความkroonoi06
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553Kun Cool Look Natt
 
R w p2_2การเรียนรู้
R w p2_2การเรียนรู้R w p2_2การเรียนรู้
R w p2_2การเรียนรู้Where Try
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocxเผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocxPimchanok Teerasawet
 
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 2 my favorite subjects
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 2  my favorite subjects เผยแพร่ผลงาน เล่ม 2  my favorite subjects
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 2 my favorite subjects Pimchanok Teerasawet
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะสมใจ จันสุกสี
 

What's hot (16)

หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
 
R w p2_2การเรียนรู้
R w p2_2การเรียนรู้R w p2_2การเรียนรู้
R w p2_2การเรียนรู้
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocxเผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
 
แบบฝึกทักษะการสอนภาษอังกฤษอ่าน เขียน Graphs and tables
แบบฝึกทักษะการสอนภาษอังกฤษอ่าน เขียน Graphs and tablesแบบฝึกทักษะการสอนภาษอังกฤษอ่าน เขียน Graphs and tables
แบบฝึกทักษะการสอนภาษอังกฤษอ่าน เขียน Graphs and tables
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๑แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๑
 
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 2 my favorite subjects
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 2  my favorite subjects เผยแพร่ผลงาน เล่ม 2  my favorite subjects
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 2 my favorite subjects
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
 

Similar to %A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9

ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8ฝฝ' ฝน
 
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษsakaratyo
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
การสอน Writing
การสอน Writingการสอน Writing
การสอน WritingYoo Ni
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้Waraporn Phimto
 

Similar to %A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9 (20)

ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษเทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เทคนิคการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
การสอน Writing
การสอน Writingการสอน Writing
การสอน Writing
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 

