SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บทที่ 6
ภาษามือหมวด ของใช้และเครื่องใช้ในบ้าน
ของใช้และเครื่องใช้ในบ้าน เป็นอุปกรณ์อานวยความสะดวกในชีวิตประจาวัน ซึ่งจาเป็นต้อง
มีการสื่อสารเพื่อให้เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สามารถรู้คาศัพท์ และใช้ในชีวิตประจาวันได้
1. ภาษามือหมวดของใช้ในบ้าน
ภาษามือหมวดของใช้ในบ้านสามารถทาได้โดยมีท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ ซึ่ง
ส่วนใหญ่แล้วเป็นการทาท่าตามลักษณะของใช้หรือลักษณะการใช้ โดยสามารถแบ่งได้หลายห้อง
ได้แก่ ของใช้ในห้องนอน ของใช้ในห้องนา ของใช้ในห้องครัว ตลอดจนอุปกรณ์ภายในบ้าน
การทาภาษามือคาศัพท์ห้องนอน ให้คิดถึงลักษณะการใช้ เช่น เตียง ให้คิดถึงเตียงซึ่งมี
ลักษณะเรียบๆ แล้วลูบมือสองข้างลงบนเตียง จังหวะที่สองให้คิดถึงว่าเวลาอยู่ที่เตียงจะทาอะไร
ส่วนใหญ่แล้วเราก็จะนอน จึงทาภาษามือท่านอน ตามภาพ
ของใช้ในบ้าน
ทำท่ำมือ บ้ำน และ ห่อมือสองข้ำงขยับตำมลูกศร
เตียง/ที่นอน
ควำมือแล้วขยับไปด้ำนข้ำงและทำท่ำนอน
หมอน
ทำท่ำมือ c สองข้ำงและทำท่ำนอน
ผ้าห่ม
ทำท่ำหยิบผ้ำห่มขึ้นมำห่มตัวเอง
50
ภาษามือของใช้ในห้องนา เป็นอุปกรณ์ที่สามารถทาภาษามือตามลักษณะการใช้ เช่น
แปรงสีฟัน ทาท่าแปรงฟัน ก็สามารถสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินรู้เรื่อง ส่วน
คาศัพท์อื่นก็ทาเช่นเดียวกัน ตามภาพ
แปรงสีฟัน
ทำท่ำมือ เลขหนึง และทำท่ำมือแปรงสีฟัน
ยาสีฟัน
มือข้ำงหนึงทำท่ำมือเลขหนึง อีกข้ำงทำท่ำบีบยำสีฟัน
ขันนา
งุ้มมือเล็กน้อยและยกขึ้นมำไว้ระดับอก
เหมือนกำรตักน้ำอำบ
หวี
กำมือและทำท่ำหวีผม ดังภำพ
สบู่
ควำมือและถูไปมำบนแขน
ยาสระผม
ทำท่ำบีบขวดและทำท่ำสระผม
51
ภาษามือของใช้ในห้องครัว ทาท่าเป็นลักษณะของสิ่งของนันๆ เช่น ถ้วย ก็จะห่อมือลักษณะ
คล้ายๆ กับถ้วย ส่วนคาว่าจาน ก็จะแบมือเหมือนกับลักษณะของจาน เมื่อทาท่ามือตามลักษณะของ
สิ่งของนันแล้วก็จะได้ภาษามือที่ถูกต้อง ส่วนคาอื่นๆ ก็จะมีท่ามือลักษณะของใช้นันๆ ประกอบกับท่า
มืออื่น ๆ ตามภาพ
ถ้วย
ห่อมือขนำดเท่ำถ้วย
จาน
แบมือขนำดจำน
แก้ว
ทำท่ำมือ c วำงบนมือ ตำมภำพ
ช้อน
ทำท่ำมือ a และทำท่ำตักอำหำรเข้ำปำก
ส้อม กระดาษชาระ
52
ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลำง และนิ้วนำง จิ้มลงบนฝ่ำมือ
อีกข้ำงหนึง
แบมือหมุนมือออกด้ำนนอกและทำท่ำเช็ดปำก
ภาษามืออุปกรณ์ภายในบ้าน เป็นภาษามือที่ใช้ลักษณะของเครื่องใช้เช่นกัน ยกตัวอย่างคาว่า
โต๊ะ ให้ลองจินตนาการถึงโต๊ะที่วางไว้หนึ่งตัว จะพบว่าโต๊ะมีลักษณะที่เรียบด้านบนและมีขาลงมา
