SlideShare a Scribd company logo
1 of 91
Download to read offline
๑
รายงานการสร้างนวัตกรรมเพื่อการศึกษาประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕
(Innovation For Thai Education)
................................................................
1. ชื่อนวัตกรรม
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning)
2. ชื่อผู้สร้าง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนโกสัมพีวิทยา อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร
3. แนวทางการคิดค้นนวัตกรรม
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดความเป็น
เอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทยเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
เพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิต
ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุขและเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก
แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์และสร้างสรรค์ ให้ทันต่อ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทางวิยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนา
อาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดง ภูมิปัญญา ของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม
ประเพณี สุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรียนรู้อนุรักษ์และสืบสานให้คงอยู่ตลอดไป
(กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๕๑ : ๓๗)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ได้กำหนดให้กลุ่มทักษะพื้นฐาน
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และ
เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทยเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร เพื่อสร้างความเข้าใจ
และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และนอกจากนั้นยังได้เลือกกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นอันดับแรกจาก
ทั้งหมด ๘ กลุ่มสาระโดยเน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกประสบการณ์จริง ในการฝึกปฏิบัติให้
ทำได้ คิดเป็นและรักการอ่านและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (โรงเรียนโกสัมพีวิทยา.๒๕๖๒ :๑)
กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดให้ภาษาไทยเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้หนึ่งในหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นักเรียนทุกคนที่เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจะต้องเรียน
สาระที่เป็นองค์ความรู้ ๕ สาระ ได้แก่ สาระที่ ๑ การอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน สาระที่ ๓ การฟัง การดู และ
การพูด สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาสาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม ซึ่งเมื่อจบหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐานแล้ว นักเรียนต้องมีความรู้ความสามารถ โดยสรุปคือ ต้องสามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างดี
ทั้งการอ่าน การเขียน การฟังและดู และการพูดได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้จะต้องมีนิสัยรักการอ่าน
การเขียน การแสวงหาความรู้ และใช้ภาษาในการพัฒนาตน สามารถนำทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวิต
จริงได้อย่างมีประสิทธิภาพถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ตลอดจนวิสัยทัศน์โลกทัศน์ที่กว้างไกลและลึกซึ้ง
(Khuhaphinan, ๒๐๐๔)
ผลการทดสอบคุณภาพการศึกษาพื้นฐานระดับชาติ (๐-net) ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่าผล
การทดสอบภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมระดับประเทศเท่ากับร้อยละ
51.19 และระดับจังหวัดมีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมร้อยละ 48.11 ระดับ สพฐ. คะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวม
ร้อยละ 52.13 และระดับโรงเรียนโกสัมพีวิทยา มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 47.06 โดยพบว่า คะแนนเฉลี่ย
๒
ของโรงเรียนโกสัมพีวิทยา ต่ำกว่าคะแนนระดับประเทศเท่ากับร้อยละ -4.13 ต่ำกว่าคะแนน สพฐ.เท่ากับ
ร้อยละ -5.07 และต่ำกว่าคะแนนระดับจังหวัดเท่ากับร้อยละ -1.05 ซึ่งในการนี้โรงเรียนควรเร่งพัฒนา
เนื่องจากค่าคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ำกว่าทุกระดับ ดังนั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนโกสัมพีวิทยา อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร จะต้องเร่งพัฒนาอย่างเร่งด่วนคือ มาตรฐาน
การเรียนรู้ในทุกสาระการเรียนรู้ อันได้แก่ สาระการอ่าน การเขียน การฟัง ดูและพูด สาระหลักภาษาไทย
และสาระวรรณคดีและวรรณกรรม เนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ำกว่าคะแนนระดับประเทศ ระดับ
สพฐ. และระดับจังหวัดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มสูงขึ้น
ทักษะการอ่าน การเขียนเป็นทักษะที่สำคัญและใช้มากในชีวิตประจำวัน ผู้มีทักษะการอ่านย่อม
แสวงหาความรู้และศึกษาเล่าเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำความรู้ที่ได้จากการอ่านไปใช้พูดและ
การเขียนได้เป็นอย่างดี จากสภาพการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียน ในปัจจุบันยังมีปัญหาเกี่ยวกับการอ่าน
อยู่มาก โดยเฉพาะการอ่านซึ่งอ่านไม่ถูกต้องและไม่ชัดเจน ดังคำกล่าวของ ศรียา นิยมธรรม (๒๕๔๙ : ๔๓)
ที่กล่าวถึงพฤติกรรมของเด็กที่มีปัญหาทางการอ่านได้แก่ ขมวดคิ้ว นิ่วหน้าเวลาอ่าน หลงบรรทัด อ่านสลับคำ
อ่านข้ามคำ อ่านสลับตัวอักษร อ่านถอยหลัง อ่านซ้ำ อ่านออกเสียงไม่ชัด จับใจความของเรื่องที่อ่าน หรือ
ลำดับเรื่องที่อ่านไม่ได้ จำใจความสำคัญของเรื่องไม่ได้และเล่าเรื่องไม่ได้ ซึ่งสอดคล้องกับคำกล่าวของ
วัชราภรณ์ วัตรสุข (๒๕๕๒ : ออนไลน์) ที่ได้กล่าวถึงปัญหาการอ่านไว้ว่า ความบกพร่องด้านการอ่านที่ครู
ควรศึกษามาก่อนทำการสอน มีดังนี้คือ เด็กจำตัวอักษรไม่ได้ ทำให้อ่านไม่ได้หรือจำตัวอักษรได้บ้าง แต่อ่าน
เป็นคำไม่ได้อ่านคำผิด อ่านผิดประโยค หรือผิดตำแหน่ง อ่านข้ามคำ อ่านเพิ่มคำหรือลดพยัญชนะในคำ อ่าน
ฉีกคำ อ่านคำโดยสลับตัวอักษรหรือสลับคำกัน อ่านเดาจากตัวอักษรบางตัวที่มีอยู่ในคำอ่านเว้นวรรค ไม่
ถูกต้อง ตอบคำคำถามจากเรื่องที่อ่านไม่ได้ เล่าเรื่องที่อ่านตามลำดับเหตุการณ์ไม่ได้และบอกใจความสำคัญ
ของเรื่องไม่ได้ทั้งนี้การอ่านคำได้ถูกต้องชัดเจน ย่อมแสดงถึงความเป็นผู้มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ทำให้ผู้รับ
เกิดศรัทธาเชื่อถือในตัวผู้ส่งสารในทางตรงกันข้ามถ้าอ่านไม่ถูก ทำให้ความหมายผิดไป จะเกิดปัญหาในการ
สื่อสาร ดังที่ กฤษณา กิตติเสรีบุตร (๒๕๕๓ : ๔๐) ได้กล่าวถึงปัญหาการอ่านและการเขียนเป็นปัญหาสำคัญ
ประการหนึ่งในสังคมไทย และจะเป็นปัญหามากขึ้น ถ้าหากว่าทุกฝ่ายไม่แก้ไข ดังนั้นครูผู้สอนทุกระดับชั้น
จะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการใช้ภาษา ทั้งในเรื่องการอ่านและการเขียนและควรจัดกิจกรรมการสอน
เป็นพิเศษเพื่อเสริมการสอน โดยการสร้างหรือปรับปรุงแบบฝึกทักษะให้เหมาะสมกับหลักสูตรเนื้อหา สภาพ
ของนักเรียนแต่ละท้องถิ่นและสภาพสังคมปัจจุบัน เพื่อช่วยแก้ปัญหาการอ่านและการเขียน อันเป็นทักษะ
อย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยการฝึกฝนอย่างจริงจังและต่อเนื่องเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทางภาษาดีขึ้น
จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็นว่าการอ่าน การเขียนเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งในสังคม
และจะเป็นปัญหามากขึ้นถ้าทุกฝ่ายไม่ช่วยกันแก้ไข ดังนั้นครูผู้สอนควรแก้ไขข้อบกพร่องในการอ่าน การ
เขียนซึ่งเป็นรากฐานในการใช้ภาษาไทยอันเป็นภาษาประจำชาติให้ถูกต้อง ครูจึงกิจกรรมส่งเสริมและ
พัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Instructional
Models of Cooperative Learning) เพื่อส่งเสริมทางภาษาด้านการอ่าน การเขียนให้แก่นักเรียน
คุณภาพตามกระบวนการ PDCA เป็นตัวขับเคลื่อน
4. ประเภทของนวัตกรรม
ด้านการจัดการเรียนรู้
เทคนิค วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning)
๓
๕. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
โรงเรียนโกสัมพีวิทยา เป็นสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากำแพงเพชร
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดการเรียนการสอนในระดับ มัธยมศึกษาปีที่1-ปีที่ 6 ซึ่งสถานศึกษา
ทุกสังกัดทั้งของรัฐบาลและเอกชนต้องได้รับการประเมิน คุณภาพจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การ
มหาชน) ซึ่งได้จัดการทดสอบในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 เพื่อนำผลการทดสอบไปใช้ในการประเมินผล
การเรียนรู้ของนักเรียนระดับชาติ การปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนในโรงเรียน และเป็นองค์ประกอบหนึ่ง ใน
การจบการศึกษาตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ซึ่งข้าพเจ้าได้เล็งเห็นและตระหนัก
ถึง ความสำคัญดังกล่าวและนโยบายในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) ให้สูงขึ้น
ในทุกกลุ่มสาระ จึงได้จัดการสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 256๔ ต่ำกว่าปีการศึกษา 256๔ ดังนั้นเพื่อเป็นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น
อย่างน้อยร้อยละ3 ตามนโยบายสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร และสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้ดำเนินการการสอนเสริมเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ให้สูงขึ้น กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาไทย ซึ่งได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานการสอนเสริมตามแผนยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโกสัมพีวิทยาปีการศึกษา 256๔ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จึงได้
ดำเนินการ คือ การสอนเสริมเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยเทคนิค วิธีการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning) จำนวน 3 ห้องเรียน
2 ชั่วโมง/ สัปดาห์/ ภาคเรียน ซึ่งถ้าดูผล (o-net) ของปีการศึกษา 256๔ มีผลดังนี้
ระดับ คะแนนเฉลี่ย (Mean)
โรงเรียน 47.06
จังหวัด 48.11
สพฐ. 52.13
ประเทศ 51.19
๖. วัตถุประสงค์
๑. เพื่อพัฒนากิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่านการเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้แบบร่วมมือ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ให้มีคุณภาพสูงขึ้น
๒. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการสอนระดับชาติของนักเรียนสูงขึ้น
๗ กลุ่มเป้าหมาย/ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง
1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโกสัมพีวิทยา ปีการศึกษา2565 ทุกคนได้รับการพัฒนา
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่านการเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือ
๔
๘ หลักการแนวคิดทฤษฎีที่ใช้
เทคนิค วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning)
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือมุ่งส่งเสริมให้นักเรียนทำงานร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการ
ช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบร่วมกันในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ตนเองและสมาชิกทุก
คนในกลุ่มประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ และชี้ให้เห็นว่าผู้เรียนควรร่วมมือกันในการเรียนรู้มากกว่าการ
แข่งขัน เพราะการแข่งขันกันก่อให้เกิดสภพการณ์ของการแพ้ - ชนะ ต่างจากการร่วมมือกัน ซึ่งก่อให้เกิดสภาพการณ์
ของการชนะ -ชนะ อันเป็นสภาพการณ์ที่ดีกว่าทั้งทางด้านจิตใจและสติปัญญาหลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ มี ๕