%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9

  • 1. ติ๊ง ต่อง ณ คาบเรียนวิชาภาษาไทย แนวคิด ในการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้าหาความรู้จากแหล่ง ต่างๆอย่างมีระบบและเป็นแบบแผนเป็นส่วนประกอบที่สำาคัญ ยิ่งและในการเขียนเสนอผลการค้นคว้าด้วยการเขียน รายงาน ผู้เขียนต้องจัดรูปแบบ วิธีการในการเขียน การใช้ ภาษาให้เหมาะสม จึงจะสามารถเขียนรายงานได้ถูกต้อง อาจาร ย์ครับ เรื่องนี้มี แนวคิด อย่างไร ครับ เมื่อเนเน่ เรียนแล้ว หนูจะมี ความ สามารถยัง ไงคะ
  • 2. จุดประสงค์ เมื่อนักเรียนเรียนดดยใช้เอกสารประกอบการเรียน สำาหรับการฝึกทักษะการเขียน ชุดที่ 10 เรื่องการเขียน รายงานเชิงวิชาการแล้ว นักเรียนจะมีความสามารถดังนี้ 1.เขียนปกหน้าและปกในของรายงานเชิงวิชาการได้ถูก ต้อง 2.เขียนคำานำาได้ถูกต้อง 3.เขียนสารบัญได้ถูกต้อง 4.เขียนบรรณานุกรมได้ถูกต้อง 5.ทำารายงานเชิงวิชาการโดยมีส่วนประกอบของรายงาน ได้ถูกต้องครบถ้วนได้ อ. ครับตอน นี้ผมไม่ไม่รู้ เรื่องเลย ผม ควรทำา อย่างไรดี ครับ
  • 3. คำาแนะนำา 1.อ่านเนื้อหาของบทเรียนตามลำาดับอย่างพิจารณา 2.ทำาความเข้าใจบทเรียน 3.ทำากิจกรรม 4.ตอนใดไม่เข้าใจให้ถามเพื่อนหรือถามครูผู้สอน การเขียนรายงานเชิงวิชาการ รายงานเชิงวิชาการ คือการเขียนรายงานเพื่อเสนอผล การศึกษาค้นคว้าให้ผู้อื่นทราบ ส่วนประกอบของรายงาน รายงานเชิงวิชาการมีส่วนประกอบดังนี้ 1.ปกหน้า หรือหน้าปก 2.ใบรองปก 3.หน้าปกใน 4.คำานำา 5.สารบัญ 6.บทนำา 7.เนื้อหา 8.บทสรุป 9.บรรณานุกรม 10. ใบรองปกหลัง 11. ปกหลัง ปกหน้าหรือหน้าปก ส่วนประกอบ หน้าปกมีส่วนประกอบดังนี้ อาจารย์ สรุปการ เขียนรายงาน วิชาการมันคือ อะไรกันแน่ฮะ
  • 4. 1. ชื่อเรื่อง ให้เขียนไว้กลางหน้าปกส่วนบน 2.ชื่อผู้ทำารายงาน ถ้ามีหลายคนต้องเขียนให้ครบทุก คน โดยเขียนไว้ตรงส่วนกลางชองหน้าปก 3.ชื่อวิชา ภาคเรียน ปีการศึกษาที่ทำา และชื่อสถาน ศึกษา ให้เขียนไว้กลางหน้าปกส่วนล่าง การเขียนหน้าปก 1.ไม่ต้องเขียนคำาว่ารายงานหน้าชื่อเรื่อง 2.ช่องว่างระหว่างชื่อเรื่อง กับชื่อผู้ทำารายงานเท่ากับ ช่องว่างระหว่างชื่อผู้ทำารายงานกับชื่อวิชา ใบรองปก เป็นกระดาษเปล่าไม่ต้องเขียนข้อความใด ๆ หน้าปกใน เหมือนหน้าปกทุกประการ คำานำา ลักษณะของคำานำา คือ ข้อตกลงเบื้องต้นระหว่างผู้ทำา รายงานกับผู้อ่านรายงาน อันจะช่วยให้อ่านรายงานนั้นถูก ต้องและได้ผลดียิ่งขึ้น คำานำาไม่ใช่ข้อแก้ตัวหรือออกตัวของผู้ ทำารายงาน การเขียนคำานำา ควรมี 3 ย่อหน้า ดังนี้ 1.ย่อหน้าที่ 1 บอกความสำาคัญของเรื่องที่เขียนว่ามี ความสำาคัญหรือมีความน่าสนใจอย่างไรเป็นการกล่าง ถึงภูมิหลังของรายงานนี้อย่างย่อยที่สุด 2.ย่อหน้าที่2 บอกเนื้อหาสาระหรือเรื่องราวที่ทำาโดยสรุป ว่ากล่าวถึงเรื่องใดบ้างและเรื่องเหล่านั้นได้ข้อมูลมา จากแหล่งใด 3.ย่อหน้าที่3 บอกความคาดหวังที่จะได้จากรายงาน ฉบับนี้ จะมีประโยชน์กับผู้ใดอย่างไร เป็นต้น สารบัญหรือสารบัญ ส่วนประกอบของสารบัญ 1.หัวเรื่อง หรือเรื่อง หรือบทที่ปรากฏอยู่ที่รายงาน