คาศัพท์อื่นๆ ก็จะลักษณะของเครื่องใช้เหมือนกันและประกอบกับลักษณะการใช้ด้วย ดังภาพ
โต๊ะ
ทำท่ำลูบบนโต๊ะและลูบลง ดังภำพ
เก้าอี
ทำท่ำมือ เลขสอง และควำมือแตะกัน
ประตู
แบมือชิดกันและดึงมือข้ำงหนึงออกมำ ดังภำพ
หน้าต่าง
แบมือชิดกันและผลักมือทั้งสองข้ำงออก เหมือนกำรเปิด
หน้ำต่ำง ดังภำพ
53
นาฬิกาแขวน
ทำท่ำมือ นำฬิกำ และทำท่ำมือแขวน
กุญแจ
ทำท่ำมือตัว a และไขทีฝ่ำมืออีกด้ำนหนึง
2. ภาษามือหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้ามีคาศัพท์ภาษามือที่น่าสนใจหลายคาซึ่งล้วนแต่มีความสาคัญ โดยคาศัพท์
แต่ละคานันสามารถทาตามลักษณะการใช้งาน เช่น โทรศัพท์ ซึ่งทุกคนทาท่าทางกันอยู่เป็นประจาอยู่
แล้ว บางคาก็ใช้รูปทรงของเครื่องใช้นันๆ เช่น ตู้เย็น ทาท่ามือเป็นสี่เหลี่ยมเหมือนตู้ และทาท่าหนาว
เป็นต้น
เครื่องใช้ไฟฟ้า
ทำท่ำมือไฟฟ้ำและทำท่ำมือของ
โทรทัศน์
ทำท่ำมือจอโทรทัศน์
โทรศัพท์
ทำท่ำมือ ย และยกขึ้นแนบหูเหมือนโทรศัพท์
วิทยุ
ทำท่ำมือหมุนทั้งสองมือ และสลัดมือทีข้ำงหู
54
เตารีด
กำมือและทำท่ำทำงรีดผ้ำทีฝ่ำมืออีกข้ำง
ตู้เย็น
ทำท่ำมือ ตู้ และทำท่ำมือ เย็น
นอกจากนีคาศัพท์ในหมวดของใช้ภายในบ้านและเครื่องใช้ไฟฟ้า มีตัวอย่างการใช้
ภาษามือซึ่งต้องมีความระมัดระวังในการใช้ โดยต้องคานึงถึงท่ามือ ตาแหน่งของมือ การเคลื่อนไหว
ของมือและทิศทางของมือ ให้ถูกต้องเพื่อให้การสื่อสารไม่ผิดเพียนไปจากที่ต้องการ
การทาภาษามือคาว่าเก้าอีและภาษามือคาว่านั่ง เมื่อดูแล้วไม่แตกต่างกันแต่ให้สังเกตที่
การเคลื่อนไหวของมือ ภาษามือเก้าอีจะแตะมือสองครัง ส่วนคาว่าหนึ่งจะแตะลงไปครังเดียวและหยุด
นิ่งสักพักหนึ่งเหมือนเวลาที่คนนั่งเก้าอี ดังภาพ
เก้าอี นั่ง
ภาษามือที่ใช้กันผิดบ่อยๆ คือ คาว่าประตูและคาว่าเปิดประตูส่วนใหญ่แล้วจะใช้
เหมือนกันซึ่งความจริงแล้วไม่ถูกหลักการของภาษามือ การทาภาษามือคาว่าประตูและเปิดประตู ให้ดู
การเคลื่อนไหวของมือ โดยการทาภาษามือคาว่าประตู จะดึงมือออกมาด้านหลังและขยับมือสองครัง
ถ้าจะทาคาว่า เปิดประตูจะดึงมือมาแค่หนึ่งครังเหมือนการเปิดประตูจริงๆ
55
ประตู เปิดประตู
3. การสนทนาในหมวดของใช้และเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
คาศัพท์หมวดของใช้และเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน สามารถสนทนากันได้มากมายโดย
การนาเอาคาศัพท์ที่เรียนมาแล้วมาประกอบเป็นประโยคได้ดังนี
ก : ไปไหน ข : จะไปซือนาฬิกาแขวน
สรุป
ภาษามือหมวดของใช้และเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ หมวดของใช้ในบ้าน