ประการ ประกอบด้วย
๑. การเรียนรู้ต้องอาศัยการพึ่งพากัน (Positive Interdependence) โดยถือว่าทุกคนมีความสำคัญเท่า
เทียมกัน และจะต้องพึ่งพากันเพื่อความสำเร็จร่วมกัน
๒. การเรียนรู้ที่ต้องอาศัยการหันหน้าเข้าหากัน มีปฏิสัมพันธ์กัน (Face-to-Face Interaction) เพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อมูล และการเรียนรู้ต่าง ๆ
๓. การเรียนรู้ร่วมกันต้องอาศัยทักษะทางสังคม (Social Skills) โดยเฉพาะ ทักษะการทำงานร่วมกัน
๔. การเรียนรู้ร่วมกันควรมีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (Group Processing)ที่ใช้ในการทำงาน
๕. การเรียนรู้ร่วมกันจะต้องมีผลงานหรือผลสัมฤทธิ์ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มที่สามารถตรวจสอบและ
ประเมินได้ (Individual Accountability)
ดังนั้น หากผู้เรียนมีโอกาสได้เรียนรู้แบบร่วมมือ นอกจากจะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทางด้านเนื้อหาสาระ
ต่าง ๆ ได้กว้างขึ้น และลึกซึ้งแล้วยังสามารถพัฒนาผู้เรียนทางด้านสังคม และอารมณ์มากยิ่งขึ้นด้วย
รวมทั้งมีโอกาสได้ฝึกฝนพัฒนาทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
๙ การออกแบบนวัตกรรม
หลักการสำคัญในการออบแบบนวัตกรรม
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
( Instructional Models of Cooperative Learning)
รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมและ
พัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย
ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบร่วมมือ ( Instructional
Models of Cooperative
Learning)
๕
วิธีปฏิบัติที่ประสบผลสำเร็จ กระบวนการและขั้นตอนการดำเนินงาน
กิจกรรม/วิธีการ/ขั้นตอนที่สำคัญ
แผนผังแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน
๑) ขั้นตอนการดำเนินงาน
(P:ขั้นวางแผน)
๑. คัดกรองนักเรียนและแบ่งกลุ่มนักเรียน
๑.๑ ประเมินกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย
ด้วยเทคนิค การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือ ( Instructional Models of
Cooperative Learningเป็นรายบุคคล
อ่านคำพื้นฐานที่ครูกำหนด
เขียนคำบอกจากคำพื้นฐานนั้น ๆ
อ่านนิทาน / ข้อความสั้น ๆ
บันทึกผลการอ่าน / การเขียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล
ประเมินผล
๑. คัดกรอง /
แบ่งกลุ่มนักเรียน
๒. วางแผน/
กำหนดกิจกรรม
รายกลุ่มที่คัดกรอง
๕.รวบรวม
สรุปผล ๔.ประเมินผลการอ่าน
การเขียนของนักเรียน
๓. ดำเนินการแก้ปัญหา
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา
การอ่านการเขียน ภาษาไทย
ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
๖. พัฒนา แก้ไข /
ปรับปรุง
คัดกรองนักเรียน
๖
๑.๒ แบ่งกลุ่มนักเรียน ตามผลการประเมินจากแบบคัดกรอง เพื่อเป็นแนวทางแก้ไข และ
พัฒนาการอ่านและการเขียนด้วย วิธีการและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่ ๑ นักเรียนอ่านคล่อง / เขียนคล่อง
กลุ่มที่ ๒ นักเรียนอ่านไม่คล่อง / เขียนไม่คล่อง
๒.) กำหนดกิจกรรมการพัฒนารายกลุ่ม เป็นการกำหนดวิธีการและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับนักเรียนแต่
ละกลุ่ม ด้วยกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ
ร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learningของนักเรียนให้เหมาะสมมากขึ้น
กลุ่มที่ ๑ นักเรียนอ่านคล่อง / เขียนคล่อง
- อ่านนิทาน / บทความ / หนังสือ สรุปบันทึกผลจากการ
อ่าน
- เขียนตามคำบอกทั้งแบบเป็นคำและเป็นประโยค
- อ่านหนังสือให้ญาติผู้ใหญ่ฟัง (บันทึกลงแบบบันทึกกิจกรรม )
กลุ่มที่ ๒ นักเรียนอ่านไม่คล่อง / เขียนไม่คล่อง
อ่านนิทาน / บทความ / หนังสือ กับเพื่อนหรือครู บอกข้อคิด
ที่ ได้ จากการอ่าน บันทึกลงในแบบบันทึกการอ่าน
- เขียนตามคำบอกทั้งแบบเป็นคำและเป็นประโยคสั้น ๆ
(D: ขั้นดำเนินงาน)
๓. ดำเนินการกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิค การจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning)
ตามกิจกรรมตามที่กำหนดตลอดปีการศึกษา
(C: ขั้นติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล)
๔ ระเมินผลการด้วยกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning เพื่อดูพัฒนาการการอ่าน
และการเขียน
แบบสรุปพัฒนาการของนักเรียน
แบบบันทึกการการอ่าน / การเขียนของนักเรียน
ผลสัมฤทธิ์ การเรียนภาษาไทยของนักเรียน
ผลการทดสอบระดับชาติ
แบ่งกลุ่มนักเรียน
(ตามผลการคัดกรอง )
กิจกรรมส่งเสริมและ
พัฒนาการอ่าน การ
เขียน ภาษาไทย ด้วย
เทคนิคการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
( Instructional
Models of
Cooperative
Learning)
ประเมินผลนักเรียน
๗
๕. รวบรวมสรุปผลข้อมูลเพื่อสรุปผลการดำเนินกิจกรรมประสบผลสำเร็จบรรลุเป้าหมาย มากน้อย
เพียงใด
นักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านการเขียนดีขึ้นกว่าเดิม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนพัฒนาขึ้น
ผลการทดสอบระดับชาติผ่านเกณฑ์ ( สูงกว่า
ระดับจังหวัด ระดับ สพฐ. และระดับประเทศ )
(A: ขั้นพัฒนา แก้ไข / ปรับปรุง)
นำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไข โดยตรวจสอบกิจกรรมที่ควรปรับปรุง และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ได้แก่
ปรับวิธีการที่ให้พ่อแม่ช่วยเหลือการเรียนของลูก / จัดให้มีกิจกรรมพี่ช่วยน้องในปีต่อไป ฯลฯ
๑๐ ผลการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรม
๑. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การเรียนสูงขึ้น ในส่วนของการแข่งขันทักษะทางวิชาการ เนื่องจากในช่วงรอบปี
ที่ผ่านมาเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 หลายหน่วยงานงดจัดกิจกรรมทักษะทาง
วิชาการ ดังนั้น จึงไม่มีรายงานการแข่งขัน แต่ทางกลุ่มสาระได้พยายามพัฒนานักเรียนอย่างสม่ำเสมอ และหาก
สถานการณ์คลี่คลายลงหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานต่างๆจัดกิจกรรม จะได้มีการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้น แข่งขันทักษะทางวิชาการต่อไป
๒. ผลการทดสอบคุณภาพการศึกษาพื้นฐานระดับชาติ (๐-net) ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่า
ผลการทดสอบภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมระดับประเทศเท่ากับร้อยละ 51.19
ระดับ สพฐ มีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมร้อยละ 52.13 และระดับจังหวัดมีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมร้อยละ 48.11
และระดับโรงเรียนโกสัมพีวิทยา มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 47.06 โดยพบว่า คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนโกสัมพีวิทยา ต่ำ
กว่าคะแนนระดับประเทศเท่ากับร้อยละ 4.1๓ ต่ำกว่าระดับ สพฐ. เท่ากับร้อยละ 5.07 และต่ำกว่าคะแนนระดับ
จังหวัดเท่ากับร้อยละ ๑.05 และมาตรฐานที่โรงเรียนควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ำกว่าคะแนน
ระดับประเทศเมื่อปีการศึกษา๒๕๖4 ซึ่งทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจะต้องเร่งพัฒนาในทุกมาตรฐานการ
เรียนรู้เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการทดสอบ O-Net มีค่าเป้าหมายให้สูงขึ้นร้อยละ ๓
๑๑.การเผยแพร่นวัตกรรม
1. การเผยแพร่
- การเผยแพร่นวัตกรรม ใน website slideshare และ Flipsnacks (ภาคผนวก)
2 การได้รับการยอมรับ
- คณะครู ผู้ปกครอง นักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษาตลอดจนชุมชนมีความพึงพอใจ ต่อการ
ดำเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (o-net)
ลงชื่อผู้รายงาน
(นางโสภิญญา ดารา)
ครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยโรงเรียนโกสัมพีวิทยา
รวบรวมสรุปผล
๘
ภาคผนวก
- เอกสาร / ภาพประกอบ
๙
ภาพกิจกรรมต่างๆ
๑๐
ประชุมกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วางแผนการคัดกรองการอ่าน การเขียน ภาษาไทย
ประชุมกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยเพื่อวางแผนพัฒนาผผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนชั้น ม.3 และ ม.6
ดำเนินการคัดกรองการอ่าน การเขียน ภาษาไทย
๑๑
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่านการเขียนภาษาไทย
ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ
(Instructional Models of Cooperative Learning)
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่านการเขียนภาษาไทย
๑๒
ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ
(Instructional Models of Cooperative Learning)
๑๓
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่านการเขียนภาษาไทย
ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ
(Instructional Models of Cooperative Learning)
๑๔
การเผยแพร่นวัตกรรม ในกิจกรรมวันสุนทรภู่และวันต่อต้านยาเสพติดโลก
ประจำปีการศึกษา 2565 วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖5
๑๕
ผลทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2564 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
ตาราง แสดงผลทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2564
๑๖
จากตาราง พบว่า ผลทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2564 มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย
ของจังหวัด สพฐ. และของประเทศ
๑๗
ตัวอย่างแผนการสอนเสริมเพื่อใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการเขียนบรรยายและการเขียนพรรณนา
โดยวิเคราะห์จากผังออกข้อสอบ O-Net ของ Test blueprint ปีการศึกษา ๒๕๖5
๑๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
รหัสวิชา ท ๒2๑01 รายวิชา ภาษาไทย ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่องเรียงถ้อยร้อยคำให้งดงาม เวลา ๔ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง การเขียนบรรยาย เวลา ๒ ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางโสภิญญา ดารา โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
สอนวันที่...............เดือน............. พ.ศ. ................
----------------------------------------------------------------
1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การเขียนบรรยายเป็นการเขียนเรื่องราวต่าง ๆ อาจเป็นเรื่องจริงหรือเรื่องสมมุติก็ได้การเขียนบรรยายที่ดี
ผู้เขียนต้องมีความรู้ในเรื่องที่จะบรรยายเข้าใจวิธีการเขียน ใช้กลวิธีในการดำเนินเรื่องเหมาะสม เพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจ
และสนใจอ่านและควรมีมารยาทในการเขียน
2. ตัวชี้วัด
ท 2.1 ม. 2/2 เขียนบรรยายและพรรณนา
ท 2.1 ม. 2/8 มีมารยาทในการเขียน
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้(K)
๑. อธิบายความหมายของการเขียนบรรยายได้
3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)
1. นักเรียนสามารถเขียนบรรยายเรื่องจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้
3.3 ด้านเจตคติ (A)
- เห็นคุณค่าของของภาษาไทยในฐานะเป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย)
4. สาระการเรียนรู้
- การเขียนบรรยาย
5. สมรรถนะสำคัญ
๑.ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน 3. รักความเป็นไทย
7. ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R ,8C)
7.1 ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R 8C
 Reading (อ่านออก)
 (W) Riting(เขียนได้)
 (A) Rithemetics(คิดเลขเป็น)
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา
(CriticalThinking and Problem Solving)
 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)
๑๙
 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ(Collaboration,Teamwork and Leadership)
 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ(Communications, Information, andMedia Literacy)
 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)
 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญของทักษะขั้นต้นทั้งหมด
