SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
บทที่ ๓
การใช้ ภาษาไทยในการติดต่ อสื่ อสารอย่ างมีศิลปะ
วันนี้เรามาเรี ยนการใช้ภาษาไทย
ในการติดต่อสื่ อสารกันนะคะ

ผมอยากเรี ยนมากเลยครับครู

๑. การใช้ ภาษาในการสื่อสารอย่ างสร้ างสรรค์
การใช้ภาษาในการสื่ อสารและสร้ างสรรค์น้ น เราจะต้องรู ้ จกการเลื อกถ้อยคํา
ั
ั
นํามาใช้ให้ถูกระเบียบแบบแผนของภาษา เพื่อประโยชน์ของตนเองและเป็ นการรักษา
่
มรดกของชาติให้ดารงอยูสืบไป
ํ

เราจะใช้ภาษาอย่างไร
ให้สร้างสรรค์ครับคุณครู
ดังพระบรมราโชวาท
่ ั
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว รัชกาลที่ ๙ ซึ่ งขออัญเชิ ญมาดังนี้

“เมื่อมาคํานึงถึงวิธีจะนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ จะต้องอาศัย สิ่ งใดบ้างแล้ว
ก็เห็นว่าสิ่ งสําคัญที่สุดอย่างหนึ่ง คือภาษา การได้มาซึ่งวิชาความรู้ตองอาศัยภาษา การ
้
นําความรู ้ ไปใช้ก็ย่อมต้องอาศัยภาษาอีกในปั จจุบนนี้ ปรากฏว่า ได้มีการใช้ถอยคํา
ั
้
ออกมาใช้อย่างฟุ่ มเฟื อยและไม่ตรงความหมายอันแท้จริ งอยูเ่ นื อง ๆ ทั้งการออกเสี ยง
ก็ไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ถ้าปล่ อยให้เป็ นไปดังนี้ ภาษาของเราก็มีแต่จะทรุ ดโทรม
ชาติ ไทยเรามี ภาษาของเราใช้เองเป็ นสิ่ งอันประเสริ ฐอยู่แล้ว เป็ นมรดกอันมี ค่าตก
ทอดมาถึ งเรา ทุ กคนจึ ง มี หน้าที่ จะต้องรั กษาไว้ ฉะนั้น จึ งขอได้ช่วยกันรั กษาและ
ส่ งเสริ มภาษาซึ่ งเป็ นอุปกรณ์และหลักประกันเพื่อความเจริ ญวัฒนาของประเทศชาติ”

เป็ นไงบ้ างเด็ก ๆ ขยันเรี ยนต่อไปนะคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๗๕
๒. ศิลปะการใช้ ภาษา
ไม่ เหมือนกัน

ศิลปะการใช้ภาษาเหมือนกับผม
วาดรู ปศิลปะไหมคะคุณครู

ครู จะอธิบายให้ ฟัง

การใช้ ภ าษาเป็ นศิ ล ปะชั้ น สู ง อย่ า งหนึ่ ง ผู้ใ ช้ต้อ งรู้ จ ัก เลื อ กใช้ถ้อ ยคํา ให้
เหมาะสมกับ กาลเทศะฐานะของบุ ค คลและรู ป แบบของการสื่ อ สาร ซึ่ งมี ห ลัก การ
พิจารณาดังนี้
๑) ใช้ ค าให้ ต รงกับความหมาย เนื่ องจากภาษามี ค าไวพจน์ ที่มี รูปเสี ย ง และ
ํ
ความหมายคล้ายกันอยูเ่ ป็ นจํานวนมาก ถ้าหากไม่รู้จกพิจารณาเลือกคํามาใช้ อาจทําให้
ั
ความหมายของคําผิดไปจากความต้องการได้ คื อ ผูใช้ตองการบอกความหมายอย่าง
้ ้
หนึ่ง แต่ใช้คาไม่ตรงกับความหมายที่ตองการใช้ความหมายก็จะกลายไปเป็ น อีกอย่าง
ํ
้
หนึ่งได้

ยกตัวอย่าง เช่ น คาว่าอะไรบ้ างคะครู

เช่ น คาว่า ขัดขวาง กับ ขัดขืน
“ผูร้า ย ขัด ขวาง การจับกุ ม ของเจ้า หน้า ที่ ตารวจ” มี
้
ํ
ความหมายว่า เจ้า หน้า ที่ ต า รวจจะจับ บุ ค คลหนึ่ ง แต่ ถู ก ผูร้ า ย
ํ
้
ขัดขวางเอาไว้ทาให้เจ้าหน้าที่ตารวจจับกุมบุคคลนั้นไม่สะดวก
ํ
ํ
“ผู้ร้ า ย ขั ด ขื น การจับ กุ ม ของเจ้ า หน้ า ที่ ต ํา รวจ ” มี
ความหมายว่า เจ้าหน้าที่ตารวจจะจับผูร้ายแต่ผูร้ายไม่ยอมให้จบ
ํ
้
้
ั
เป็ นต้น

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๗๖
นอกจากนี้ ยัง มี ค ํา ที่ อ อกเสี ยงใกล้ เ คี ย งกั น แต่ มี
ความหมายต่ า งกัน ถ้า หากไม่ พิ จ ารณาเลื อ กใช้ใ ห้ ต รงกับ ที่
ต้องการแล้ว อาจจะทําให้ความหมายผิดไปได้ เช่ น เลขานุ การเลขาธิ การ, ชักชวน-ชักจูง อธิ บาย-อภิปราย,
ผัด-ผลัด, ฟังรับฟัง ฯลฯ

ั
๒) ใช้ คาภาษาสุ ภาพ ภาษาสุ ภาพ หมายถึง คําที่ใช้กบ
ผูที่เคารพนับถือ เพราะวัฒนธรรมไทย เราเคารพผูอาวุโสกว่า
้
้
ั
ภาษาที่ใช้กบบุคคลที่เคารพนับถือก็ตองเลือกใช้คาที่แสดงการ
้
ํ
เคารพนั บ ถื อ ด้ ว ย เช่ น การใช้ ค ํา นาม สรรพนาม กริ ยา
ลักษณะนามเป็ นต้น

เป็ นเด็กดีต้องพูดจา
สุ ภาพ ใช่ ไหมคะ

ใช่แล้วคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๗๗
๓. หลักการใช้ คาภาษาสุ ภาพ
หลักการใช้ คาภาษาสุ ภาพ
 เปลี่ยนถ้อยคําที่ใช้ให้เป็ นกลาง ๆ เพื่อแสดงความสุ ภาพ
เช่ น ไม่ ร้ ู - ไม่ ทราบ บอกให้ ร้ ู – เรียนให้ ทราบ
 ใช้คาช่วยพูดลงท้ายแสดงความสุ ภาพอ่อนโยน
ํ
เช่ น คะ ขา ค่ ะ ครับ จ๊ ะ เจ้ าค่ ะ ฯลฯ
 หลีกเลี่ยงใช้ภาษาทําให้ผฟังเกิดความไม่สบายใจ
ู้
เช่ น ใช้ ภาษาถิ่น ภาษาสแลง ตลอดจนภาษาทีมีความหมายสองแง่ สองมุม เป็ นต้ น
่