  • 5. 2.เลขหน้า การเขียนสารบัญ 1.การเขียนหัวข้อเรื่อง ให้จัดลำาดับเรื่องหรือ บทตาม ลำาดับที่ปรากฏอยู่ในรายงานโดยไม่ต้องเอาคำานำามา เรียงไว้ด้วย 2.การเลขหน้า ให้เขียนเลขหน้าเริ่มต้นของเรื่องนั้นๆ โดยไม่เขียนเลขหน้าสุดท้ายของเรื่อง คือ 1-8 เป็นต้น ประโยชน์ของการเขียนเลขหน้า เพื่อสะดวกแก่ผู้อ่าน ให้สามารถค้นหาเรื่องที่ต้องการอ่านได้รวดเร็ว ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสารบัญ นอกจากสารบัญเรื่องแล้วอาจมีสารบัญเพิ่มเติมตาม ลักษณะของรายงาน เช่น รายงานนั้นมีตารางสถิติหลาย ตาราง ก็จะต้องมีบัญชีตารางหรือสารบัญตารางนั้นเอง หรือ หากรายงานมีภ่พประกอบหลายภาพก็จะต้องมีบัญชีภาพ ประกอบหรือสารบัญภาพนั้นเอง ลักษณะการเขียนให้ระบุ เลขหน้าไว้ด้วย อ. แล้ว มันมีส่วน ประกอบ อะไรบ้าง หล่ะ เนื้อ หาเนี่ย
  • 6. เนื้อหา ลักษณะของเนื้อหา เนื้อหา คือ ข้อมูลที่รวบรวมมาจาก การศึกษาค้นคว้าและนำามาเลือกสรรเฉพาะที่ตรงกับสาระ สำาคัญของเรื่องที่ต้องการจะเสนอ ข้อมูลที่นำามาเขียนต้องถูก ต้องและการนำาข้อมูลมาต้องอ้างหลักฐานที่มาให้ถูกวิธี ส่วนประกอบของเนื้อหา เนื้อหาของรายงานมีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ 1.บทนำา 2.ตัวเรื่อง 3.สรุป 1.บทนำา กล่าวถึงภูมิหลังและความสำาคัญของเรื่องที่ทำา อย่างละเอียด 2.ตัวเรื่อง กล่าวถึงสาระสำาคัญของรายงานอย่างละเอียด โดยเรียงตามลำาดับความคิดและเหตุผลอาจแบ่งหลายบท หลายหัวข้อ ตัวเรื่อง ประกอบด้วย - เนื้อหา - ตัวอย่าง ข้อความที่คัดลอกมา ข้อความที่ย่อมา - รูปภาพ - ตาราง - เชิงอรรถ 3.บทสรุป กล่าวถึงสาระของรายงานโดยสรุป อาจมีตอน เดียวหรือหลายตอนก็ได้ อ.แล้ว บรรณานุกร มล่ะครับ มัน มีหลัก อย่างไรบ้าง ในการเขียน
  • 7. บรรณานุกรม ลักษณะของบรรณานุกรม บรรณานุกรม คือรายชื่อของหนังสือ เอกสารหรือแหล่งข้อมูลนำามาอ้างอิงทั้งหมด การเขียนบรรณานุกรม 1.นำามาจากหนังสือทั่วไป ชื่อ ชื่อสกุล, ยศหรือฐานันดรศักดิ์หรือราชทินนาม (ถ้ามี) . ชื่อหนังสือ ครั้งที่พิมพ์ . จังหวัด ที่พิมพ์ : สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ . 2.นำามาจากบทความในหนังสือ ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ . “ชื่อบทวาม , “ใน ชื่อหนังสือ . ชื่อบรรณาธิการหรือ ผู้รวมรวบ ( ถ้ามี ) . หน้าของบทความนั้น . จังหวัดที่ พิมพ์ : สำานักพิมพ์ หรือ ผู้จัดพิมพ์ , ปีที่พิมพ์. 3.นำามาจากบทความในวารสาร ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ . “ ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร . ปีที่หรือเล่มที่ (ฉบับที่ ): หน้าที่ ตีพิมพ์บทความ ; วัน เดือน ปี . 4.นำามาจากบทความในหนังสือพิมพ์ ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ . “ชื่อบทความ,” ชื่อ หนังสือพิมพ์ . วัน เดือน ปี . หน้าที่ตีพิมพ์ บทความ .