และเป็นคุณลักษณะที่เด็กไทยจำเป็นต้องมี(Compassion)
7.2 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ของคนในศตวรรษที่ 21
ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้
(Accountability)
ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Responsibility)
7.3 คุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ 21
คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ
คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง
คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ ความเคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ ความสำนึกพลเมือง
7.4 บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (การเรียนรู้แบบร่วมมือผสมผสานการอ่านและการเขียน(Cooperative
Integrated Reading and Composition หรือ CIRC)
ขั้นนำ
๑. นำรูปภาพทุ่งนาติดบนกระดานให้นักเรียนดู
๒. นักเรียนทุกคนช่วยกันสังเกตดูว่าภาพที่เห็นคือภาพอะไรและตอบคำถามจากภาพโดยครูสุ่มถามนักเรียน
ประมาณ ๒-๓ คน ดังต่อไปนี้
- นักเรียนเห็นอะไรในภาพบ้าง
- ถ้านักเรียนอยู่ในภาพเหล่านี้ นักเรียนรู้สึกอย่างไรและอยากทำอะไรบ้าง
ขั้นสอน
๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่ม(ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ
(Collaboration,Teamwork and Leadership) ศึกษาใบความรู้เรื่อง การเขียนบรรยาย(W) Riting(เขียนได้)
และระดมความคิด (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา(CriticalThinking
and Problem Solving)และตอบคำถามดังนี้
– ลักษณะของการเขียนบรรยาย
- ในการเขียนบรรยายเราต้องคำนึงถึงสิ่งใดเป็นสำคัญ
- วิธีการเขียนบรรยายทำอย่างไร
๒. ให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มตอบคำถามและอภิปรายเพิ่มเติม
๓. สุ่มนักเรียนกลุ่มละ ๑ คน ให้เล่าเหตุการณ์จากการไปท่องเที่ยวสถานที่ต่างๆที่นักเรียนเคยไป เช่น น้ำตก
สวนสาธารณะ ทะเล สวนสนุก โดยให้นักเรียนเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในลักษณะการบรรยาย
๒๐
๔. นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็นแนะนำวิธีการเล่าเรื่องจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อให้นักเรียนนำมา
เขียนบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดได้ถูกต้อง
๕. นักเรียนศึกษาแบบฝึกทักษะเรื่องการเขียนบรรยายที่ครูจัดทำเพื่อเป็นการทบทวนเรื่องการเขียนบรรยาย
โดยศึกษาขั้นตอนตามแบบฝึก
ขั้นสรุป
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องหลักการเขียนบรรยายเพื่อที่จะได้รู้หลักการบรรยายนำไปเขียน
บรรยายได้อย่างถูกต้อง
๒. มอบหมายให้นักเรียนเขียนบรรยายจากประสบการณ์การไปสถานที่ต่างๆคนละ ๑ เรื่อง
9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1. รูปภาพทุ่งนา
2. แบบฝึกเสริมทักษะเรื่องการเขียนบรรยาย
9.2 แหล่งเรียนรู้
-
10. การวัดผลและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ด้านความรู้(K)
- ประเมินการตอบคำถาม
แบบประเมินการตอบคำถาม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)
1. ประเมินการทำงานกลุ่ม
2. ประเมินการทำงานรายบุคคล
1. แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
2. แบบประเมินการทำงานรายบุคคล
ระดับ ๓ ขึ้นไป จำนวน ๔ ใน
๖ รายการ
ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ประเมินเจตคติ(A)
ประเมินเจตคติ
- เห็นคุณค่าของของภาษาไทยในฐานะ
เป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย)
แบบประเมินเจตคติ
- เห็นคุณค่าของของภาษาไทยในฐานะ
เป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย)
ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
ประเมินคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม
- ความอดทน
แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรมและ
ค่านิยม
- ความรับผิดชอบ
ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑.ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑.ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด ระดับคุณภาพ 1 ผ่านเกณฑ์
๒๑
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน
3. รักความเป็นไทย
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
๒. มุ่งมั่นในการทำงาน
3. รักความเป็นไทย
ในระดับ 1 ขึ้นไปทุกข้อจึงจะ
อนุมัติให้ผ่านเกณฑ์การ
ประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
บันทึกหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. สรุปผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ……………....................................................................................
1.1 ด้านความรู้ (K)
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
1.2 ด้านทักษะกระบวนการ(P)
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
1.3 ด้านเจตคติ(A)
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
1.4 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
1.5 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
2. ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข/พัฒนา
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
3.แนวทางปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................
(นางโสภิญญา ดารา)
ตำแหน่ง ครู คศ.2
๒๒
แบบฝึกการเขียนบรรยาย
๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
๒๗
๒๘
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
ลำดับ
ที่ ชื่อ-สกุล
รายการ
รวม
เนื้อหาสาระ
ครบถ้วนตรง
ตามประเด็น
ความถูกต้อง
ของเนื้อหา
สาระ
ภาษาถูกต้อง
เหมาะสม
ค้นคว้าจาก
แหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย
รูปแบบการ
นำเสนอ
น่าสนใจ
ปรับปรุง และ
แสดง
ความรู้สึกต่อ
ชิ้นงาน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
๒๙
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
เกณฑ์การประเมิน
๑. การให้คะแนน ✓ ให้ ๑ คะแนน
๒. การสรุปผลการประเมินให้เป็นระดับคุณภาพ ๔, ๓, ๒,๑ กำหนดเกณฑ์ได้ตามความเหมาะสม
หรืออาจใช้เกณฑ์ดังนี้
๙–๑๐ คะแนน = ๔ (ดีมาก)
๗–๘ คะแนน = ๓ (ดี)
๕–๖ คะแนน = ๒ (พอใช้)
๐–๔ คะแนน = ๑ (ควรปรับปรุง)
เกณฑ์การประเมิน แยกตามองค์ประกอบย่อย ๖ ด้าน
รายการที่ ๑ เนื้อหาสาระครบถ้วนตรงตามประเด็น
๔ หมายถึง มีเนื้อหาสาระครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนดทั้งหมด
๓ หมายถึง มีเนื้อหาสาระค่อนข้างครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนดทั้งหมด
๒ หมายถึง มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วนตามประเด็นแต่ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์พอใช้
๑ หมายถึง มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วน ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง
รายการที่ ๒ ความถูกต้องของเนื้อหาสาระ
๔ หมายถึง เนื้อหาสาระทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา
๓ หมายถึง เนื้อหาสาระเกือบทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา
๒ หมายถึง เนื้อหาสาระบางส่วนถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชาต้องแก้ไขบางส่วน
๑ หมายถึง เนื้อหาสาระส่วนใหญ่ไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง หลักวิชาต้องแก้ไขเป็นส่วนใหญ่
รายการที่ ๓ ภาษาถูกต้องเหมาะสม
๔ หมายถึง สะกด การันต์ถูกต้อง ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมดีมาก ลำดับความได้ชัดเจนเข้าใจง่าย
๓ หมายถึง สะกด การันต์ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมดี ลำดับความได้ดีพอใช้
๒ หมายถึง สะกด การันต์มีผิดอยู่บ้าง ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมพอใช้ ลำดับความพอเข้าใจ
๑ หมายถึง สะกด การันต์ผิดมาก ถ้อยคำสำนวนไม่เหมาะสม สำดับความได้ไม่ชัดเจน
รายการที่ ๔ ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
๔ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายตั้งแต่ ๔ แหล่งขึ้นไป
๓ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายตั้งแต่ ๓ แหล่งขึ้นไป
ลำดับ
ที่ ชื่อ-สกุล
รายการ
รวม
เนื้อหาสาระ
ครบถ้วนตรง
ตามประเด็น
ความถูกต้อง
ของเนื้อหา
สาระ
ภาษาถูกต้อง
เหมาะสม
ค้นคว้าจาก
แหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย
รูปแบบการ
นำเสนอ
น่าสนใจ
ปรับปรุง และ
แสดง
ความรู้สึกต่อ
ชิ้นงาน
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑
๒๓
๒๔
๓๐
๒ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ๒ แหล่ง
๑ หมายถึง ใช้ความรู้เพียงแหล่งเรียนรู้เดียว
รายการที่ ๕ รูปแบบการนำเสนอน่าสนใจ
๔ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานแปลกใหม่ น่าสนใจดี ลำดับเรื่องราวได้ดีมาก
๓ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานน่าสนใจ ลำดับเรื่องราวได้ดี
๒ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานน่าสนใจพอใช้ ลำดับเรื่องราวได้พอใช้
๑ หมายถึง รูปแบบการนำเสนอผลงานไม่น่าสนใจ ลำดับเรื่องราวได้ไม่ดี
รายการที่ ๖ ประเมิน ปรับปรุง และแสดงความรู้สึกต่อชิ้นงาน
๔ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้ชัดเจน ปรับปรุงพัฒนางานได้เหมาะสม และแสดง
ความรู้สึกต่องานทั้งกระบวนการทำงานและผลงานได้อย่างชัดเจน
๓ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้บางส่วน ปรับปรุงพัฒนางานได้บ้าง แสดงความรู้สึกต่อ
งานได้แต่ไม่ครบถ้วน
๒ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้เล็กน้อย ปรับปรุงพัฒนางานด้วยตนเองไม่ได้ต้องได้รับ
คำแนะนำจากผู้อื่น แสดงความรู้สึกต่องานได้แต่ไม่ครบถ้วน
๑ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานไม่ได้ ไม่ปรับปรุงพัฒนางาน แสดงความรู้สึกต่องานได้
เล็กน้อยหรือไม่แสดงความรู้สึกต่องาน
เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน
นักเรียนต้องมีพฤติกรรมในแต่ละรายการอย่างน้อยระดับ ๓ ขึ้นไป จำนวน ๔ ใน ๖ รายการ
ลงชื่อ ........................................... ผู้ประเมิน
(นางโสภิญญา ดารา)
............/................................/.................
๓๑
แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล
คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง
กับระดับคะแนน
ลำดับที่
ชื่อ-สกุล
ของผู้รับการประเมิน
ความมี
วินัย
ความมี
น้ำใจ
เอื้อเฟื้อ
เสียสละ
การรับฟัง
ความ
คิดเห็น
การแสดง
ความ
คิดเห็น
การตรงต่อ
เวลา
รวม
20
คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน
................ /................ /................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง
๓๒
แบบประเมินการมีเจตคติเห็นคุณค่าของภาษาไทยในฐานะเป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย)
เลขที่ ชื่อ-สกุล การมีเจตคติตระหนักและเห็นคุณค่าของ
วรรณคดีและวรรณกรรมและมีมารยาท
ในการอ่าน
รวม
๓ ๒ ๑
๑
๒
๓
๔
เกณฑ์การประเมินการมีเจตคติเห็นคุณค่าของภาษาไทยในฐานะเป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย)
รายการประเมิน
คำอธิบายคุณภาพ
๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน
๑. ตระหนักและเห็นคุณค่า
ของภาษาไทยในฐานะเป็น
ภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลข
ไทย)
ทุกครั้งตระหนักและเห็น
คุณค่าของภาษาไทยในฐานะ
เป็นภาษาประจำชาติ(เขียน
ตัวเลขไทย)
ตระหนักและเห็นคุณค่า
ของภาษาไทยในฐานะ
เป็นภาษาประจำชาติ
(เขียนตัวเลขไทย)
บ่อยครั้ง
ตระหนักและเห็นคุณค่า
ของภาษาไทยในฐานะ
เป็นภาษาประจำชาติ
(เขียนตัวเลขไทย)
เป็นบางครั้ง
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน ๓ คือ ดี (ระดับคุณภาพ ๓)
คะแนน ๒ คือ ปานกลาง (ระดับคุณภาพ ๒)
คะแนน ๑ คือ ปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑)
เกณฑ์การตัดสินผ่าน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(.............................................)
๓๓