 ใช้คาสุ ภาพให้ถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน
ํ
เช่น
ภาษาพูดว่า
ภาษาเขียนว่า
โจรปล้น
นํ้าท่วม
ไฟไหม้
กินข้าว
หนัง
ไอติม

โจรภัย
อุทกภัย
อัคคีภย
ั
รับประทานข้าว
ภาพยนตร์
ไอศกรี ม

ตั้งใจกันศึกษากันนิดหนึ่งนะเพือน ๆ
่

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

เหนื่อยกันรึยงจ๊ ะ
ั

หน้ า ๗๘
๓) ใช้ คาที่คนทั่วไปเข้ าใจและสั งคมยอมรั บ ว่าถูกต้อง
ตามระเบียบแบบแผน ซึ่ งมีขอควรพิจารณาดังต่อไปนี้
้



ไม่ ใช้ คาต่าหรือคาหยาบ (Vulgarism หรือ Jargon)

ไม่ ใช่ คาต่าหรือคาหยาบ เป็ นอย่างไรหรือคะ

ไม่ ใช่ คาต่าหรื อคาหยาบ หมายถึ ง ภาษาปากที่คน
ระดับ ชาวบ้า นหรื อ ผูข าดการศึ ก ษาใช้พูดจากัน ซึ่ ง ถื อ เป็ นคํา
้
หยาบ ฟังไม่ไพเราะ แสดงรสนิยมตํ่าของผูใช้
้


เช่น พ่นฝอย ม่องเท่ง เสื อก ดัดจริ ต กบาล ทะเล้น ชุ่ย ฯลฯ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๗๙
ไม่ ใ ช้ ค าตลาด (Colloquial) ได้แก่ ภาษาพูดระดับ ปากหรื อบุ ค คลที่ ไ ม่
สนิ ทคุ นเคยกันโดยมีเจตนาจะให้แปลกไปจากภาษาธรรมดา เพื่อความสนุ กสนาน
้
และแสดงความเป็ นกันเอง เช่น หน้าโง่ นํายันป้ าย โง่ศกดาน เชยมหาราช ตบล้าง
ั
นํ้า มันเข้าไส้ ฯลฯ

นอกจากนีแล้วมีอกมากมายเลยนะ
้
ี
ลองศึกษาไปเรื่อย ๆ สิ

ไม่ ใ ช้ ค าภาษาสแลง (Slang) ภาษาสแลงเป็ นคํา ตํ่า กว่ า
ั
มาตรฐานที่คนส่ วนมากไม่ยอมรับ เป็ นคําที่ ใช้กนเฉพาะกลุ่ มบุ คคล
ในระยะเวลาไม่นานก็จะเลิกใช้ไปเอง ถ้าหากคําสแลงคําใดได้รับการ
ยอมรั บจากสังคมก็จะกลายเป็ น “สํานวน” ในภาษาไป ตัวอย่างคํา
แสลง


 ได้แก่ มัว เบี้ยว พัง เจ๊ง เบ๊ ลุน ไม่สน
้
่
กิ๊กก๊อก กระจอก เก๋ ากึก ส.บ.ม. บ่มิไก๊ ฯลฯ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๘๐
 ไม่ ใ ช้ ค าพ้ น สมั ย (Obsolete word) คํา พ้น สมัย
ั
ได้แก่ คําที่ เคยใช้ในสมัยก่ อนปั จจุ บ นไม่นิยมใช้กนแล้ว เช่ น
ั
บางที บ่ ดังนี้แล ดังฤา แล ฯลฯ

ไม่ ใช้ คาเฉพาะหรื อค าวิทยาการ (Technical term)
คําเฉพาะหรื อคําวิทยาการเป็ นคําที่ใช้เฉพาะสาขาวิชาแขนงใดแขนง
หนึ่ง เช่น ภาษาการเมือง ภาษาแพทย์ ภาษาช่าง ภาษากฎหมาย และ
ภาษาการศึกษา เป็ นต้น

ต้องใจเย็น ๆ นะคะ อย่าใจร้อน ค่อย ๆ ศึกษากัน

ไม่ ใ ช้ ค าภาษาถิ่ น (Dialect) ได้ แ ก่ คํา ที่ ใ ช้ เ ฉพาะ
ท้องถิ่ นใดท้องถิ่ นหนึ่ ง คนทัวไปไม่เข้าใจจึงไม่สมควรใช้ เช่ น
่
ยาร่ วง (มะม่ ว งหิ มพานต์ ) นํ้ าชุ บ (นํ้ าพริ ก) ผ้ า ซั ก อาบ
่
(ผ้าขาวม้า) ยามู (ชมพู) มะหุ่ง (มะละกอ) ดีปลี (พริ ก) คุม (วัง)
้
ลูกยุง (ลูกนํ้า) ฯลฯ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๘๑
ไม่ ใช้ คาต่ างประเทศ (Foreign word) คําภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิ พล
ต่ อ ภาษาไทยปั จจุ บ ัน นี้ ได้แ ก่ ภาษาอัง กฤษ ซึ่ งเรายื ม คํา มาใช้เ ป็ นจํา นวนมาก
วิธีการยืมมาใช้มีหลายอย่าง เช่น การทับศัพท์ การบัญญัติศพท์ เป็ นต้น คําเหล่านี้ ถา
ั
้
ั
สังคมยอมรับและใช้กนแพร่ หลายก็ถือว่าเป็ นคําภาษาไทยได้ เช่น ก๊าซ กอล์ฟ ปั๊ ม
เทอม ฟรี เทนนิส ฟุตบอล งานบอลล์ ชอปปิ้ ง ฯลฯ

ไม่ ใช้ คาหนังสื อพิมพ์ (Journales) เพราะภาษาที่ใช้
ในหนัง สื อพิ ม พ์น้ ันต้องการความรวดเร็ ว ความเร้ า ใจ สะดุ ดตา
สะกิ ดใจ จากผูอ่า น หรื อหน้า กระดาษบัง คับ จึ ง ต้องใช้ค า อย่า ง
้
ํ
ประหยัดไม่ได้คานึ งถึ งความถู กต้องของภาษาเท่าใดนัก เช่ น เจ้า
ํ
บุญทุ่ม สิ งห์อมควัน นักยัดห่วง ศึกลูกหนัง ดาวโป๊ ฟาดแข้ง นักซิ่ ง
สิ งห์รถบรรทุก ฯลฯ
 ไม่ ใช้ คาย่ อหรื ออักษรย่ อ ซึ่ งปั จจุ บนเป็ นที่ นิยมกันอย่าง
ั
กว้างขวาง แม้แต่ในวงราชการก็เช่นเดียวกัน คําย่อหรื ออักษรย่อนี้ ถา
้
กํา หนดเป็ นทางราชการหรื อใช้ก ันมาจนเป็ นที่ รู้จกแพร่ หลายของ
ั
ประชาชนแล้วก็อาจจะใช้ได้ แต่ส่วนมากคําย่อหรื ออักษรย่อมิได้เป็ น
ที่แพร่ หลายคงใช้เฉพาะในหมู่ของตนเองเท่านั้น เช่น
ป.ช.ป (พรรคประชาธิปัตย์)
ท.ร.ท (พรรคไทยรักไทย)
ผ.ก.ค. (ผู้ก่อการร้ ายคอมมิวนิสต์ ) ย.ห. (อย่าห่ วง)
รมต. (รัฐมนตรี)
ส.บ.ม. (สบายมาก)

