SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
บทที่ 12
ภาษามือหมวด ยานพาหนะ
การเดินทางที่มีระยะไกลจาเป็นต้องอาศัยยานพาหนะเพื่อให้ไปถึงที่หมายอย่างรวดเร็วและ
ปลอดภัย การสื่อสารด้วยภาษามือในหมวดยานพาหนะคาส่วนใหญ่จะมาจากลักษณะของยานพาหนะ
นั้นๆ ซึ่งทาให้ทุกคนสามารถจดจาได้ง่ายและรวดเร็ว
1. ภาษามือหมวดยานพาหนะ
ยานพาหนะที่ใช้กันอยู่ในทุกวันนี้มีหลายประเภทซึ่งประกอบไปด้วย ยานพาหนะที่
เคลื่อนย้ายขนส่งทางบก ยานพาหนะที่เคลื่อนย้ายขนส่งทางน้า ยานพาหนะที่เคลื่อนย้ายขนส่งทาง
อากาศยาน ดังภาพต่อไปนี้
ยานพาหนะ
กำมือสองข้ำงขยับขึ้นลงสลับกัน และทำท่ำมือ เลขหนึ่ง แล้วลูบลง
ยานพาหนะที่เคลื่อนย้ายขนส่งทางบก ทาท่ามือได้ตามลักษณะการใช้งาน เช่น คาว่า
รถยนต์ ทาท่ามือเหมือนขับรถยนต์ และยังมีคาศัพท์ต่างๆ ดังต่อไปนี้
รถยนต์
กำมือสองข้ำงขยับขึ้นลงสลับกัน
รถไฟ
คว่ำมือระดับหน้ำอก มืออีกข้ำงหมุน ตำมภำพ
98
จักรยาน
กำมือสองข้ำงและหมุนมือ ตำมภำพ
รถจักรยานยนต์
กำมือและบิดขึ้นลง ตำมภำพ
รถโดยสารประจาทาง
ทำท่ำโหนรถเมล์
รถบรรทุกสิบล้อ
แบมือสองข้ำงขนำนกับพื้น และทำท่ำมือ สิบ
ยานพาหนะที่เคลื่อนย้ายขนส่งทางน้า มีเรือหลายๆแบบ เช่น เรือหางยาว เรือใบ เรือ
สาเภา ดังตัวอย่างที่ยกมา
เรือ
แบมือใช้ปลำยนิ้วชนกันและดันมือไปด้ำนหน้ำ
เรือหางยาว
ทำท่ำมือ เรือ และกำมือสองข้ำงจับหำงเรือ
ยานพาหนะที่เคลื่อนย้ายขนส่งทางอากาศยาน มีหลายชนิดได้แก่ บอลลูน เครื่องบิน
เฮลิคอปเตอร์และจรวด ซึ่งสามารถทาภาษามือได้ตามตัวอย่างต่อไปนี้
99
เครื่องบิน
แบมือเก็บนิ้วกลำงกับนิ้วนำงและขยับไปข้ำงหน้ำ
เฮลิคอปเตอร์
ทำท่ำมือ เลขหนึ่งแล้วหมุน มืออีกข้ำงคว่ำ ตำมภำพ
จรวด
ทำท่ำมือ เลขหนึ่ง มืออีกข้ำงคว่ำดึงมือขึ้น ตำมภำพ
2. การสนทนาในหมวดยานพาหนะ
การสนทนาในหมวดยานพาหนะสามารถพูดคุยกันได้หลายๆ รูปแบบไม่ว่าจะเป็น
การถามเกี่ยวกับการเดินทางหรือว่าจะเป็นการพูดคุยกันถึงข่าวสารต่างๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ก : คุณมามหาวิทยาลัยอย่างไร ข : ฉันมารถเมล์
สรุป
ภาษามือหมวดยานพาหนะมีคาศัพท์มากมาย ได้แก่ ยานพาหนะบนบก ยานพาหนะในน้า
และยานพาหนะในอากาศ ซึ่งในแต่ละคามีท่ามือที่แตกต่างกันโดยมีท่ามือจังหวะเดียวและท่ามือหลาย
100
จังหวะ ในแต่ละคาทาท่ามือตามภาพประกอบและตามลูกศรได้ ซึ่งทาให้ทาภาษามือได้ง่ายและใช้
ประโยชน์ได้จริง
แบบฝึกท้ายบท
1. ให้นักศึกษาเขียนคาศัพท์ต่อไปนี้
1.1 ………………………………
1.2 ………………………………
1.3 ………………………………
1.4 ………………………………
101
1.5 ………………………………
2. ให้นักศึกษานาคาศัพท์ต่อไปนี้ทาเป็นรูปประโยคสนทนา
2.1 เครื่องบิน
2.2 เรือ
2.3 รถพยาบาล
2.4 เกวียน
2.5 รถไฟ
102
เอกสารอ้างอิง
กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์.
ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 4. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.

More Related Content

What's hot

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10pop Jaturong
 
แผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องแผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องThanaporn choochart
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆSukanda Panpetch
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสองเนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสองSasiprapha Srisaeng
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมthnaporn999
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
งานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทงานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทKu'kab Ratthakiat
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

What's hot (20)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
แผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องแผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้อง
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆ
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสองเนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
งานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทงานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบท
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

บทที่ 12