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ชื่อ..............................................................นามสกุล................................................ชั้น ........ เลขที่.....
คำชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
คะแนน
สมรรถนะที่ประเมิน ระดับคะแนน
3 2 1 0
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๑.๑ มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร
๑.๒ มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง
โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
๑.๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ
๑.๔ เจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ได้
๑.๕ เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง
สรุปผลการประเมิน
2. ความสามารถในการคิด
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้
2.5 ตดัสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม
สรุปผลการประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม – พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ดี - พฤติกรรมทีปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ผ่านเกณฑ์ – พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ควรปรับปรุง – ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
เกณฑ์การสรุปผล
ดีเยี่ยม 13 – 15 คะแนน (๓ คะแนน)
ดี 9 – 12 คะแนน (๒ คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ 1 – 8 คะแนน (๑ คะแนน)
ควรปรับปรุง 0 คะแนน (๐ คะแนน)
เกณฑ์การตัดสินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ 1 ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ................................................ผู้ประเมิน
(.............................................)
๓๔
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ชื่อ..............................................................นามสกุล................................................ชั้น ........ เลขที่.....
คำชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
คะแนน
1. ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้
จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
ผู้ที่ใฝ่เรียนรู้ คือ ผู้ที่มีลักษณะแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่าง
เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
1.1. ตั้งใจ เพียรพยายามในการ
เรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการ
เรียนรู้
1.1.1 ตั้งใจเรียน
1.1.2 เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้
1.3 สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ
1.2. แสวงหาความรู้จากแหล่ง
เรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่าง
เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์
สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ และนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้
1.2.1 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี
ต่างๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่าง
เหมาะสม
1.2.2 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้
1.2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน)
พฤติกรรมบ่งชี้ ควรปรับปรุง(0) ผ่านเกณฑ์ (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตามข้อ 1.1 – 1.2 ไม่ตั้งใจเรียนไม่
ศึกษาค้นคว้าหา
ความรู้
เข้าเรียนตรงเวลา
ตั้งใจเรียน เอาใจ
ใส่ในการเรียน
และมีส่วนร่วมใน
การเรียนรู้ และเข้า
ร่วมกิจกรรมการ
เรียนรู้ต่างๆ เป็น
บางครั้ง
เข้าเรียนตรงเวลา
ตั้งใจเรียน เอาใจ
ใส่ในการเรียน
และมีส่วนร่วมใน
การเรียนรู้ และเข้า
ร่วมกิจกรรมการ
เรียนรู้ต่างๆ
บ่อยครั้ง
เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ
เรียน เอาใจใส่ในการ
เรียน และมีส่วนร่วมใน
การเรียนรู้ และเข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ
ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียนเป็นประจำ
๓๕
2. มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทำหน้าที่
การงานด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย
ผู้ที่มุ่งมั่นในการทำงาน คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วย
ความเพียรพยายาม ทุ่มเทกำลังกาย กำลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่กำหนดด้วย
ความรับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
2.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการ
ปฏิบัติหน้าที่การงาน
2.2 ทำงานด้วยความเพียรพยายาม
และอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตาม
เป้าหมาย
2.1.1 เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.2 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้แล้วเสร็จ
2.1.3 ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง
2.2.1 ทุ่มเททำงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน
2.2.2 พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้แล้วเสร็จ
2.2.3 ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน)
พฤติกรรมบ่งชี้ ควรปรับปรุง(0) ผ่านเกณฑ์ (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตามข้อ 2.1 – 2.2 ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
หน้าที่การงาน
ตั้งใจและ
รับผิดชอบในการ
ปฏิบัติหน้าที่ที่
ได้รับมอบหมาย
ให้สำเร็จ
ตั้งใจและรับผิดชอบ
ในการปฏิบัติหน้าที่ที่
ได้รับมอบหมายให้
สำเร็จ มีการปรับปรุง
และพัฒนาการ
ทำงานให้ดีขึ้น
ตั้งใจและรับผิดชอบใน
การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมายให้สำเร็จ มี
การปรับปรุงและ
พัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น
ภายในเวลาที่กำหนด
๓๖
3. รักความเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์สืบทอด
ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง
และเหมาะสม
ผู้ที่รักความเป็นไทย คือ ผู้ที่มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่
ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญูกตเวที ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร
อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
3.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียม
ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมี
ความกตัญญูกตเวที
3.1.1 แต่งกายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูกตเวที
ต่อผู้มีพระคุณ
3.1.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย
3.1.3 ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและ
วัฒนธรรมไทย
3.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการ
สื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3.2.1. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3.2.2 ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง
3.3 อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาไทย 3.3.1 นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต
3.3.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย
3.3.3 แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย
เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน)
พฤติกรรมบ่งชี้ ควรปรับปรุง(0) ผ่านเกณฑ์ (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ตามข้อ 3.1 – 3.3 ไม่มีสัมมาคารวะต่อ
ครูอาจารย์
มีสัมมาคารวะต่อ
ครูอาจารย์ ใช้
ภาษาไทย เลขไทย
ในการสื่อสารได้
ถูกต้อง
มีสัมมาคารวะต่อ
ครูอาจารย์ ปฏิบัติ
ตนเป็นผู้มีมารยาท
แบบไทยใช้
ภาษาไทย เลขไทย
ในการสื่อสารได้
ถูกต้องเข้าร่วม
กิจกรรมที่
เกี่ยวข้องกับ
ภูมิปัญญาไทย
มีสัมมาคารวะ ต่อครู
อาจารย์ ปฏิบัติตนเป็น
ผู้มีมารยาทแบบไทยใช้
ภาษาไทย เลขไทยใน
การสื่อสารได้ถูกต้องเข้า
ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
กับภูมิปัญญาไทยและมี
ส่วนร่วมในการสืบทอด
ภูมิปัญญาไทย
หมายเหตุ ข้อมูลนี้ได้รับจากงานกิจกรรมที่เกี่ยวกับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย,แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย,
การใช้ตัวเลขไทย,แบบสังเกตพฤติกรรม
๓๗
ระดับคุณภาพ
ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ระดับดีเยี่ยม
ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ระดับดี
ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ระดับผ่านเกณฑ์
ระดับคุณภาพ 0 หมายถึง ระดับควรปรับปรุง
เกณฑ์พิจารณาสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล ดังนี้
คะแนน 19 - 24 หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (3)
คะแนน 13 - 18 หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี (2)
คะแนน 7 - 12 หมายถึง ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ (1)
คะแนน 0 - 6 หมายถึง ระดับคุณภาพ ควรปรับปรุง (0)
หมายเหตุ นักเรียนต้องได้รับการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับ 1 ขึ้นไปทุกข้อจึงจะอนุมัติ
ให้ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน
( …………………………………………)
๓๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
รหัสวิชา ท ๒2๑01 รายวิชา ภาษาไทย ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่องเรียงถ้อยร้อยคำให้งดงาม เวลา ๔ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง การเขียนพรรณนา เวลา ๒ ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางโสภิญญา ดารา โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
สอนวันที่...............เดือน............. พ.ศ. ................
----------------------------------------------------------------
1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
หมายถึงการเขียนที่เรียบเรียงถ้อยคําทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนเพื่อให้ รายละเอียดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไม่ว่า
บุคคลสัตว์พืชวัตถุสถานที่หรือเหตุการณ์ โดยเน้นให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านนึกเป็นภาพที่เด่นชัดและเกิดอารมณ์ความรู้สึก
ตามที่ผู้ส่งสาร มุ่งหมายโวหารพรรณนามีลักษณะวรรณศิลป์มากกว่าโวหารอย่างอื่นเนื่องจากมีการใช้ ถ้อยคําที่
ก่อให้เกิดภาพพจน์และอารมณ์สะเทือนใจ โวหารพรรณนามีลักษณะร่วมกันกับโวหารอธิบายตรงที่ต่างกล่าวถึง
ข้อเท็จจริง ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งผิดแผกกันในประการสําคัญที่เจตนาของผู้ส่งสารถ้ามุ่งให้ความรู้ความ เข้าใจตามธรรมดา
เป็นโวหารอธิบายหากเป็นการสร้างความนึกเห็นเป็นภาพใจที่ชัดเจนและ อารมณ์ความรู้สึกก็เป็นโวหารพรรณนาเรื่อง
เดียวกันอาจใช้โวหารต่างกันก็ได้เช่นเรื่อง อาหารการกินถ้ากล่าวถึงวิธีปรุงหรือคุณค่าเป็นโวหารอธิบายในกรณีที่เน้น
ความน่า รับประทานไม่ว่าเป็นรูปลักษณะสีสันกลิ่นรสก็เป็นโวหารพรรณนา
2. ตัวชี้วัด
ท 2.1 ม. 2/2 เขียนบรรยายและพรรณนา
ท 2.1 ม. 2/8 มีมารยาทในการเขียน
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้(K)
๑. นักเรียนบอกความหมายและหลักการของการเขียนพรรณนาได้
3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)
1. นักเรียนเขียนพรรณนาจากภาพที่กำหนดได้
3.3 ด้านเจตคติ (A)
- เห็นคุณค่าของของภาษาไทยในฐานะเป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย)
4. สาระการเรียนรู้
- ความหมายของการพรรณนา
- หลักการเขียนพรรณนา
5. สมรรถนะสำคัญ
1. ทักษะการวิเคราะห์ 2. ทักษะการจำแนก
3. ทักษะการนำไปใช้ 4, กระบวนการทางภาษา
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัยรับผิดชอบ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
7. ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R ,8C)
7.1 ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R 8C
 Reading (อ่านออก)
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf

More Related Content

What's hot

ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมthinnakornsripho
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4Sombom
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)นางสาวอารียา แย้มภู
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2ครูภัทรวดี คงคาพันธ์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวdawnythipsuda
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษSamrit Kung
 

What's hot (20)

ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษ
 

Similar to แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf

Teaching English for communication using JITSUPA model
Teaching English for communication using JITSUPA modelTeaching English for communication using JITSUPA model
Teaching English for communication using JITSUPA modelJessie SK
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...ssuserd8430c
 
บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1yaowalakMathEd
 
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการการเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการSurapong Klamboot
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 

Similar to แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf (20)

Teaching English for communication using JITSUPA model
Teaching English for communication using JITSUPA modelTeaching English for communication using JITSUPA model
Teaching English for communication using JITSUPA model
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
 
บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1
 
การเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการการเขียนรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานวิชาการ
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 

More from SophinyaDara

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfวิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfSophinyaDara
 
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfวิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfSophinyaDara
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมSophinyaDara
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีSophinyaDara
 
บทเพลงบอกเรื่องราว
บทเพลงบอกเรื่องราวบทเพลงบอกเรื่องราว
บทเพลงบอกเรื่องราวSophinyaDara
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาSophinyaDara
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..
เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..
เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..SophinyaDara
 
รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...
รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...
รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...SophinyaDara
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 

More from SophinyaDara (13)

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfวิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
 
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfวิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรม
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
บทเพลงบอกเรื่องราว
บทเพลงบอกเรื่องราวบทเพลงบอกเรื่องราว
บทเพลงบอกเรื่องราว
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..
เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..
เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..
 
รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...
รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...
รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 

แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf

  • 1. ๑ รายงานการสร้างนวัตกรรมเพื่อการศึกษาประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ (Innovation For Thai Education) ................................................................ 1. ชื่อนวัตกรรม กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning) 2. ชื่อผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนโกสัมพีวิทยา อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร 3. แนวทางการคิดค้นนวัตกรรม ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดความเป็น เอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทยเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร เพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิต ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุขและเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์และสร้างสรรค์ ให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทางวิยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนา อาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดง ภูมิปัญญา ของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี สุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรียนรู้อนุรักษ์และสืบสานให้คงอยู่ตลอดไป (กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๕๑ : ๓๗) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ได้กำหนดให้กลุ่มทักษะพื้นฐาน ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทยเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร เพื่อสร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และนอกจากนั้นยังได้เลือกกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นอันดับแรกจาก ทั้งหมด ๘ กลุ่มสาระโดยเน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกประสบการณ์จริง ในการฝึกปฏิบัติให้ ทำได้ คิดเป็นและรักการอ่านและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (โรงเรียนโกสัมพีวิทยา.๒๕๖๒ :๑) กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดให้ภาษาไทยเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้หนึ่งในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นักเรียนทุกคนที่เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจะต้องเรียน สาระที่เป็นองค์ความรู้ ๕ สาระ ได้แก่ สาระที่ ๑ การอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน สาระที่ ๓ การฟัง การดู และ การพูด สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาสาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม ซึ่งเมื่อจบหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐานแล้ว นักเรียนต้องมีความรู้ความสามารถ โดยสรุปคือ ต้องสามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างดี ทั้งการอ่าน การเขียน การฟังและดู และการพูดได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้จะต้องมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้ และใช้ภาษาในการพัฒนาตน สามารถนำทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวิต จริงได้อย่างมีประสิทธิภาพถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ตลอดจนวิสัยทัศน์โลกทัศน์ที่กว้างไกลและลึกซึ้ง (Khuhaphinan, ๒๐๐๔) ผลการทดสอบคุณภาพการศึกษาพื้นฐานระดับชาติ (๐-net) ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่าผล การทดสอบภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมระดับประเทศเท่ากับร้อยละ 51.19 และระดับจังหวัดมีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมร้อยละ 48.11 ระดับ สพฐ. คะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวม ร้อยละ 52.13 และระดับโรงเรียนโกสัมพีวิทยา มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 47.06 โดยพบว่า คะแนนเฉลี่ย
  • 2. ๒ ของโรงเรียนโกสัมพีวิทยา ต่ำกว่าคะแนนระดับประเทศเท่ากับร้อยละ -4.13 ต่ำกว่าคะแนน สพฐ.เท่ากับ ร้อยละ -5.07 และต่ำกว่าคะแนนระดับจังหวัดเท่ากับร้อยละ -1.05 ซึ่งในการนี้โรงเรียนควรเร่งพัฒนา เนื่องจากค่าคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ำกว่าทุกระดับ ดังนั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนโกสัมพีวิทยา อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร จะต้องเร่งพัฒนาอย่างเร่งด่วนคือ มาตรฐาน การเรียนรู้ในทุกสาระการเรียนรู้ อันได้แก่ สาระการอ่าน การเขียน การฟัง ดูและพูด สาระหลักภาษาไทย และสาระวรรณคดีและวรรณกรรม เนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ำกว่าคะแนนระดับประเทศ ระดับ สพฐ. และระดับจังหวัดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มสูงขึ้น ทักษะการอ่าน การเขียนเป็นทักษะที่สำคัญและใช้มากในชีวิตประจำวัน ผู้มีทักษะการอ่านย่อม แสวงหาความรู้และศึกษาเล่าเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำความรู้ที่ได้จากการอ่านไปใช้พูดและ การเขียนได้เป็นอย่างดี จากสภาพการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียน ในปัจจุบันยังมีปัญหาเกี่ยวกับการอ่าน อยู่มาก โดยเฉพาะการอ่านซึ่งอ่านไม่ถูกต้องและไม่ชัดเจน ดังคำกล่าวของ ศรียา นิยมธรรม (๒๕๔๙ : ๔๓) ที่กล่าวถึงพฤติกรรมของเด็กที่มีปัญหาทางการอ่านได้แก่ ขมวดคิ้ว นิ่วหน้าเวลาอ่าน หลงบรรทัด อ่านสลับคำ อ่านข้ามคำ อ่านสลับตัวอักษร อ่านถอยหลัง อ่านซ้ำ อ่านออกเสียงไม่ชัด จับใจความของเรื่องที่อ่าน หรือ ลำดับเรื่องที่อ่านไม่ได้ จำใจความสำคัญของเรื่องไม่ได้และเล่าเรื่องไม่ได้ ซึ่งสอดคล้องกับคำกล่าวของ วัชราภรณ์ วัตรสุข (๒๕๕๒ : ออนไลน์) ที่ได้กล่าวถึงปัญหาการอ่านไว้ว่า ความบกพร่องด้านการอ่านที่ครู ควรศึกษามาก่อนทำการสอน มีดังนี้คือ เด็กจำตัวอักษรไม่ได้ ทำให้อ่านไม่ได้หรือจำตัวอักษรได้บ้าง แต่อ่าน เป็นคำไม่ได้อ่านคำผิด อ่านผิดประโยค หรือผิดตำแหน่ง อ่านข้ามคำ อ่านเพิ่มคำหรือลดพยัญชนะในคำ อ่าน ฉีกคำ อ่านคำโดยสลับตัวอักษรหรือสลับคำกัน อ่านเดาจากตัวอักษรบางตัวที่มีอยู่ในคำอ่านเว้นวรรค ไม่ ถูกต้อง ตอบคำคำถามจากเรื่องที่อ่านไม่ได้ เล่าเรื่องที่อ่านตามลำดับเหตุการณ์ไม่ได้และบอกใจความสำคัญ ของเรื่องไม่ได้ทั้งนี้การอ่านคำได้ถูกต้องชัดเจน ย่อมแสดงถึงความเป็นผู้มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ทำให้ผู้รับ เกิดศรัทธาเชื่อถือในตัวผู้ส่งสารในทางตรงกันข้ามถ้าอ่านไม่ถูก ทำให้ความหมายผิดไป จะเกิดปัญหาในการ สื่อสาร ดังที่ กฤษณา กิตติเสรีบุตร (๒๕๕๓ : ๔๐) ได้กล่าวถึงปัญหาการอ่านและการเขียนเป็นปัญหาสำคัญ ประการหนึ่งในสังคมไทย และจะเป็นปัญหามากขึ้น ถ้าหากว่าทุกฝ่ายไม่แก้ไข ดังนั้นครูผู้สอนทุกระดับชั้น จะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการใช้ภาษา ทั้งในเรื่องการอ่านและการเขียนและควรจัดกิจกรรมการสอน เป็นพิเศษเพื่อเสริมการสอน โดยการสร้างหรือปรับปรุงแบบฝึกทักษะให้เหมาะสมกับหลักสูตรเนื้อหา สภาพ ของนักเรียนแต่ละท้องถิ่นและสภาพสังคมปัจจุบัน เพื่อช่วยแก้ปัญหาการอ่านและการเขียน อันเป็นทักษะ อย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยการฝึกฝนอย่างจริงจังและต่อเนื่องเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทางภาษาดีขึ้น จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็นว่าการอ่าน การเขียนเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งในสังคม และจะเป็นปัญหามากขึ้นถ้าทุกฝ่ายไม่ช่วยกันแก้ไข ดังนั้นครูผู้สอนควรแก้ไขข้อบกพร่องในการอ่าน การ เขียนซึ่งเป็นรากฐานในการใช้ภาษาไทยอันเป็นภาษาประจำชาติให้ถูกต้อง ครูจึงกิจกรรมส่งเสริมและ พัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning) เพื่อส่งเสริมทางภาษาด้านการอ่าน การเขียนให้แก่นักเรียน คุณภาพตามกระบวนการ PDCA เป็นตัวขับเคลื่อน 4. ประเภทของนวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ เทคนิค วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning)
  • 3. ๓ ๕. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โรงเรียนโกสัมพีวิทยา เป็นสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากำแพงเพชร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดการเรียนการสอนในระดับ มัธยมศึกษาปีที่1-ปีที่ 6 ซึ่งสถานศึกษา ทุกสังกัดทั้งของรัฐบาลและเอกชนต้องได้รับการประเมิน คุณภาพจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การ มหาชน) ซึ่งได้จัดการทดสอบในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 เพื่อนำผลการทดสอบไปใช้ในการประเมินผล การเรียนรู้ของนักเรียนระดับชาติ การปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนในโรงเรียน และเป็นองค์ประกอบหนึ่ง ใน การจบการศึกษาตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ซึ่งข้าพเจ้าได้เล็งเห็นและตระหนัก ถึง ความสำคัญดังกล่าวและนโยบายในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) ให้สูงขึ้น ในทุกกลุ่มสาระ จึงได้จัดการสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 256๔ ต่ำกว่าปีการศึกษา 256๔ ดังนั้นเพื่อเป็นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น อย่างน้อยร้อยละ3 ตามนโยบายสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร และสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้ดำเนินการการสอนเสริมเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ให้สูงขึ้น กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาไทย ซึ่งได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานการสอนเสริมตามแผนยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโกสัมพีวิทยาปีการศึกษา 256๔ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จึงได้ ดำเนินการ คือ การสอนเสริมเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยเทคนิค วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning) จำนวน 3 ห้องเรียน 2 ชั่วโมง/ สัปดาห์/ ภาคเรียน ซึ่งถ้าดูผล (o-net) ของปีการศึกษา 256๔ มีผลดังนี้ ระดับ คะแนนเฉลี่ย (Mean) โรงเรียน 47.06 จังหวัด 48.11 สพฐ. 52.13 ประเทศ 51.19 ๖. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อพัฒนากิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่านการเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบร่วมมือ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ให้มีคุณภาพสูงขึ้น ๒. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการสอนระดับชาติของนักเรียนสูงขึ้น ๗ กลุ่มเป้าหมาย/ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโกสัมพีวิทยา ปีการศึกษา2565 ทุกคนได้รับการพัฒนา กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่านการเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ
  • 4. ๔ ๘ หลักการแนวคิดทฤษฎีที่ใช้ เทคนิค วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือมุ่งส่งเสริมให้นักเรียนทำงานร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการ ช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบร่วมกันในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ตนเองและสมาชิกทุก คนในกลุ่มประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ และชี้ให้เห็นว่าผู้เรียนควรร่วมมือกันในการเรียนรู้มากกว่าการ แข่งขัน เพราะการแข่งขันกันก่อให้เกิดสภพการณ์ของการแพ้ - ชนะ ต่างจากการร่วมมือกัน ซึ่งก่อให้เกิดสภาพการณ์ ของการชนะ -ชนะ อันเป็นสภาพการณ์ที่ดีกว่าทั้งทางด้านจิตใจและสติปัญญาหลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ มี ๕ ประการ ประกอบด้วย ๑. การเรียนรู้ต้องอาศัยการพึ่งพากัน (Positive Interdependence) โดยถือว่าทุกคนมีความสำคัญเท่า เทียมกัน และจะต้องพึ่งพากันเพื่อความสำเร็จร่วมกัน ๒. การเรียนรู้ที่ต้องอาศัยการหันหน้าเข้าหากัน มีปฏิสัมพันธ์กัน (Face-to-Face Interaction) เพื่อ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อมูล และการเรียนรู้ต่าง ๆ ๓. การเรียนรู้ร่วมกันต้องอาศัยทักษะทางสังคม (Social Skills) โดยเฉพาะ ทักษะการทำงานร่วมกัน ๔. การเรียนรู้ร่วมกันควรมีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (Group Processing)ที่ใช้ในการทำงาน ๕. การเรียนรู้ร่วมกันจะต้องมีผลงานหรือผลสัมฤทธิ์ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มที่สามารถตรวจสอบและ ประเมินได้ (Individual Accountability) ดังนั้น หากผู้เรียนมีโอกาสได้เรียนรู้แบบร่วมมือ นอกจากจะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทางด้านเนื้อหาสาระ ต่าง ๆ ได้กว้างขึ้น และลึกซึ้งแล้วยังสามารถพัฒนาผู้เรียนทางด้านสังคม และอารมณ์มากยิ่งขึ้นด้วย รวมทั้งมีโอกาสได้ฝึกฝนพัฒนาทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต ๙ การออกแบบนวัตกรรม หลักการสำคัญในการออบแบบนวัตกรรม การเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning) รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมและ พัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning)
  • 5. ๕ วิธีปฏิบัติที่ประสบผลสำเร็จ กระบวนการและขั้นตอนการดำเนินงาน กิจกรรม/วิธีการ/ขั้นตอนที่สำคัญ แผนผังแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน ๑) ขั้นตอนการดำเนินงาน (P:ขั้นวางแผน) ๑. คัดกรองนักเรียนและแบ่งกลุ่มนักเรียน ๑.๑ ประเมินกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิค การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learningเป็นรายบุคคล อ่านคำพื้นฐานที่ครูกำหนด เขียนคำบอกจากคำพื้นฐานนั้น ๆ อ่านนิทาน / ข้อความสั้น ๆ บันทึกผลการอ่าน / การเขียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล ประเมินผล ๑. คัดกรอง / แบ่งกลุ่มนักเรียน ๒. วางแผน/ กำหนดกิจกรรม รายกลุ่มที่คัดกรอง ๕.รวบรวม สรุปผล ๔.ประเมินผลการอ่าน การเขียนของนักเรียน ๓. ดำเนินการแก้ปัญหา กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา การอ่านการเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบร่วมมือ ๖. พัฒนา แก้ไข / ปรับปรุง คัดกรองนักเรียน