เกือบถึงเส้นชัยแล้ว
สู้ ๆ นะครับ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๘๒
เหนื่อยจัง

๔) ใช้ คาประหยัด ไม่ ฟุ่มเฟื อยหรื อซ้าซาก ได้แก่ การรู้จก
ั
เลือกใช้คาเฉพาะเท่าที่จาเป็ นเท่านั้น ซึ่ งมี ๓ ลักษณะ คือ
ํ
ํ
 การประหยัด ค า (Economy) คื อ รู้ จ ัก เลื อ กใช้ค ํา
เท่าที่จาเป็ น คําทุกคําต้องมีความหมายคําใดไม่เป็ นประโยชน์ก็อาจ
ํ
ตัดออกได้

เช่นอะไรบ้างครับ อย่างผมเปลี่ยนจาก
พายเรื อมาเดินแทนนี่ใช่การประหยัดคํา
ไหมครับ

ไม่ใช่คะ เข้าใจผิดแล้ว
แบบนี้เขาเรี ยกการใช้จ่ายอย่างประหยัดคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๘๓
ครู จะอธิบายถึงเรื่ องการประหยัดคํานะคะ การประหยัดคํา เช่น ใหญ่โต
มโหฬาร พูดจาปราศรัย ฉลาดปราดเปรื่ อง พิศวงสงสัย ฯลฯ

การใช้ คาฟุ่ มเฟื อย ได้แก่ การใช้คามากแต่มี
ํ
ความหมายเท่าเดิมไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แต่อย่างใด


ยังไงกันครับ...คําฟุ่ มเฟื อย เหมือนผมนัง
่
เครื่ องบินบ่อยๆหรื อเปล่าครับครู

ไม่ใช่หรอก การที่เธอนังเครื่ องบินบ่อย ๆ เป็ นการใช้จ่ายอย่าง
่
ฟุ่ มเฟื อย เพราะราคาแพง

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๘๔
ครู จะยกตัวอย่างให้ฟังนะคะ






เขาได้ทาความตกลงกับคนอื่นแล้ว “ได้ทาความ” ควรตัดออก
ํ
เขาพอใจในการที่ได้รับการเลือกตั้งเป็ นผูแทนราษฎร “ในการ”ควรตัดออก
้
ครู เดินเข้ามาทาการสอน “ทําการ” ควรตัดออก
เด็กตกลงไปในนํ้า “ลงไปใน” ควรตัดออก

เข้ าใจแล้วคะ

การซ้าซาก ได้แก่ การใช้คาหรื อข้อความที่
ํ
เหมือนกัน หรื อมีความหมายคล้ายกันซํ้ากันบ่อย ๆ

เช่น อะไรบ้างผมอยากทราบจัง

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๘๕
เดี๋ยวครู จะอธิ บายต่อวันนี้ครู ขอพักสักครู่ หนึ่งนะคะ

เรามาดูตวอย่างกันนะนักเรี ยน
ั

ตัวอย่าง เช่ น
 แล้วฉันจะเล่าต่อไปให้เธอฟังต่ออีกต่อหนึ่ง
 ถูกเผาในไฟ
 คนเราเกิดมาในโลกนี้
 ตํารวจใช้กระดาษปิ ดศพของผู้ ตาย
ผูมีศิลปะในการใช้ภาษาย่อมรู ้จก “การหลากคํา” (variation) คือ
้
ั
การเปลี่ยนแปลงคําที่ซ้ าซากเป็ นคําอื่น ๆ ที่มีความหมายเช่นเดียวกัน
ํ
๕) ใช้ คาทีมีความหมายชัดเจนไม่ กากวม เนื่องจากคําภาษาไทยมีความหมาย
่
ไม่ แ น่ น อนหรื อไม่ ชั ด เจน ต้ อ งอาศัย คํา แวดล้ อ ม หรื อบริ บท (context) เพราะ
ความหมายของคําจะเด่นชัดต่อเมื่อปรากฏในประโยคเท่านั้น ดังนั้น การใช้คาจึงต้อง
ํ
รู ้ จกเลื อกพิจารณาความหมายของคําให้แน่ นอนเสี ยก่ อนมิ ฉ ะนั้นอาจทํา ให้เกิ ดการ
ั
เข้าใจผิดได้ เช่น
มาตอนสาย ๆ นะจ๊ะ ผลเป็ นอย่างไรบ้าง ไปตอนสองโมงค่ะ ตาฉันเจ็บ
เขาหยุดสู บบุหรี่
คนแก่
ขับช้ า ๆ อันตราย ขอหอมหน่อย

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๘๖
๖) ใช้ คาให้ ถูกหลักไวยากรณ์ ภาษาไทยเรามีระเบียบแบบแผน
เพื่อเป็ นแนวทางการใช้ภาษาให้ถูกต้องเป็ นแบบเดียวกัน ผูมีศิลปะในการ
้
ใช้ภ าษาจึ ง ต้อ งรู้ จ ัก เลื อ กใช้ค า ให้ถู ก ต้อ งตามระเบี ย บแบบแผนหรื อ
ํ
ไวยากรณ์
มีใครอธิบายได้บางคะ
้
ผมทราบครับ ขอผมอธิบายให้
ฟังนะครับคุณครู

เขียนตัวสะกดการันต์ ถูกต้ องตามอักขรวิธี เช่น
บาทหลวง เผอเรอ สร้างสรรค์ อาถรรพ์ ผัดวันประกันพรุ่ ง อินทรธนู
สายสิ ญจน์ ต้นโพธิ์ เบญจเพส ผาสุ ก บังสุ กุล
กล้วยบวดชี
อ่ านออกเสี ยงถูกต้ องตามหลักเกณฑ์ ได้แก่
โฆษณา
อาสาฬหบูชา
พุทรา
สุ นทรี

อ่านว่า
อ่านว่า
อ่านว่า
อ่านว่า

โคด-สะ-นา
อา-สาน-หะ-บู-ชา
พุด-ซา
สุ น-ทฺรี

เมรุ มาศ
กลเม็ด
รสนิยม
ศีลธรรม

อ่านว่า
อ่านว่า
อ่านว่า
อ่านว่า

เม-รุ -มาด
กน–ละ-เม็ด
รด-นิ-ยม
สี น-ละ-ทํา

นอกจากนี้ ยังต้องอ่านออกเสี ยงให้ชดถ้อยชัดคํา ตัวควบกลํ้า ร, ล, ว เช่น
ั
 ปลาบปลืมไม่อ่านเป็ น ปาบปื้ ม
้
 รัก ไม่อ่านเป็ น ลัก