  • 8. 5.นำามาจากการสัมภาษณ์ ชื่อ ชื่อสกุลผู้ให้สัมภาษณ์ , ตำาแหน่ง ( ถ้ามี ) . สัมภาษณ์, วัน เดือน ปี . 6.นำามาจากวัสดุอื่นๆ เช่น แถบบันทึกเสียง แถบวีดิ ทัศน์ ชื่อ ชื่อสกุลผู้บรรยาย ผู้พูดหรือผู้ขับร้อง . ชื่อเรื่อง . (ประเภทของวัสดุ) . ชื่อจังหวัด: ผู้ผลิต หรือ ผู้จัดทำา, ปีที่ผลิต . ข้อสังเกตในการเขียนบรรณานุกรม 1.การใช้คำาเรียกอาจใช้ได้ดังนี้ - บรรณานุกรมเมื่อมีเอกสารอ้างอิงมากกว่า 5 เล่ม - หนังสืออุเทศ มีเอกสารอ้างอิงไม่เกิน 5 เล่ม - หนังสืออ้างอิงเป็นคำากลางๆ ใช้ได้ทุกกรณี 2.การเรียงลำาดับ - ถ้าหนังสืออ้างอิงมีทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ให้เรียงหนังสืออ้างอิงภาษาไทยก่อนภาษาต่างประเทศ - การเรียงลำาดับบรรณานุกรม ให้เรียงลำาดับตัวอักษร ของชื่อผู้แต่ง โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับกับการเรียงคำา ในพจนานุกรม 3.การขึ้นบรรทัดใหม่ รายละเอียดของเอกสารแต่ละเล่ม ถ้าเขียนไม่พอในบรรทัดเดียว บรรทัดต่อไปให้ย่อเข้ามา ประมาณ 7 ตัวอักษร ( อาจเว้นเข้ามา 3-7 ตัวอักษรแล้ว แต่ข้อตกลงของแต่ละสถาบัน) ใบรองปกหลัง เป็นกระดาษเปล่าไม่ต้องเขียนข้อความใดๆ
  • 9. หมายเหตุ หน้าต่อไปจะแสดงตัวอย่างส่วนประกอบของ รายงานเชิงวิชาการ ปกหน้า หรือหน้าปก การเขียนสะกดคำา นายศิริ ศิริธรรมปิติ เลขที่ 19 ชั้น ม. 4/1 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาภาษาไทย ท 401 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2544
  • 10. หมายเหตุ ช่องว่างระหว่างชื่อเรื่อง กับ ชื่อ เลขที่ ชั้นของผู้ ทำารายงาน เท่ากับ ช่องว่างระหว่างชื่อ เลขที่ ชั้น ของผู้ ทำารายงาน กับ ชื่อวิชา 2. ใบรองปก ใบรองปก เป็นกระดาษเปล่าไม่เขียนอะไรเลย ให้ใช้ขนาด และลักษณะเดียวกับกระดาษเขียนรายงาน
  • 11. 3. หน้าปกใน การเขียนสะกดคำา นายศิริ ศิริธรรมปิติ เลขที่ 19 ชั้น ม. 4/1 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาภาษาไทย ท 401 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2544 หน้าปกใน เขียนเหมือนปกหน้าทุกประการ
  • 12. 4. คำานำา คำานำา การเขียนเป็นทักษะทางภาษาที่จำาเป็นสำาหรับชีวิต เพราะเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ในการสื่อสาร หากผู้เขียนเขียนสะกดคำาไม่ถูกต้อง อาจทำาให้การสื่อสาร คลาดเคลื่อนได้ จึงมีความจำาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเขียน สะกดคำาให้ถูกต้อง รายงานฉบับนี้ ประกอบด้วย สาเหตุที่ทำาให้เขียน สะกดผิด ข้อสังเกต เกี่ยวกับการเขียนคำาที่มักเขียนผิด และได้ประมวลคำาที่ มักเขียนผิดไว้ ตั้งแต่ อักษรหมวด ก. ถึง หมวด อ. และเนื้อหาทั้งหมดใน รายงานฉบับนี้ ผู้เขียนได้ ค้นคว้ารวบรวมจากหนังสือที่เขียนด้วยผู้ทรงคุณวุฒิทาง ด้านภาษาไทย หลายด้านด้วยกัน หวังว่ารายงานฉบับนี้ จะช่วยให้ผู้อ่านได้รับความรู้ เรื่องการเขียน สะกดคำาเพิ่มขึ้น และสามารถนำาไปใช้ในการติดต่อ สื่อสารได้เป็นอย่างดี ศิริ ศิริธรรมปิติ เลขที่ 19 ม. 4/1