  • 6. ๖ ๑.๒ แบ่งกลุ่มนักเรียน ตามผลการประเมินจากแบบคัดกรอง เพื่อเป็นแนวทางแก้ไข และ พัฒนาการอ่านและการเขียนด้วย วิธีการและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละกลุ่ม กลุ่มที่ ๑ นักเรียนอ่านคล่อง / เขียนคล่อง กลุ่มที่ ๒ นักเรียนอ่านไม่คล่อง / เขียนไม่คล่อง ๒.) กำหนดกิจกรรมการพัฒนารายกลุ่ม เป็นการกำหนดวิธีการและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับนักเรียนแต่ ละกลุ่ม ด้วยกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ ร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learningของนักเรียนให้เหมาะสมมากขึ้น กลุ่มที่ ๑ นักเรียนอ่านคล่อง / เขียนคล่อง - อ่านนิทาน / บทความ / หนังสือ สรุปบันทึกผลจากการ อ่าน - เขียนตามคำบอกทั้งแบบเป็นคำและเป็นประโยค - อ่านหนังสือให้ญาติผู้ใหญ่ฟัง (บันทึกลงแบบบันทึกกิจกรรม ) กลุ่มที่ ๒ นักเรียนอ่านไม่คล่อง / เขียนไม่คล่อง อ่านนิทาน / บทความ / หนังสือ กับเพื่อนหรือครู บอกข้อคิด ที่ ได้ จากการอ่าน บันทึกลงในแบบบันทึกการอ่าน - เขียนตามคำบอกทั้งแบบเป็นคำและเป็นประโยคสั้น ๆ (D: ขั้นดำเนินงาน) ๓. ดำเนินการกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิค การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning) ตามกิจกรรมตามที่กำหนดตลอดปีการศึกษา (C: ขั้นติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล) ๔ ระเมินผลการด้วยกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ด้วยเทคนิคการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning เพื่อดูพัฒนาการการอ่าน และการเขียน แบบสรุปพัฒนาการของนักเรียน แบบบันทึกการการอ่าน / การเขียนของนักเรียน ผลสัมฤทธิ์ การเรียนภาษาไทยของนักเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ แบ่งกลุ่มนักเรียน (ตามผลการคัดกรอง ) กิจกรรมส่งเสริมและ พัฒนาการอ่าน การ เขียน ภาษาไทย ด้วย เทคนิคการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Instructional Models of Cooperative Learning) ประเมินผลนักเรียน
  • 7. ๗ ๕. รวบรวมสรุปผลข้อมูลเพื่อสรุปผลการดำเนินกิจกรรมประสบผลสำเร็จบรรลุเป้าหมาย มากน้อย เพียงใด นักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านการเขียนดีขึ้นกว่าเดิม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนพัฒนาขึ้น ผลการทดสอบระดับชาติผ่านเกณฑ์ ( สูงกว่า ระดับจังหวัด ระดับ สพฐ. และระดับประเทศ ) (A: ขั้นพัฒนา แก้ไข / ปรับปรุง) นำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไข โดยตรวจสอบกิจกรรมที่ควรปรับปรุง และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ได้แก่ ปรับวิธีการที่ให้พ่อแม่ช่วยเหลือการเรียนของลูก / จัดให้มีกิจกรรมพี่ช่วยน้องในปีต่อไป ฯลฯ ๑๐ ผลการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรม ๑. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การเรียนสูงขึ้น ในส่วนของการแข่งขันทักษะทางวิชาการ เนื่องจากในช่วงรอบปี ที่ผ่านมาเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 หลายหน่วยงานงดจัดกิจกรรมทักษะทาง วิชาการ ดังนั้น จึงไม่มีรายงานการแข่งขัน แต่ทางกลุ่มสาระได้พยายามพัฒนานักเรียนอย่างสม่ำเสมอ และหาก สถานการณ์คลี่คลายลงหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานต่างๆจัดกิจกรรม จะได้มีการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น แข่งขันทักษะทางวิชาการต่อไป ๒. ผลการทดสอบคุณภาพการศึกษาพื้นฐานระดับชาติ (๐-net) ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่า ผลการทดสอบภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมระดับประเทศเท่ากับร้อยละ 51.19 ระดับ สพฐ มีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมร้อยละ 52.13 และระดับจังหวัดมีคะแนนเฉลี่ยโดยภาพรวมร้อยละ 48.11 และระดับโรงเรียนโกสัมพีวิทยา มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 47.06 โดยพบว่า คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนโกสัมพีวิทยา ต่ำ กว่าคะแนนระดับประเทศเท่ากับร้อยละ 4.1๓ ต่ำกว่าระดับ สพฐ. เท่ากับร้อยละ 5.07 และต่ำกว่าคะแนนระดับ จังหวัดเท่ากับร้อยละ ๑.05 และมาตรฐานที่โรงเรียนควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ำกว่าคะแนน ระดับประเทศเมื่อปีการศึกษา๒๕๖4 ซึ่งทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจะต้องเร่งพัฒนาในทุกมาตรฐานการ เรียนรู้เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการทดสอบ O-Net มีค่าเป้าหมายให้สูงขึ้นร้อยละ ๓ ๑๑.การเผยแพร่นวัตกรรม 1. การเผยแพร่ - การเผยแพร่นวัตกรรม ใน website slideshare และ Flipsnacks (ภาคผนวก) 2 การได้รับการยอมรับ - คณะครู ผู้ปกครอง นักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษาตลอดจนชุมชนมีความพึงพอใจ ต่อการ ดำเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (o-net) ลงชื่อผู้รายงาน (นางโสภิญญา ดารา) ครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยโรงเรียนโกสัมพีวิทยา รวบรวมสรุปผล
  • 10. ๑๐ ประชุมกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วางแผนการคัดกรองการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ประชุมกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยเพื่อวางแผนพัฒนาผผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้น ม.3 และ ม.6 ดำเนินการคัดกรองการอ่าน การเขียน ภาษาไทย
  • 15. ๑๕ ผลทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2564 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา ตาราง แสดงผลทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2564
  • 16. ๑๖ จากตาราง พบว่า ผลทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2564 มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย ของจังหวัด สพฐ. และของประเทศ
  • 18. ๑๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ รหัสวิชา ท ๒2๑01 รายวิชา ภาษาไทย ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่องเรียงถ้อยร้อยคำให้งดงาม เวลา ๔ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง การเขียนบรรยาย เวลา ๒ ชั่วโมง ครูผู้สอน นางโสภิญญา ดารา โรงเรียนโกสัมพีวิทยา สอนวันที่...............เดือน............. พ.ศ. ................ ---------------------------------------------------------------- 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การเขียนบรรยายเป็นการเขียนเรื่องราวต่าง ๆ อาจเป็นเรื่องจริงหรือเรื่องสมมุติก็ได้การเขียนบรรยายที่ดี ผู้เขียนต้องมีความรู้ในเรื่องที่จะบรรยายเข้าใจวิธีการเขียน ใช้กลวิธีในการดำเนินเรื่องเหมาะสม เพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจ และสนใจอ่านและควรมีมารยาทในการเขียน 2. ตัวชี้วัด ท 2.1 ม. 2/2 เขียนบรรยายและพรรณนา ท 2.1 ม. 2/8 มีมารยาทในการเขียน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้(K) ๑. อธิบายความหมายของการเขียนบรรยายได้ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) 1. นักเรียนสามารถเขียนบรรยายเรื่องจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ 3.3 ด้านเจตคติ (A) - เห็นคุณค่าของของภาษาไทยในฐานะเป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย) 4. สาระการเรียนรู้ - การเขียนบรรยาย 5. สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน 3. รักความเป็นไทย 7. ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R ,8C) 7.1 ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R 8C  Reading (อ่านออก)  (W) Riting(เขียนได้)  (A) Rithemetics(คิดเลขเป็น)  ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (CriticalThinking and Problem Solving)  ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)  ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)
  • 19. ๑๙  ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ(Collaboration,Teamwork and Leadership)  ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ(Communications, Information, andMedia Literacy)  ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)  ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)  มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญของทักษะขั้นต้นทั้งหมด และเป็นคุณลักษณะที่เด็กไทยจำเป็นต้องมี(Compassion) 7.2 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ของคนในศตวรรษที่ 21 ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Responsibility) 7.3 คุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ ความเคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ ความสำนึกพลเมือง 7.4 บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (การเรียนรู้แบบร่วมมือผสมผสานการอ่านและการเขียน(Cooperative Integrated Reading and Composition หรือ CIRC) ขั้นนำ ๑. นำรูปภาพทุ่งนาติดบนกระดานให้นักเรียนดู ๒. นักเรียนทุกคนช่วยกันสังเกตดูว่าภาพที่เห็นคือภาพอะไรและตอบคำถามจากภาพโดยครูสุ่มถามนักเรียน ประมาณ ๒-๓ คน ดังต่อไปนี้ - นักเรียนเห็นอะไรในภาพบ้าง - ถ้านักเรียนอยู่ในภาพเหล่านี้ นักเรียนรู้สึกอย่างไรและอยากทำอะไรบ้าง ขั้นสอน ๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่ม(ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration,Teamwork and Leadership) ศึกษาใบความรู้เรื่อง การเขียนบรรยาย(W) Riting(เขียนได้) และระดมความคิด (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา(CriticalThinking and Problem Solving)และตอบคำถามดังนี้ – ลักษณะของการเขียนบรรยาย - ในการเขียนบรรยายเราต้องคำนึงถึงสิ่งใดเป็นสำคัญ - วิธีการเขียนบรรยายทำอย่างไร ๒. ให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มตอบคำถามและอภิปรายเพิ่มเติม ๓. สุ่มนักเรียนกลุ่มละ ๑ คน ให้เล่าเหตุการณ์จากการไปท่องเที่ยวสถานที่ต่างๆที่นักเรียนเคยไป เช่น น้ำตก สวนสาธารณะ ทะเล สวนสนุก โดยให้นักเรียนเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในลักษณะการบรรยาย
  • 20. ๒๐ ๔. นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็นแนะนำวิธีการเล่าเรื่องจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อให้นักเรียนนำมา เขียนบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดได้ถูกต้อง ๕. นักเรียนศึกษาแบบฝึกทักษะเรื่องการเขียนบรรยายที่ครูจัดทำเพื่อเป็นการทบทวนเรื่องการเขียนบรรยาย โดยศึกษาขั้นตอนตามแบบฝึก ขั้นสรุป ๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องหลักการเขียนบรรยายเพื่อที่จะได้รู้หลักการบรรยายนำไปเขียน บรรยายได้อย่างถูกต้อง ๒. มอบหมายให้นักเรียนเขียนบรรยายจากประสบการณ์การไปสถานที่ต่างๆคนละ ๑ เรื่อง 9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. รูปภาพทุ่งนา 2. แบบฝึกเสริมทักษะเรื่องการเขียนบรรยาย 9.2 แหล่งเรียนรู้ - 10. การวัดผลและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ด้านความรู้(K) - ประเมินการตอบคำถาม แบบประเมินการตอบคำถาม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) 1. ประเมินการทำงานกลุ่ม 2. ประเมินการทำงานรายบุคคล 1. แบบประเมินการทำงานกลุ่ม 2. แบบประเมินการทำงานรายบุคคล ระดับ ๓ ขึ้นไป จำนวน ๔ ใน ๖ รายการ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ประเมินเจตคติ(A) ประเมินเจตคติ - เห็นคุณค่าของของภาษาไทยในฐานะ เป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย) แบบประเมินเจตคติ - เห็นคุณค่าของของภาษาไทยในฐานะ เป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย) ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ประเมินคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม - ความอดทน แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรมและ ค่านิยม - ความรับผิดชอบ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑.ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑.ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ระดับคุณภาพ 1 ผ่านเกณฑ์
  • 21. ๒๑ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน 3. รักความเป็นไทย แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน 3. รักความเป็นไทย ในระดับ 1 ขึ้นไปทุกข้อจึงจะ อนุมัติให้ผ่านเกณฑ์การ ประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ บันทึกหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. สรุปผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง …………….................................................................................... 1.1 ด้านความรู้ (K) ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 1.2 ด้านทักษะกระบวนการ(P) ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 1.3 ด้านเจตคติ(A) ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 1.4 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 1.5 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 2. ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข/พัฒนา ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 3.แนวทางปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ลงชื่อ.................................................. (นางโสภิญญา ดารา) ตำแหน่ง ครู คศ.2
  • 28. ๒๘ แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม ลำดับ ที่ ชื่อ-สกุล รายการ รวม เนื้อหาสาระ ครบถ้วนตรง ตามประเด็น ความถูกต้อง ของเนื้อหา สาระ ภาษาถูกต้อง เหมาะสม ค้นคว้าจาก แหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย รูปแบบการ นำเสนอ น่าสนใจ ปรับปรุง และ แสดง ความรู้สึกต่อ ชิ้นงาน ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒
  • 29. ๒๙ แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม เกณฑ์การประเมิน ๑. การให้คะแนน ✓ ให้ ๑ คะแนน ๒. การสรุปผลการประเมินให้เป็นระดับคุณภาพ ๔, ๓, ๒,๑ กำหนดเกณฑ์ได้ตามความเหมาะสม หรืออาจใช้เกณฑ์ดังนี้ ๙–๑๐ คะแนน = ๔ (ดีมาก) ๗–๘ คะแนน = ๓ (ดี) ๕–๖ คะแนน = ๒ (พอใช้) ๐–๔ คะแนน = ๑ (ควรปรับปรุง) เกณฑ์การประเมิน แยกตามองค์ประกอบย่อย ๖ ด้าน รายการที่ ๑ เนื้อหาสาระครบถ้วนตรงตามประเด็น ๔ หมายถึง มีเนื้อหาสาระครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนดทั้งหมด ๓ หมายถึง มีเนื้อหาสาระค่อนข้างครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนดทั้งหมด ๒ หมายถึง มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วนตามประเด็นแต่ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์พอใช้ ๑ หมายถึง มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วน ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง รายการที่ ๒ ความถูกต้องของเนื้อหาสาระ ๔ หมายถึง เนื้อหาสาระทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา ๓ หมายถึง เนื้อหาสาระเกือบทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา ๒ หมายถึง เนื้อหาสาระบางส่วนถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชาต้องแก้ไขบางส่วน ๑ หมายถึง เนื้อหาสาระส่วนใหญ่ไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง หลักวิชาต้องแก้ไขเป็นส่วนใหญ่ รายการที่ ๓ ภาษาถูกต้องเหมาะสม ๔ หมายถึง สะกด การันต์ถูกต้อง ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมดีมาก ลำดับความได้ชัดเจนเข้าใจง่าย ๓ หมายถึง สะกด การันต์ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมดี ลำดับความได้ดีพอใช้ ๒ หมายถึง สะกด การันต์มีผิดอยู่บ้าง ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมพอใช้ ลำดับความพอเข้าใจ ๑ หมายถึง สะกด การันต์ผิดมาก ถ้อยคำสำนวนไม่เหมาะสม สำดับความได้ไม่ชัดเจน รายการที่ ๔ ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ๔ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายตั้งแต่ ๔ แหล่งขึ้นไป ๓ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายตั้งแต่ ๓ แหล่งขึ้นไป ลำดับ ที่ ชื่อ-สกุล รายการ รวม เนื้อหาสาระ ครบถ้วนตรง ตามประเด็น ความถูกต้อง ของเนื้อหา สาระ ภาษาถูกต้อง เหมาะสม ค้นคว้าจาก แหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย รูปแบบการ นำเสนอ น่าสนใจ ปรับปรุง และ แสดง ความรู้สึกต่อ ชิ้นงาน ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๒๓ ๒๔