ประกอบด้วย ของใช้ในห้องนอน ของใช้ในครัว ของใช้ในห้องนา โดยท่ามือจะบ่งบอกถึงลักษณะของ
เครื่องใช้นันๆ ส่วนภาษามือหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้านันเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจาวันซึ่งท่ามือก็นามา
จากลักษณะการใช้งานของเครื่องใช้ไฟฟ้านันๆ เช่น เครื่องซักผ้า ท่ามือที่ปรากฎคือจับที่เสือและ
ทาท่ามือหมุน เป็นต้น
แบบฝึกท้ายบท
1. ให้นักศึกษาทาภาษามือตามคาศัพท์ที่กาหนดให้
1.1 ผ้าห่ม
1.2 ตู้เสือผ้า
1.3 มุ้งลวด
1.4 โทรทัศน์
1.5 ตู้เย็น
2. ให้นักศึกษาจับคู่และฝึกการสนทนาภาษามือในหมวดของใช้ในบ้านอุปกรณ์ในบ้านและ
เครื่องใช้ไฟฟ้า
56
เอกสารอ้างอิง
กรมสามัญศึกษา. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว .
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว .
ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1.
กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

More Related Content

What's hot

บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14pop Jaturong
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10pop Jaturong
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12pop Jaturong
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำBengelo
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226Siriya Khaosri
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingTeetut Tresirichod
 

What's hot (20)

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinking
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

บทที่ 6

  • 1. บทที่ 6 ภาษามือหมวด ของใช้และเครื่องใช้ในบ้าน ของใช้และเครื่องใช้ในบ้าน เป็นอุปกรณ์อานวยความสะดวกในชีวิตประจาวัน ซึ่งจาเป็นต้อง มีการสื่อสารเพื่อให้เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สามารถรู้คาศัพท์ และใช้ในชีวิตประจาวันได้ 1. ภาษามือหมวดของใช้ในบ้าน ภาษามือหมวดของใช้ในบ้านสามารถทาได้โดยมีท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ ซึ่ง ส่วนใหญ่แล้วเป็นการทาท่าตามลักษณะของใช้หรือลักษณะการใช้ โดยสามารถแบ่งได้หลายห้อง ได้แก่ ของใช้ในห้องนอน ของใช้ในห้องนา ของใช้ในห้องครัว ตลอดจนอุปกรณ์ภายในบ้าน การทาภาษามือคาศัพท์ห้องนอน ให้คิดถึงลักษณะการใช้ เช่น เตียง ให้คิดถึงเตียงซึ่งมี ลักษณะเรียบๆ แล้วลูบมือสองข้างลงบนเตียง จังหวะที่สองให้คิดถึงว่าเวลาอยู่ที่เตียงจะทาอะไร ส่วนใหญ่แล้วเราก็จะนอน จึงทาภาษามือท่านอน ตามภาพ ของใช้ในบ้าน ทำท่ำมือ บ้ำน และ ห่อมือสองข้ำงขยับตำมลูกศร เตียง/ที่นอน ควำมือแล้วขยับไปด้ำนข้ำงและทำท่ำนอน หมอน ทำท่ำมือ c สองข้ำงและทำท่ำนอน ผ้าห่ม ทำท่ำหยิบผ้ำห่มขึ้นมำห่มตัวเอง