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๘๗
การใช้ ลั ก ษณะนาม ปั จ จุ บ ัน ภาษาไทยมี ค ํา
่
ลักษณะนามอยูประมาณ ๖o-๗o คําหลักเกณฑ์การใช้
่
ั
คําลักษณะนามนั้นอยูที่ความนิยมใช้กนมาแต่ก่อน เช่น
ข้อความ
ปี่ ขลุ่ย
ไข่
เลื่อย ตอก
พระสงฆ์
แห อวน
พระพุทธรู ป เจดีย ์
ช้างบ้าน
ช้างป่ า

ใช้ลกษณะนามว่า
ั
เลา
ฟอง
ปื้ น
รู ป
ปาก
องค์
เชือก
ตัว

ผมอธิ บายได้แค่น้ ี
ละครับครู

เก่งจัง อธิบายได้
ถูกต้ องแล้ วคะ

การใช้ อาการนาม “การ” และ “ความ” นําหน้าคํากริ ยาหรื อวิเศษณ์
เช่น
“การ” ใช้นํา หน้า คํากริ ย าที่ เห็ นได้ทางกายและวาจา เช่ น การกิ น
การอยู่ การฟัง การอ่าน การเขียน ฯลฯ
“ความ” ใช้นาหน้าคํากริ ยาที่เป็ นนามธรรมหรื อจิตใจ เช่น ความเสื่ อม
ํ
ความเจริ ญ ความทุกข์ ความดี ความรู้ ฯลฯ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๘๘
 การใช้ คาบุพบท คือ คําที่ใช้นาหน้าคํานาม สรรพนาม กริ ยา หรื อวิเศษณ์
ํ
เพื่ อบอกตํา แหน่ ง ของคํา และแสดงความสั ม พัน ธ์ ระหว่า งคํา ซึ่ ง ตามระเบี ย บทาง
ไวยากรณ์ จ ะต้อ งใช้ ต ามกฎเกณฑ์ ที่ ไ ด้ก ํา หนดไว้ แต่ ใ นทางปฏิ บ ัติ ค นไทยไม่ สู้
จะเคร่ งครัดการใช้คาบุพบทเท่าใดนัก ถ้าข้อความใดสามารถตัดทิ้งได้ ก็มกจะตัดทิ้ง
ํ
ั
โดยถือว่าละไว้ในฐานที่เข้าใจ

ยกตัวอย่างให้หนูฟังหน่อยนะคะ

ได้เลยคะ
ตัวอย่าง เช่ น
ข้อความ
พ่อให้เงินลูก
่ ้
แม่อยูบาน
เขาไปแจ้งความเจ้าหน้าที่ฯ
น้องนอนเปล
หนังสื อใครนะ
ฉันสบตาเขา

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

ละบุพบท
แก่
ที่
ต่อ
ใน
ของ
กับ

หน้ า ๘๙
๗) ใช้ คาให้ เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล คือทราบว่าเมื่อใดควรจะใช้
ถ้อยคําภาษาอย่างไรจึงจะเหมาะสม เช่ น ในการประชุ ม รายงานทางวิชาการ ปาฐกถา
โต้วาที สนทนากับบุ คคลต่างๆ ฯลฯ ควรใช้ถอยคําสํานวนอย่างไร จึ งจะเหมาะสมกับ
้
กาลเทศะและบุ คคลนั้น ๆ ทั้งนี้ เพราะว่าภาษาไทยเรามี ระดับ มี ศกดิ์ ของคํา มี ระเบี ยบ
ั
ํ
แบบแผนที่กาหนดไว้แน่นอนแล้ว

มีอะไรบ้ างหรือครับ
ครู
ผมทราบครับ ขอผมอธิบายเองนะครับ

เชิญเลยคะ

๗.๑) การใช้ ภาษากับผู้สนิทสนมคุ้นเคยกัน อาจจะใช้
ภาษาปาก ภาษาถิ่ น ภาษาหนังสื อพิมพ์ ภาษาสแลง คําตํ่า คําตลาด
ฯลฯ ได้ เช่ น ไม่สน อย่าให้เซด ไม่เอาอ่าว ไม่มีน้ ายา เต๊ะจุ๊ย เบิ้ล
ํ
ไม่แคร์ สองโล (กิโลกรัม) ฯลฯ

มานั่งสมาธิกนก่อน ให้ ใจเย็น
ั
ๆ ดีไหม ตั้งใจกันหน่ อยนะ

ครับ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๙๐
๗.๒) การใช้ ภาษากั บ ผู้ อ าวุ โ สกว่ าหรื อ ไม่ สนิ ท สนมคุ้ นเคย จะต้ อ ง
ระมัดระวังมากกว่าผูอาวุโสน้อยกว่า หรื อสนิ ทสนม เพราะวัฒนธรรมไทยเราเคารพผู ้
้
อาวุโสกว่า จะเห็นได้จากเวลาพูดกับผูใหญ่มกจะต้องติดคําลงท้ายหรื อคําช่วยพูดที่สุภาพ
้
ั
เช่น คะ ขา ครับ ค่ะ เป็ นต้น
๗.๓) การใช้ คาสรรพนามให้ เหมาะสมกับบุ คคล หมายถึ ง ผูพูด ผูที่เราพูด
้ ้
ด้วยและผูที่เราพูดถึง การใช้คา
้
ํ
(๑) สรรพนามบุ รุษ ที่ ๑ ควรรู ้ ว่า เมื่ อใดจะใช้ข ้า พเจ้า กระผม ผม
ดิฉน ฉัน หนู หรื อใช้ชื่อตัวเองเป็ นสรรพนาม เป็ นต้น
ั
(๒)สรรพนามบุรุษที่ ๒ เช่น ท่าน เธอ คุณ แก ฯลฯ
(๓)สรรพนามบุรุษที่ ๓ เช่ น ท่าน เขา มัน แก ฯลฯ ซึ่ งถ้าหากมีใคร
พูดกับแม่คาขายส้มว่า “ขอประทานโทษนะคะ แม่คาขาคุ ณ
้
้
ขายส้มกิโลกรัมละเท่าใดคะ” อย่างนี้นบว่าใช้ภาษาไม่เหมาะสม
ั
กับบุคคล
๗.๔) การใช้ คากริ ยาต้ อ งให้ เหมาะสมกับบุ คคล เช่ น กิ น ใช้เป็ นภาษาพูด
ั
ทัวไปได้แต่ถาเป็ นภาษาเขียน หรื อคําสุ ภาพต้องใช้ รับประทาน ถ้าใช้กบพระสงฆ์ตองใช้
้
้
่
ั
“ฉัน” ถ้าใช้กบพระเจ้าแผ่นดิน หรื อกับพระบรมวงศานุวงศ์ ต้องใช้ เสวย เป็ นต้น

ยกตัวอย่างให้ฟังได้ไหมครับท่าน
ได้เลยครับ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๙๑
่
ตัวอย่างเช่ น ถ้าจะพูดว่า “ไปเที่ยวที่ไหนมา” ผูพดและผูฟังอาจจะอยูในฐานะต่าง ๆ
้ ู
้
ั
ที่สัมพันธ์กน ดังต่อไปนี้
แม่พดกับลูกชาย
ู
- ไปเที่ยวที่ไหนมาล่ะลูก กลับเอาป่ านนี้
นายพูดกับเด็กรับใช้ - ไปไถลที่ไหนมายะ นังจ้อย
ครู พดกับนักเรี ยน
ู
- เธอไปเที่ยวที่ไหนมา บอกครู เสี ยดี ๆ
เพื่อนพูดกับเพื่อน
- เฮ้ย แกไปตะลอนที่ไหนมวะ สนุกไหมวะ