  • 30. ๓๐ ๒ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ๒ แหล่ง ๑ หมายถึง ใช้ความรู้เพียงแหล่งเรียนรู้เดียว รายการที่ ๕ รูปแบบการนำเสนอน่าสนใจ ๔ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานแปลกใหม่ น่าสนใจดี ลำดับเรื่องราวได้ดีมาก ๓ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานน่าสนใจ ลำดับเรื่องราวได้ดี ๒ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานน่าสนใจพอใช้ ลำดับเรื่องราวได้พอใช้ ๑ หมายถึง รูปแบบการนำเสนอผลงานไม่น่าสนใจ ลำดับเรื่องราวได้ไม่ดี รายการที่ ๖ ประเมิน ปรับปรุง และแสดงความรู้สึกต่อชิ้นงาน ๔ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้ชัดเจน ปรับปรุงพัฒนางานได้เหมาะสม และแสดง ความรู้สึกต่องานทั้งกระบวนการทำงานและผลงานได้อย่างชัดเจน ๓ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้บางส่วน ปรับปรุงพัฒนางานได้บ้าง แสดงความรู้สึกต่อ งานได้แต่ไม่ครบถ้วน ๒ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้เล็กน้อย ปรับปรุงพัฒนางานด้วยตนเองไม่ได้ต้องได้รับ คำแนะนำจากผู้อื่น แสดงความรู้สึกต่องานได้แต่ไม่ครบถ้วน ๑ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานไม่ได้ ไม่ปรับปรุงพัฒนางาน แสดงความรู้สึกต่องานได้ เล็กน้อยหรือไม่แสดงความรู้สึกต่องาน เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน นักเรียนต้องมีพฤติกรรมในแต่ละรายการอย่างน้อยระดับ ๓ ขึ้นไป จำนวน ๔ ใน ๖ รายการ ลงชื่อ ........................................... ผู้ประเมิน (นางโสภิญญา ดารา) ............/................................/.................
  • 31. ๓๑ แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน ลำดับที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับการประเมิน ความมี วินัย ความมี น้ำใจ เอื้อเฟื้อ เสียสละ การรับฟัง ความ คิดเห็น การแสดง ความ คิดเห็น การตรงต่อ เวลา รวม 20 คะแนน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง
  • 32. ๓๒ แบบประเมินการมีเจตคติเห็นคุณค่าของภาษาไทยในฐานะเป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย) เลขที่ ชื่อ-สกุล การมีเจตคติตระหนักและเห็นคุณค่าของ วรรณคดีและวรรณกรรมและมีมารยาท ในการอ่าน รวม ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ เกณฑ์การประเมินการมีเจตคติเห็นคุณค่าของภาษาไทยในฐานะเป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย) รายการประเมิน คำอธิบายคุณภาพ ๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน ๑. ตระหนักและเห็นคุณค่า ของภาษาไทยในฐานะเป็น ภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลข ไทย) ทุกครั้งตระหนักและเห็น คุณค่าของภาษาไทยในฐานะ เป็นภาษาประจำชาติ(เขียน ตัวเลขไทย) ตระหนักและเห็นคุณค่า ของภาษาไทยในฐานะ เป็นภาษาประจำชาติ (เขียนตัวเลขไทย) บ่อยครั้ง ตระหนักและเห็นคุณค่า ของภาษาไทยในฐานะ เป็นภาษาประจำชาติ (เขียนตัวเลขไทย) เป็นบางครั้ง เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ๓ คือ ดี (ระดับคุณภาพ ๓) คะแนน ๒ คือ ปานกลาง (ระดับคุณภาพ ๒) คะแนน ๑ คือ ปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑) เกณฑ์การตัดสินผ่าน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน (.............................................)
  • 33. ๓๓ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ชื่อ..............................................................นามสกุล................................................ชั้น ........ เลขที่..... คำชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับ คะแนน สมรรถนะที่ประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๑.๑ มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร ๑.๒ มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๑.๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ ๑.๔ เจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ได้ ๑.๕ เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง สรุปผลการประเมิน 2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ 2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 2.5 ตดัสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม – พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ดี - พฤติกรรมทีปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ผ่านเกณฑ์ – พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน ควรปรับปรุง – ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล ดีเยี่ยม 13 – 15 คะแนน (๓ คะแนน) ดี 9 – 12 คะแนน (๒ คะแนน) ผ่านเกณฑ์ 1 – 8 คะแนน (๑ คะแนน) ควรปรับปรุง 0 คะแนน (๐ คะแนน) เกณฑ์การตัดสินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระดับคุณภาพ 1 ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ................................................ผู้ประเมิน (.............................................)
  • 34. ๓๔ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ชื่อ..............................................................นามสกุล................................................ชั้น ........ เลขที่..... คำชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับ คะแนน 1. ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ผู้ที่ใฝ่เรียนรู้ คือ ผู้ที่มีลักษณะแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่าง เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ 1.1. ตั้งใจ เพียรพยายามในการ เรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ 1.1.1 ตั้งใจเรียน 1.1.2 เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ 1.3 สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ 1.2. แสวงหาความรู้จากแหล่ง เรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก โรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่าง เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ และนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ 1.2.1 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี ต่างๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม 1.2.2 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ 1.2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน) พฤติกรรมบ่งชี้ ควรปรับปรุง(0) ผ่านเกณฑ์ (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) ตามข้อ 1.1 – 1.2 ไม่ตั้งใจเรียนไม่ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจ ใส่ในการเรียน และมีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ และเข้า ร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่างๆ เป็น บางครั้ง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจ ใส่ในการเรียน และมีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ และเข้า ร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่างๆ บ่อยครั้ง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เรียน เอาใจใส่ในการ เรียน และมีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ และเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก โรงเรียนเป็นประจำ
  • 35. ๓๕ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทำหน้าที่ การงานด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย ผู้ที่มุ่งมั่นในการทำงาน คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วย ความเพียรพยายาม ทุ่มเทกำลังกาย กำลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่กำหนดด้วย ความรับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ 2.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การงาน 2.2 ทำงานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตาม เป้าหมาย 2.1.1 เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 2.1.2 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้แล้วเสร็จ 2.1.3 ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง 2.2.1 ทุ่มเททำงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน 2.2.2 พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้แล้วเสร็จ 2.2.3 ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน) พฤติกรรมบ่งชี้ ควรปรับปรุง(0) ผ่านเกณฑ์ (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) ตามข้อ 2.1 – 2.2 ไม่ตั้งใจปฏิบัติ หน้าที่การงาน ตั้งใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ให้สำเร็จ ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายให้ สำเร็จ มีการปรับปรุง และพัฒนาการ ทำงานให้ดีขึ้น ตั้งใจและรับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายให้สำเร็จ มี การปรับปรุงและ พัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น ภายในเวลาที่กำหนด
  • 36. ๓๖ 3. รักความเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์สืบทอด ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ผู้ที่รักความเป็นไทย คือ ผู้ที่มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญูกตเวที ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร อย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ 3.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมี ความกตัญญูกตเวที 3.1.1 แต่งกายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูกตเวที ต่อผู้มีพระคุณ 3.1.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย 3.1.3 ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและ วัฒนธรรมไทย 3.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการ สื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 3.2.1. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 3.2.2 ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง 3.3 อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาไทย 3.3.1 นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต 3.3.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย 3.3.3 แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน) พฤติกรรมบ่งชี้ ควรปรับปรุง(0) ผ่านเกณฑ์ (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3) ตามข้อ 3.1 – 3.3 ไม่มีสัมมาคารวะต่อ ครูอาจารย์ มีสัมมาคารวะต่อ ครูอาจารย์ ใช้ ภาษาไทย เลขไทย ในการสื่อสารได้ ถูกต้อง มีสัมมาคารวะต่อ ครูอาจารย์ ปฏิบัติ ตนเป็นผู้มีมารยาท แบบไทยใช้ ภาษาไทย เลขไทย ในการสื่อสารได้ ถูกต้องเข้าร่วม กิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย มีสัมมาคารวะ ต่อครู อาจารย์ ปฏิบัติตนเป็น ผู้มีมารยาทแบบไทยใช้ ภาษาไทย เลขไทยใน การสื่อสารได้ถูกต้องเข้า ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับภูมิปัญญาไทยและมี ส่วนร่วมในการสืบทอด ภูมิปัญญาไทย หมายเหตุ ข้อมูลนี้ได้รับจากงานกิจกรรมที่เกี่ยวกับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย,แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย, การใช้ตัวเลขไทย,แบบสังเกตพฤติกรรม
  • 37. ๓๗ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ระดับดีเยี่ยม ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ระดับดี ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ระดับผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ 0 หมายถึง ระดับควรปรับปรุง เกณฑ์พิจารณาสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนรายบุคคล ดังนี้ คะแนน 19 - 24 หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (3) คะแนน 13 - 18 หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี (2) คะแนน 7 - 12 หมายถึง ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ (1) คะแนน 0 - 6 หมายถึง ระดับคุณภาพ ควรปรับปรุง (0) หมายเหตุ นักเรียนต้องได้รับการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับ 1 ขึ้นไปทุกข้อจึงจะอนุมัติ ให้ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน ( …………………………………………)
  • 38. ๓๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ รหัสวิชา ท ๒2๑01 รายวิชา ภาษาไทย ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่องเรียงถ้อยร้อยคำให้งดงาม เวลา ๔ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง การเขียนพรรณนา เวลา ๒ ชั่วโมง ครูผู้สอน นางโสภิญญา ดารา โรงเรียนโกสัมพีวิทยา สอนวันที่...............เดือน............. พ.ศ. ................ ---------------------------------------------------------------- 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด หมายถึงการเขียนที่เรียบเรียงถ้อยคําทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนเพื่อให้ รายละเอียดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไม่ว่า บุคคลสัตว์พืชวัตถุสถานที่หรือเหตุการณ์ โดยเน้นให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านนึกเป็นภาพที่เด่นชัดและเกิดอารมณ์ความรู้สึก ตามที่ผู้ส่งสาร มุ่งหมายโวหารพรรณนามีลักษณะวรรณศิลป์มากกว่าโวหารอย่างอื่นเนื่องจากมีการใช้ ถ้อยคําที่ ก่อให้เกิดภาพพจน์และอารมณ์สะเทือนใจ โวหารพรรณนามีลักษณะร่วมกันกับโวหารอธิบายตรงที่ต่างกล่าวถึง ข้อเท็จจริง ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งผิดแผกกันในประการสําคัญที่เจตนาของผู้ส่งสารถ้ามุ่งให้ความรู้ความ เข้าใจตามธรรมดา เป็นโวหารอธิบายหากเป็นการสร้างความนึกเห็นเป็นภาพใจที่ชัดเจนและ อารมณ์ความรู้สึกก็เป็นโวหารพรรณนาเรื่อง เดียวกันอาจใช้โวหารต่างกันก็ได้เช่นเรื่อง อาหารการกินถ้ากล่าวถึงวิธีปรุงหรือคุณค่าเป็นโวหารอธิบายในกรณีที่เน้น ความน่า รับประทานไม่ว่าเป็นรูปลักษณะสีสันกลิ่นรสก็เป็นโวหารพรรณนา 2. ตัวชี้วัด ท 2.1 ม. 2/2 เขียนบรรยายและพรรณนา ท 2.1 ม. 2/8 มีมารยาทในการเขียน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้(K) ๑. นักเรียนบอกความหมายและหลักการของการเขียนพรรณนาได้ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) 1. นักเรียนเขียนพรรณนาจากภาพที่กำหนดได้ 3.3 ด้านเจตคติ (A) - เห็นคุณค่าของของภาษาไทยในฐานะเป็นภาษาประจำชาติ(เขียนตัวเลขไทย) 4. สาระการเรียนรู้ - ความหมายของการพรรณนา - หลักการเขียนพรรณนา 5. สมรรถนะสำคัญ 1. ทักษะการวิเคราะห์ 2. ทักษะการจำแนก 3. ทักษะการนำไปใช้ 4, กระบวนการทางภาษา 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัยรับผิดชอบ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R ,8C) 7.1 ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R 8C  Reading (อ่านออก)