  • 2. 50 ภาษามือของใช้ในห้องนา เป็นอุปกรณ์ที่สามารถทาภาษามือตามลักษณะการใช้ เช่น แปรงสีฟัน ทาท่าแปรงฟัน ก็สามารถสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินรู้เรื่อง ส่วน คาศัพท์อื่นก็ทาเช่นเดียวกัน ตามภาพ แปรงสีฟัน ทำท่ำมือ เลขหนึง และทำท่ำมือแปรงสีฟัน ยาสีฟัน มือข้ำงหนึงทำท่ำมือเลขหนึง อีกข้ำงทำท่ำบีบยำสีฟัน ขันนา งุ้มมือเล็กน้อยและยกขึ้นมำไว้ระดับอก เหมือนกำรตักน้ำอำบ หวี กำมือและทำท่ำหวีผม ดังภำพ สบู่ ควำมือและถูไปมำบนแขน ยาสระผม ทำท่ำบีบขวดและทำท่ำสระผม
  • 3. 51 ภาษามือของใช้ในห้องครัว ทาท่าเป็นลักษณะของสิ่งของนันๆ เช่น ถ้วย ก็จะห่อมือลักษณะ คล้ายๆ กับถ้วย ส่วนคาว่าจาน ก็จะแบมือเหมือนกับลักษณะของจาน เมื่อทาท่ามือตามลักษณะของ สิ่งของนันแล้วก็จะได้ภาษามือที่ถูกต้อง ส่วนคาอื่นๆ ก็จะมีท่ามือลักษณะของใช้นันๆ ประกอบกับท่า มืออื่น ๆ ตามภาพ ถ้วย ห่อมือขนำดเท่ำถ้วย จาน แบมือขนำดจำน แก้ว ทำท่ำมือ c วำงบนมือ ตำมภำพ ช้อน ทำท่ำมือ a และทำท่ำตักอำหำรเข้ำปำก ส้อม กระดาษชาระ
  • 4. 52 ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลำง และนิ้วนำง จิ้มลงบนฝ่ำมือ อีกข้ำงหนึง แบมือหมุนมือออกด้ำนนอกและทำท่ำเช็ดปำก ภาษามืออุปกรณ์ภายในบ้าน เป็นภาษามือที่ใช้ลักษณะของเครื่องใช้เช่นกัน ยกตัวอย่างคาว่า โต๊ะ ให้ลองจินตนาการถึงโต๊ะที่วางไว้หนึ่งตัว จะพบว่าโต๊ะมีลักษณะที่เรียบด้านบนและมีขาลงมา คาศัพท์อื่นๆ ก็จะลักษณะของเครื่องใช้เหมือนกันและประกอบกับลักษณะการใช้ด้วย ดังภาพ โต๊ะ ทำท่ำลูบบนโต๊ะและลูบลง ดังภำพ เก้าอี ทำท่ำมือ เลขสอง และควำมือแตะกัน ประตู แบมือชิดกันและดึงมือข้ำงหนึงออกมำ ดังภำพ หน้าต่าง แบมือชิดกันและผลักมือทั้งสองข้ำงออก เหมือนกำรเปิด หน้ำต่ำง ดังภำพ
  • 5. 53 นาฬิกาแขวน ทำท่ำมือ นำฬิกำ และทำท่ำมือแขวน กุญแจ ทำท่ำมือตัว a และไขทีฝ่ำมืออีกด้ำนหนึง 2. ภาษามือหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้ามีคาศัพท์ภาษามือที่น่าสนใจหลายคาซึ่งล้วนแต่มีความสาคัญ โดยคาศัพท์ แต่ละคานันสามารถทาตามลักษณะการใช้งาน เช่น โทรศัพท์ ซึ่งทุกคนทาท่าทางกันอยู่เป็นประจาอยู่ แล้ว บางคาก็ใช้รูปทรงของเครื่องใช้นันๆ เช่น ตู้เย็น ทาท่ามือเป็นสี่เหลี่ยมเหมือนตู้ และทาท่าหนาว เป็นต้น เครื่องใช้ไฟฟ้า ทำท่ำมือไฟฟ้ำและทำท่ำมือของ โทรทัศน์ ทำท่ำมือจอโทรทัศน์ โทรศัพท์ ทำท่ำมือ ย และยกขึ้นแนบหูเหมือนโทรศัพท์ วิทยุ ทำท่ำมือหมุนทั้งสองมือ และสลัดมือทีข้ำงหู