จะรี บไปไหน พักเดี๋ยวหนึ่งนะครับ
ยังไม่จบนะครับ

การใช้ คาราชาศัพท์ บุคคลที่ได้รับการศึกษามาเป็ นอย่างดี สมควรที่จะศึกษาหา
ความรู้เรื่ อง “ราชาศัพท์” เอาไว้ เมื่อเวลาจําเป็ นต้องใช้จะได้ไม่ผิดพลาด ปั ญหาการใช้
ราชาศัพ ท์ ผิ ด พลาดนั้ น จะพบเห็ น อยู่ เ ป็ นประจํา ทุ ก วัน ทั้ง ทางโทรทัศ น์ วิ ท ยุ แ ละ
หนังสื อพิมพ์ คือ คํากริ ยาที่เป็ นราชาศัพท์อยู่แล้ว เช่ น โปรด เสวย ตรัส ประชวร เสด็จ
ผนวช ฯลฯ มักใช้ผด เติม “ทรง” เข้าข้างหน้า เช่น
ิ
(๑) รับเสด็จ เฝ้ ารับเสด็จ มักใช้ผดเป็ น ถวายการต้อนรับ
ิ
(๒) จงรักภักดี
มักใช้ผดเป็ น ถวายความจงรักภักดี
ิ
(๓) กราบบังคมทูล
มักใช้ผดเป็ น กราบถวายบังคมทูล
ิ
(๔) หน้าที่นง
ั่
มักใช้ผดเป็ น หน้าพระที่นง
ิ
ั่

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๙๒
ใช้ ค าให้ เหมาะสมกับบริ บท (คาแวดล้ อม = context) คือ รู้ จกเลื อกใช้ค าที่ มี
ั
ํ
ความหมายสอดคล้องกับข้อความที่กล่าวถึง ผูมีศิลปะย่อมไม่ใช้คาผิดบริ บท หรื อไม่เข้ากับ
้
ํ
คําข้างเคียง (คําแวดล้อม) เช่น
่
(๑) คุณแสงเดือน อยู่ในชุ ดราตรี “อยูในชุด” ไม่ได้หมายถึงการแต่งตัว
(๒) คุ ณเพี ย งพิ ศ ศิ ริ วิไ ล จะมาในเพลง “คนหน้า ซื่ อ ” “มาใน” ไม่ ไ ด้
หมายถึง “ร้องเพลง”
(๓) ผมขอรบกวนปากกาของคุ ณ “รบกวน” จะใช้ ก ับ สิ่ ง ของที่ เ ป็ น
นามธรรมเท่านั้น
(๔) ฉันจะเลี้ยงฉลองให้สาสมกับความดีใจ “สาสม” ใช้ในความหมายที่ไม่
ดี เช่น ความแค้น ความเสี ยใจ

นอกจากนี้ ยงมี คาในภาษาไทยอีกมากมาย ที่จะต้อง
ั ํ
ั
ใช้ให้ถูกคําบริ บท หรื อคําข้างเคียง เช่น คํา “ใส่ ” ต้องใช้กบคํา
แรกส่ วนที่เป็ นนามธรรมเท่านั้น เช่ น ใส่ ความ ใส่ ใจ ใส่ จริ ต
ใส่ ร้าย ฯลฯ ถ้าเป็ นรู ปธรรม ต้องใส่ คาอื่นแทน เช่น ใส่ บาตร
ํ
เป็ น ตักบาตร ใส่ กางเกงเป็ นสวมกางเกง ฯลฯ

สนุกกันไหมจ๊ ะเด็กๆ

พวกเราเข้าใจกันทุกคนแล้วคะ

จบบทที่ ๓ แล้วครับ
อย่าลืมทํางานส่ งครู
นะครับเด็ก ๆ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๙๓
เรามาทํากิจกรรมเสนอแนะ
ท้ายบทที่ ๓ กันนะครับ

กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๓

ให้ ผ้ ูเรี ยนแบ่ งกลุ่มปฏิบัติกจกรรมต่ อไปนี้
ิ
๑. อภิปรายเกี่ ยวกับปั ญหาการใช้ภาษาไทยและข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา สรุ ปผล
การอภิปรายเป็ นลายลักษณ์อกษรและส่ งตัวแทนออกมาเสนอผลงาน
ั
๒. อภิ ป รายถึ ง ประโยชน์และโทษของการใช้เทคโนโลยีค อมพิ วเตอร์ ใ นด้า นต่ า ง ๆ
สรุ ปผลแล้วนํามาเขียนเป็ นแผนภาพความคิด
๓. ค้นคว้าหาความรู้ในจากอินเทอร์เน็ตเรื่ องการใช้ภาษาแล้วนําผลงานมาติดแสดงที่ป้าย
นิเทศ
๔. ใช้ตวเลขไทยในทุกโอกาสที่สามารถทําได้
ั

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๙๔
ตัวอย่างปัญหาเกียวกับทักษะการอ่าน
่
การอ่านหนังสื อไม่คล่อง อ่านออกเสี ยงตะกุกตะกัก อ่านหนังสื อไม่ค่อยรู ้เรื่ องและจับ
ใจความไม่ได้
สาเหตุ
ผลเสี ย
๑. อ่านหนังสื อน้อย
๑. เรี ยนหนังสื อไม่รู้เรื่ อง
๒. ไม่ชอบอ่านหนังสื อ
๒. ผลการเรี ยนไม่ดี
ปฏิบติ
ั
ประจํา

แนวปฏิบติในการแก้ปัญหาการอ่าน
ั

ปฏิบติ
ั
บางครั้ง

ไม่ได้
ปฏิบติ
ั

หมาย
เหตุ

๑. ข้าพเจ้าจะอ่านหนังสื ออย่างน้อยวันละครึ่ งชัวโมง
่
๒. ข้าพเจ้าจะฝึ กอ่านออกเสี ยงอย่างน้อยวันละครึ่ ง
หน้ากระดาษ
๓. ข้าพเจ้าจะเปิ ดพจนานุกรมเพื่อดูความหมายและ
วิธีการใช้คาทุกคําที่ยงไม่แน่ใจ
ํ
ั
๔. ข้าพเจ้าจะอ่านทบทวนอย่างพินิจพิเคราะห์เมื่อยังไม่
เข้าใจ
๕. ข้าพเจ้าจะฝึ กจับใจความเรื่ องที่อ่านและบันทึก
ไว้ในสมุด
ข้อคิดเห็นของครู …………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
ผูประเมิน…………………………………………….
้
(……………………………………………)

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๙๕
อย่าลืมทําแบบฝึ กหัดท้ายบทที่
๓ ด้วยนะครับ

แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๓
ตอนที่ ๑ จงตอบคําถามต่อไปนี้
๑. ปั ญหาการใช้ภาษาด้านการฟัง พูด อ่านและเขียน มีอะไรบ้างและมีวธีแก้ไขอย่างไร
ิ
…………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………
๒. การใช้ภาษาในการสื่ อสารและสร้างสรรค์งานเชิงวิชาการให้มีประสิ ทธิ ผล มีหลักอย่างไรบ้าง
ระบุมา ๓ ข้อ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
๓. เราสามารถใช้เทคโนโลยีพฒนาตนเองได้อย่างไรบ้าง จงอธิ บาย
ั
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๙๖
แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๓
คำชีแจง
้
๑. ข้ อสอบชุดนี ้มี จานวน ๑๐ ข้ อ ข้ อละ ๑ คะแนน รวมเป็ น ๑๐ คะแนน
๒. ให้ เลือกคาตอบที่ถกที่สดเพียงคาตอบเดียวแล้ วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ
ู ุ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------๑. ควรลําดับความสารต่อไปนี้อย่างไรจึงจะเหมาะสมที่สุด ๑) ที่จอดรถ ๒ คัน ๒) ขนาด ๓
ห้องนอน ๒ ห้องนํ้า ๓) ขอแนะนําบ้านแบบใหม่ “มาลีพรรณ” ๔) บนที่ดิน ๕o ตารางวา
ราคาพิเศษ ๓.o ล้านบาท
ก. ๑, ๒, ๓, ๔
ข. ๔, ๓, ๒, ๑
ค. ๒, ๓, ๑, ๔
ง. ๓, ๔, ๒, ๑
๒. ข้อใดออกเสี ยงคําถูกต้อง
ก. ภูมิลาเนา อ่านว่า พูม-มิ-ลํา-เนา
ํ
ข. อุณหภูมิ อ่านว่า อุน-หะ-พูม
ค. อุบติเหตุ อ่านว่า อุ-บัด-เหด
ั
ง. อุปโลกน์ อ่านว่า อุบ-ปะ-โลก
๓. “บริ ษท ฯ เป็ นตัวแทนจําหน่ายและนําเข้าสารเคมีจากต่างประเทศ ต้องการรับสมัครพนักงานขาย
ั
สารเคมี ผูสมัครต้องเป็ นเพศชายอายุ 20 ปี ขึ้นไป วุฒิปริ ญญาตรี ไม่จาเป็ นต้องมีประสบการณ์มี
้
ํ
พาหนะเป็ นของตัวเอง ผูที่สนใจรี บสมัครด่วน” ประกาศดังกล่าวนี้บกพร่ องอย่างไร
้
ก. ใช้ภาษาไม่ไพเราะ
ข. ลําดับความสับสน
ค. ใช้คาศัพท์ยาก
ํ
ง. ขาดรายละเอียดที่จาเป็ น
ํ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๙๗
๔. คาฟุ่ มเฟื อย หมายถึงคําประแบบใด
ก. การใช้คาอย่างประหยัด
ํ
ข. การใช้คาให้ในภาษาท้องถิ่น
ํ
ค. การใช้คาแบบสํานวนโวหารเปรี ยบเทียบ
ํ
ง. การใช้คามากแต่มีความหมายเท่าเดิมไม่ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างใด
ํ
๕. ข้อใดเขียนถูกต้อง
ก. ราดหน้า
ผัดกะเพราไก่
ข. สัมมนา
มังสวิรัต
ค. กาลเทศะ
ต่าง ๆ นานา
ง. พรรณนา
กลยุทธ
๖. ข้อใดใช้ภาษาไม่ เหมาะสม
ก. รัฐเปิ ดธนาคารคนจน
ข. โครงการจัดหาวัวควายเพื่อเกษตรกร
ค. ทุกคนกินข้าวกันตามสบาย
ง. วัยรุ่ นเคี้ยวอาหารเร็ วมาก
๗. ข้อใดใช้ภาษาถูกต้องที่สุด
ก. พระภิกษุในวัดนี้ทุกรู ป ฉันภัตตาหารมือเดียว
ข. พ่อแม่ไม่มีเวลาอบรมบุตร
ค. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ เสด็จตามกําหนดการ
ง. คนยากจนที่ขดสนเงินทองย่อมทํางานหนัก
ั
๘. ข้อใดใช้คาชัดเจน ไม่มีความหมายกํากวม
ํ
ก. เขาทําลายไทย
ข. เขาชอบกินข้าวเย็น
ค. เด็กเดินเหยียบแก้วแตก
ง. น้องของเขาเป็ นครู โรงเรี ยนอนุบาล

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๙๘
๙. การใช้ถอยคําที่จะทําให้ผรับสารเข้าใจความคิดของผูส่งสารได้ถูกต้อง ควรมีลกษณะอย่างไร
้
ู้
้
ั
่
ก. ใช้คาตรงความหมาย เรี ยบเรี ยงถ้อยคําให้อยูในตําแหน่งที่ถูกต้อง
ํ
ข. ใช้คาที่มีความไพเราะสละสลวย
ํ
ค. ไม่ใช้คาศัพท์วชาการมากเกินไป
ํ
ิ
ง. ใช้คาเหมาะสมกับระดับบุคคล
ํ
่
๑o. การที่ผเู ้ ขียนใช้คาได้ตรงความหมายและเรี ยงคําให้อยูในตําแหน่งที่ถูกต้องมีผลดีอย่างไร
ํ
ก. ทําให้เกิดภาพพจน์ชดเจน
ั
ข. ทําให้ผรับสารเข้าใจความคิดของผูส่งสารได้ถูกต้อง
ู้
้
ค. ทําให้เกิดความรู ้สึกคล้อยตามหรื อสะเทือนอารมณ์
ง. ทําให้ภาษาสละสลวย ไพเราะ

เย้ ..ทาเสร็จแล้ ว
เราไปตรวจจากเฉลยกันดีกว่านะ
ค่ะ

ระหว่างทําแบบทดสอบห้ามแอบดู
เฉลยกันนะค่ะ เราต้องมีคุณธรรม

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๙๙
เฉลยกิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๓

สําหรับเฉลยในส่ วนของกิจกรรมเสนอแนะท้ายบทที่ ๓
คาตอบ (ให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ ูสอน)