  • 13. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ คำานำา คือข้อตกลงเบื้องต้นระหว่างผู้ทำารายงาน กับผู้อ่าน รายงานซึ่งจะช่วยให้อ่านรายงานนั้นถูกต้อง และได้ผลดียิ่ง ขึ้น 5. สารบัญ สารบัญ เรื่อง หน้า บทนำา..ความสำาคัญของการเขียน 1 สาเหตุที่ทำาให้การเขียนสะกดผิด 2 ข้อสังเกตเกี่ยวกับการเขียนคำาที่มักสะกดผิด 10 ประมวลคำาที่มักเขียนผิด 13 บรรณานุกรม 20
  • 14. สารบัญ ประกอบด้วยหัวข้อเรื่อง หรือเรื่อง หรือบทที่ประกฏ อยู่ในรายงาน พร้อมระบุเลขหน้า เพื่อสะดวกแก่ผู้อ่านจะได้ ค้นหา เรื่องที่อ่านได้รวดเร็ว
  • 15. เนื้อหา (6. บทนำา, 7. เนื้อหา, 8. บทสรุป) 6. บทนำา 7. เนื้อหา 8. บทสรุป ( ทั้ง 3 ส่วนนี้ คือ เนื้อหาในรายงาน แบ่งเป็นกี่เรื่อง กี่ บท แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้เขียนรายงานเรื่องนั้นๆ ) เนื้อหา ประกอบด้วยบทนำา เนื้อหาสาระ หรือบทต่างๆ ในรายงาน และบทสรุป 9. บรรณานุกรม บรรณานุกรม ชื่อ ชื่อสกุล, ยศ หรือฐานันดรศักดิ์ หรือราชทินนาม –ถ้ามี-. ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ์. จังหวัดที่พิมพ์ : สำานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ,” ในชื่อหนังสือ. ชื่อบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม (ถ้ามี). หน้าของบทความนั้น. จังหวัดที่พิมพ์ : สำานัก พิมพ์ หรือผู้จัดพิมพ์, ปีที่พิมพ์. ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ (ฉบับที่) : หน้าที่ ตีพิมพ์บทความ ; วัน เดือน ปี. ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ,” ชื่อ หนังสือพิมพ์. วัน เดือน ปี. หน้าที่ตีพิมพ์ บทความ. ชื่อ ชื่อสกุลผู้ให้สัมภาษณ์, ตำาแหน่ง (ถ้ามี). สัมภาษณ์, วัน เดือน ปี. ชื่อ ชื่อสกุลผู้บรรยาย ผู้พูด หรือผู้ขับร้อง. ชื่อเรื่อง. (ประเภทของวัสดุ). ชื่อจังหวัด : ผู้ผลิต หรือผู้จัดทำา, ปีที่ผลิต.
  • 16. บรรณานุกรม คือ รายชื่อหนังสือ หรือเอกสารที่อ้างอิง ข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าเรื่องนั้นๆ ซึ่งจัดเรียงไว้ตามลำาดับ ตัวอักษรของชื่อผู้แต่ง หรือหน่วยงาน ที่เป็นเจ้าของ
  • 17. 10. ใบรองปกหลัง ใบรองปกหลัง เป็นกระดาษเปล่าชนิดเดียวกับที่ใช้เขียน หรือพิมพ์เนื้อหา ใบรองปกหลังนี้ไม่ต้องเขียนข้อความใดๆ 12. ปกหลัง ใช้กระดาษชนิดเดียวกับปกหน้า แต่ไม่ต้อง เขียนข้อความใดๆ การเตรียมเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเตรียมเขียนรายงานเชิง วิชาการเริ่มต้นแล้ว