  • 6. 54 เตารีด กำมือและทำท่ำทำงรีดผ้ำทีฝ่ำมืออีกข้ำง ตู้เย็น ทำท่ำมือ ตู้ และทำท่ำมือ เย็น นอกจากนีคาศัพท์ในหมวดของใช้ภายในบ้านและเครื่องใช้ไฟฟ้า มีตัวอย่างการใช้ ภาษามือซึ่งต้องมีความระมัดระวังในการใช้ โดยต้องคานึงถึงท่ามือ ตาแหน่งของมือ การเคลื่อนไหว ของมือและทิศทางของมือ ให้ถูกต้องเพื่อให้การสื่อสารไม่ผิดเพียนไปจากที่ต้องการ การทาภาษามือคาว่าเก้าอีและภาษามือคาว่านั่ง เมื่อดูแล้วไม่แตกต่างกันแต่ให้สังเกตที่ การเคลื่อนไหวของมือ ภาษามือเก้าอีจะแตะมือสองครัง ส่วนคาว่าหนึ่งจะแตะลงไปครังเดียวและหยุด นิ่งสักพักหนึ่งเหมือนเวลาที่คนนั่งเก้าอี ดังภาพ เก้าอี นั่ง ภาษามือที่ใช้กันผิดบ่อยๆ คือ คาว่าประตูและคาว่าเปิดประตูส่วนใหญ่แล้วจะใช้ เหมือนกันซึ่งความจริงแล้วไม่ถูกหลักการของภาษามือ การทาภาษามือคาว่าประตูและเปิดประตู ให้ดู การเคลื่อนไหวของมือ โดยการทาภาษามือคาว่าประตู จะดึงมือออกมาด้านหลังและขยับมือสองครัง ถ้าจะทาคาว่า เปิดประตูจะดึงมือมาแค่หนึ่งครังเหมือนการเปิดประตูจริงๆ
  • 7. 55 ประตู เปิดประตู 3. การสนทนาในหมวดของใช้และเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน คาศัพท์หมวดของใช้และเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน สามารถสนทนากันได้มากมายโดย การนาเอาคาศัพท์ที่เรียนมาแล้วมาประกอบเป็นประโยคได้ดังนี ก : ไปไหน ข : จะไปซือนาฬิกาแขวน สรุป ภาษามือหมวดของใช้และเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ หมวดของใช้ในบ้าน ประกอบด้วย ของใช้ในห้องนอน ของใช้ในครัว ของใช้ในห้องนา โดยท่ามือจะบ่งบอกถึงลักษณะของ เครื่องใช้นันๆ ส่วนภาษามือหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้านันเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจาวันซึ่งท่ามือก็นามา จากลักษณะการใช้งานของเครื่องใช้ไฟฟ้านันๆ เช่น เครื่องซักผ้า ท่ามือที่ปรากฎคือจับที่เสือและ ทาท่ามือหมุน เป็นต้น แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษาทาภาษามือตามคาศัพท์ที่กาหนดให้ 1.1 ผ้าห่ม 1.2 ตู้เสือผ้า 1.3 มุ้งลวด 1.4 โทรทัศน์ 1.5 ตู้เย็น 2. ให้นักศึกษาจับคู่และฝึกการสนทนาภาษามือในหมวดของใช้ในบ้านอุปกรณ์ในบ้านและ เครื่องใช้ไฟฟ้า
  • 8. 56 เอกสารอ้างอิง กรมสามัญศึกษา. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว . กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว . ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.