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๐๐
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๓
๑. ปั ญหาการใช้ภาษาด้านการฟัง พูด อ่านและเขียน มีอะไรบ้างและมีวธีแก้ไขอย่างไร
ิ
ตอบ พิจารณาจากปัญหาของผูเ้ รี ยน
๒. การใช้ภาษาในการสื่ อสารและสร้างสรรค์งานเชิงวิชาการให้มีประสิ ทธิ ผล มีหลักอย่างไรบ้าง
ระบุมา ๓ ข้อ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ ๑) ใช้คาให้ตรงกับความหมาย เนื่ องจากภาษามีคาไวพจน์ ที่มีรูปเสี ยง และความหมาย
ํ
ํ
คล้ายกันอยูเ่ ป็ นจํานวนมาก ถ้าหากไม่รู้จกพิจารณาเลือกคํามาใช้ อาจทําให้ความหมายของคําผิดไป
ั
จากความต้องการได้
ั ้
๒) ใช้คาภาษาสุ ภาพ ภาษาสุ ภาพ หมายถึง คําที่ใช้กบผูที่เคารพนับถือ เพราะวัฒนธรรม
ํ
ไทยเราเคารพผูอาวุโสกว่า
้
๓) ใช้คาที่คนทัวไปเข้าใจและสังคมยอมรับ ว่าถูกต้องตามระเบียบแบบแผน ซึ่ งมีขอ
ํ
้
่
ควรพิจารณาดังต่อไปนี้
 ไม่ใช้คาตํ่าหรื อคําหยาบ
ํ
 ไม่ใช้คาตลาด
ํ
 ไม่ใช้คาแสลง
ํ
 ไม่ใช้คาพ้นสมัย
ํ
 ไม่ใช้คาเฉพาะหรื อคําวิทยาการ
ํ
 ไม่ใช้คาภาษาถิ่น
ํ
 ไม่ใช้คาภาษาต่างประเทศ
ํ
 ไม่ใช้คาหนังสื อพิมพ์
ํ
 ไม่ใช้คาย่อหรื ออักษรย่อ
ํ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๐๑
๓. เราสามารถใช้เทคโนโลยีพฒนาตนเองได้อย่างไรบ้าง จงอธิ บาย
ั
ตอบ ๑) ใช้เป็ นแหล่งความรู ้ เนื่ องจากความรู ้ในแขนงวิชาต่างๆ จะถูกถ่ายทอดเก็บไว้ในรู ป
อิเล็กทรอนิกส์ซ่ ึ งจะเข้าถึงได้ดวยเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกันได้ทวโลก ได้แก่ อินเทอร์ เน็ต
้
ั่
(Internet) หรื อสื บค้น จากฐานข้อมูลอื่น ๆ
๒) ใช้ในการสื่ อสารและเรี ยนรู้
๓) ใช้เป็ นแหล่งบันทึกข้อมูล
๔) ใช้เป็ นเครื่ องมือผลิตผลงาน
๕) ใช้ผลิตแผ่นงาน เอกสาร

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๐๒
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนบทที่ ๓
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

ข้ อ

เฉลย

ข้ อ

เฉลย

ข้ อ

เฉลย

ข้ อ

เฉลย

๑.

ง.

๖.

ค.

๑.

ง.

๖.

ค.

๒.

ค.

๗.

ค.

๒.

ค.

๗.

ค.

๓.

ง.

๘.

ค.

๓.

ง.

๘.

ค.

๔.

ง.

๙.

ก.

๔.

ง.

๙.

ก.

๕.

ค.

๑๐.

ข.

๕.

ค.

๑๐.

ข.

ตรวจกับเฉลยเสร็ จแล้ว
ถูกกี่ขอเอ่ย
้

เกณฑ์ การตัดสิ น
ระดับ 0 – 4 คะแนน

ระดับคุณภาพ
ต้องปรับปรุ ง

ระดับ 5 – 6 คะแนน

พอใช้

ระดับ 7 – 8 คะแนน

ดี

ระดับ 9 – 10 คะแนน

ดีมาก

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

สรุ ปผลการประเมิน
่
q ผ่าน
q ไม่ผาน
คะแนนทีได้
่

ระดับคุณภาพ

………

……….

หน้ า ๑๐๓

More Related Content

What's hot

ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51Kanchana Daoart
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)Nok Yaowaluck
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าNok Yaowaluck
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนคู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553Kun Cool Look Natt
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 

What's hot (17)

ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊า
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนคู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
Radio Script Concept
Radio Script ConceptRadio Script Concept
Radio Script Concept
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 

Viewers also liked

Connect more with the future part 1 - Andy McGregor
Connect more with the future part 1 - Andy McGregorConnect more with the future part 1 - Andy McGregor
Connect more with the future part 1 - Andy McGregorJisc
 
Proceso de desición de compra
Proceso de desición de compraProceso de desición de compra
Proceso de desición de compraSamuel Diaz Roldan
 
2014.02.20 Монгол орны нүүрсний салбар дахь байгаль орчны асуудал, Д.Энхбат
2014.02.20 Монгол орны нүүрсний салбар дахь байгаль орчны асуудал, Д.Энхбат2014.02.20 Монгол орны нүүрсний салбар дахь байгаль орчны асуудал, Д.Энхбат
2014.02.20 Монгол орны нүүрсний салбар дахь байгаль орчны асуудал, Д.ЭнхбатThe Business Council of Mongolia
 
Los seres humanos y la energía
Los seres humanos y la energíaLos seres humanos y la energía
Los seres humanos y la energíavifayoni
 
Jornal da FETAEP - edição 141 - Setembro de 2016.
Jornal da FETAEP - edição 141 - Setembro de 2016.Jornal da FETAEP - edição 141 - Setembro de 2016.
Jornal da FETAEP - edição 141 - Setembro de 2016.FETAEP
 
"Transparência em Niterói: a hora é agora!"
"Transparência em Niterói: a hora é agora!""Transparência em Niterói: a hora é agora!"
"Transparência em Niterói: a hora é agora!"Amarribo
 
2 q lesson 9 hari tuhan (zefanya)
2 q lesson 9   hari tuhan (zefanya)2 q lesson 9   hari tuhan (zefanya)
2 q lesson 9 hari tuhan (zefanya)David Syahputra
 
Desempenho do mercado de trabalho da regiao metropolitana de Porto Alegre em ...
Desempenho do mercado de trabalho da regiao metropolitana de Porto Alegre em ...Desempenho do mercado de trabalho da regiao metropolitana de Porto Alegre em ...
Desempenho do mercado de trabalho da regiao metropolitana de Porto Alegre em ...Fundação de Economia e Estatística
 
Internet trends report 2016 infographic
Internet trends report 2016 infographicInternet trends report 2016 infographic
Internet trends report 2016 infographicrachelmorganlss
 
Audi Company Marketing Strategy
Audi Company Marketing StrategyAudi Company Marketing Strategy
Audi Company Marketing StrategyPATRICK MAELO
 

Viewers also liked (16)

Connect more with the future part 1 - Andy McGregor
Connect more with the future part 1 - Andy McGregorConnect more with the future part 1 - Andy McGregor
Connect more with the future part 1 - Andy McGregor
 
Proceso de desición de compra
Proceso de desición de compraProceso de desición de compra
Proceso de desición de compra
 
razak cv
razak cvrazak cv
razak cv
 
2014.02.20 Монгол орны нүүрсний салбар дахь байгаль орчны асуудал, Д.Энхбат
2014.02.20 Монгол орны нүүрсний салбар дахь байгаль орчны асуудал, Д.Энхбат2014.02.20 Монгол орны нүүрсний салбар дахь байгаль орчны асуудал, Д.Энхбат
2014.02.20 Монгол орны нүүрсний салбар дахь байгаль орчны асуудал, Д.Энхбат
 
Los seres humanos y la energía
Los seres humanos y la energíaLos seres humanos y la energía
Los seres humanos y la energía
 
Organigramas
OrganigramasOrganigramas
Organigramas
 
Jornal da FETAEP - edição 141 - Setembro de 2016.
Jornal da FETAEP - edição 141 - Setembro de 2016.Jornal da FETAEP - edição 141 - Setembro de 2016.
Jornal da FETAEP - edição 141 - Setembro de 2016.
 