  • 18. การเตรียมเขียนรายงานเชิงวิชาการ มีขั้นตอนโดยทั่วๆ ไปดังนี้ 1.การเลือกเรื่อง ถ้าไม่มีการกำาหนดเรื่องให้ หรือมี โอกาสในการเลือกเรื่องเอง ควรใช้หลักเกณฑ์ ใน การพิจารณาเลือก ดังนี้ 1.1. เป็นเรื่องที่ตนสนใจ หรือมีความรู้เกี่ยวกับเรื่อง นั้นๆอยู่บ้าง 1.2. เป็นเรื่องที่น่าสนใจ ทันต่อเหตุการณ์ หรือเป็น เรื่องแปลกที่คนทั่วไปยังไม่ทราบมากนัก และมี ประโยชน์ 1.3. เป็นเรื่องที่สามารถหาข้อมูลได้ง่าย 1.4. เป็นเรื่องที่สามารถกำาหนดขอบเขตได้ชัดเจน 2.การตั้งชื่อเรื่อง การเขียนรายงานเชิงวิชาการ มักตั้ง ชื่อตามความสำาคัญของเรื่อง 3.การวางโครงเรื่อง มีวิธีดำาเนินการตามลำาดับดังนี้ 3.1. รวบรวมความรู้ความคิด 3.2. จัดหมวดหมู่ความรู้ความคิด 3.3. จัดลำาดับความรู้ความคิด 4.การรวบรวมหนังสือ และเอกสารที่จะใช้ในการเขียน รายงาน ทำาได้โดยดูชื่อหนังสือที่น่าจะเกี่ยวข้อง แล้วเปิดอ่านผ่านๆ ในหน้าคำานำา สารบัญ ดรรชนี เพื่อตัดสินใจว่าจะเลือกเล่มนั้นหรือไม่ ถ้าเล่มใดมี หัวข้อตรง หรือใกล้เคียงให้เลือกไว้ก่อน 5.การรวบรวมข้อมูลโดยการบันทึก ให้รายละเอียด เฉพาะบท เฉพาะตอนที่เกี่ยวข้อง แล้วจัดทำาบันทึก ความรู้ 6.การเขียนส่วนอ้างอิง อาจเขียนเพื่ออธิบายเพิ่มเติม และเขียนเพื่อแสดงที่มาของข้อมูลเพื่อช่วยให้ข้อ เขียนนั้นมีนำ้าหนักน่าเชื่อถือ และเป็นการแสดง มารยาทต่อเจ้าของความรู้ ความคิดเดิม ส่วนอ้างอิงมี 3 ลักษณะ ดังนี้
  • 19. 6.1. การอ้างอิงแทรกในเนื้อหา มีการอ้างอิงแหล่ง ที่มา และคำาอธิบายเพิ่มเติม 1) อ้างอิงแหล่งที่มา ให้เขียน ดังนี้ (ชื่อ ชื่อสกุลผู้แต่ง.ปีที่พิมพ์ : เลขหน้าที่อ้างอิง) เช่น (กำาชัย ทองหล่อ . 2533: 95) 2) คำาอธิบายเพิ่มเติม ให้เขียนไว้ในวงเล็บแทรกใน เนื้อหาได้เลย 6.2. การอ้างอิงในเชิงอรรถ ให้เขียนดังนี้ 1) เขียนไว้ส่วนล่างสุดของหน้ากระดาษ โดยมีเส้น ขวางยาวประมาณ 1 ใน 3 หรือครึ่งหนึ่งของหน้า กระดาษ 2) ตัวเลขกำากับเชิงอรรถต้องตรงกับตัวเลขที่ใช้ กำากับท้ายข้อความในเนื้อเรื่องหน้าเดียวกัน 3)ตัวเลขกำากับเชิงอรรถให้เริ่มต้นนับ 1 ใหม่เมื่อ ขึ้นหน้าใหม่ 4) ข้อความในเชิงอรรถต้องจบในหน้าเดียว และ ต้องอยู่ในหน้าเดียวกับข้อความในเรื่องที่เชิงอรรถ นั้นกล่าวถึง การเขียนเชิงอรรถ 1)เชิงอรรถอ้างอิงแหล่งที่มา - อ้างอิงจากหนังสือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อสกุล. ชื่อหนังสือ. ปีที่พิมพ์. หน้าที่อ้างอิง - อ้างอิงจากวารสาร ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ หรือชื่อเรื่อง,” ชื่อวารสาร. เล่ม ที่หรือปีที่
  • 20. .(ฉบับที่):หน้าที่พิมพ์บทความ ; วัน เดือน ปี ที่ วารสารนั้นออ การวางตลาด - อ้างอิงจากหนังสือพิมพ์ ชื่อ ชื่อสกุลผู้เขียนบทความ . “ชื่อบทความ,” ชื่อหนังสือพิมพ์. วัน เดือน ปี หน้าที่พิมพ์ บทความ - อ้างอิงข้อความที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ ,ผู้สัมภาษณ์ ,สถานที่สัมภาษณ์ เมื่อวันที่ เดือน ปี ที่ สัมภาษณ์ . 2)เชิงอรรถเสริมความ หรือต้องการขยายความเพื่อ ความเข้าใจยิ่งขึ้น 3)เชิงอรรถโยง ใช้เมื่อต้องการโยงให้ผู้อ่าน ดูเรื่อง ราวในหน้าอื่นของรายงานที่มีความเกี่ยวข้องกับ เรื่องที่กำาลังอ่าน 6.3. การอ้างอิงท้ายรายงาน หรือบรรณานุกรม ดัง อธิบายแล้ว จบแล้ว บ๊าย บาย