Mi portfolio
Mi portfolioMi portfolio
Mi portfolio
 
"Transparência em Niterói: a hora é agora!"
"Transparência em Niterói: a hora é agora!""Transparência em Niterói: a hora é agora!"
"Transparência em Niterói: a hora é agora!"
 
2 q lesson 9 hari tuhan (zefanya)
2 q lesson 9   hari tuhan (zefanya)2 q lesson 9   hari tuhan (zefanya)
2 q lesson 9 hari tuhan (zefanya)
 
Panduan beasiswa afirmasi(1)
Panduan beasiswa afirmasi(1)Panduan beasiswa afirmasi(1)
Panduan beasiswa afirmasi(1)
 
ыгибуу
ыгибууыгибуу
ыгибуу
 
Desempenho do mercado de trabalho da regiao metropolitana de Porto Alegre em ...
Desempenho do mercado de trabalho da regiao metropolitana de Porto Alegre em ...Desempenho do mercado de trabalho da regiao metropolitana de Porto Alegre em ...
Desempenho do mercado de trabalho da regiao metropolitana de Porto Alegre em ...
 
Internet trends report 2016 infographic
Internet trends report 2016 infographicInternet trends report 2016 infographic
Internet trends report 2016 infographic
 
EMR ch15
EMR ch15EMR ch15
EMR ch15
 
Audi Company Marketing Strategy
Audi Company Marketing StrategyAudi Company Marketing Strategy
Audi Company Marketing Strategy
 

Similar to 3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)

เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichailittle-pig
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1chartphysic
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้องPiyarerk Bunkoson
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยkrunakhonch
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 

Similar to 3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103) (20)

Languageusage for radio writing
Languageusage for radio writingLanguageusage for radio writing
Languageusage for radio writing
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Projectm6 2-2556 (2)
Projectm6 2-2556 (2)Projectm6 2-2556 (2)
Projectm6 2-2556 (2)
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichai
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษาใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
 
000
000000
000
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

More from อัมพร ศรีพิทักษ์

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียนอัมพร ศรีพิทักษ์
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

More from อัมพร ศรีพิทักษ์ (9)

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
 
ก่อนเรียน
ก่อนเรียนก่อนเรียน
ก่อนเรียน
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 

3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)

  • 1. บทที่ ๓ การใช้ ภาษาไทยในการติดต่ อสื่ อสารอย่ างมีศิลปะ วันนี้เรามาเรี ยนการใช้ภาษาไทย ในการติดต่อสื่ อสารกันนะคะ ผมอยากเรี ยนมากเลยครับครู ๑. การใช้ ภาษาในการสื่อสารอย่ างสร้ างสรรค์ การใช้ภาษาในการสื่ อสารและสร้ างสรรค์น้ น เราจะต้องรู ้ จกการเลื อกถ้อยคํา ั ั นํามาใช้ให้ถูกระเบียบแบบแผนของภาษา เพื่อประโยชน์ของตนเองและเป็ นการรักษา ่ มรดกของชาติให้ดารงอยูสืบไป ํ เราจะใช้ภาษาอย่างไร ให้สร้างสรรค์ครับคุณครู
  • 2. ดังพระบรมราโชวาท ่ ั ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว รัชกาลที่ ๙ ซึ่ งขออัญเชิ ญมาดังนี้ “เมื่อมาคํานึงถึงวิธีจะนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ จะต้องอาศัย สิ่ งใดบ้างแล้ว ก็เห็นว่าสิ่ งสําคัญที่สุดอย่างหนึ่ง คือภาษา การได้มาซึ่งวิชาความรู้ตองอาศัยภาษา การ ้ นําความรู ้ ไปใช้ก็ย่อมต้องอาศัยภาษาอีกในปั จจุบนนี้ ปรากฏว่า ได้มีการใช้ถอยคํา ั ้ ออกมาใช้อย่างฟุ่ มเฟื อยและไม่ตรงความหมายอันแท้จริ งอยูเ่ นื อง ๆ ทั้งการออกเสี ยง ก็ไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ถ้าปล่ อยให้เป็ นไปดังนี้ ภาษาของเราก็มีแต่จะทรุ ดโทรม ชาติ ไทยเรามี ภาษาของเราใช้เองเป็ นสิ่ งอันประเสริ ฐอยู่แล้ว เป็ นมรดกอันมี ค่าตก ทอดมาถึ งเรา ทุ กคนจึ ง มี หน้าที่ จะต้องรั กษาไว้ ฉะนั้น จึ งขอได้ช่วยกันรั กษาและ ส่ งเสริ มภาษาซึ่ งเป็ นอุปกรณ์และหลักประกันเพื่อความเจริ ญวัฒนาของประเทศชาติ” เป็ นไงบ้ างเด็ก ๆ ขยันเรี ยนต่อไปนะคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๗๕
  • 3. ๒. ศิลปะการใช้ ภาษา ไม่ เหมือนกัน ศิลปะการใช้ภาษาเหมือนกับผม วาดรู ปศิลปะไหมคะคุณครู ครู จะอธิบายให้ ฟัง การใช้ ภ าษาเป็ นศิ ล ปะชั้ น สู ง อย่ า งหนึ่ ง ผู้ใ ช้ต้อ งรู้ จ ัก เลื อ กใช้ถ้อ ยคํา ให้ เหมาะสมกับ กาลเทศะฐานะของบุ ค คลและรู ป แบบของการสื่ อ สาร ซึ่ งมี ห ลัก การ พิจารณาดังนี้ ๑) ใช้ ค าให้ ต รงกับความหมาย เนื่ องจากภาษามี ค าไวพจน์ ที่มี รูปเสี ย ง และ ํ ความหมายคล้ายกันอยูเ่ ป็ นจํานวนมาก ถ้าหากไม่รู้จกพิจารณาเลือกคํามาใช้ อาจทําให้ ั ความหมายของคําผิดไปจากความต้องการได้ คื อ ผูใช้ตองการบอกความหมายอย่าง ้ ้ หนึ่ง แต่ใช้คาไม่ตรงกับความหมายที่ตองการใช้ความหมายก็จะกลายไปเป็ น อีกอย่าง ํ ้ หนึ่งได้ ยกตัวอย่าง เช่ น คาว่าอะไรบ้ างคะครู เช่ น คาว่า ขัดขวาง กับ ขัดขืน “ผูร้า ย ขัด ขวาง การจับกุ ม ของเจ้า หน้า ที่ ตารวจ” มี ้ ํ ความหมายว่า เจ้า หน้า ที่ ต า รวจจะจับ บุ ค คลหนึ่ ง แต่ ถู ก ผูร้ า ย ํ ้ ขัดขวางเอาไว้ทาให้เจ้าหน้าที่ตารวจจับกุมบุคคลนั้นไม่สะดวก ํ ํ “ผู้ร้ า ย ขั ด ขื น การจับ กุ ม ของเจ้ า หน้ า ที่ ต ํา รวจ ” มี ความหมายว่า เจ้าหน้าที่ตารวจจะจับผูร้ายแต่ผูร้ายไม่ยอมให้จบ ํ ้ ้ ั เป็ นต้น โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๗๖
  • 4. นอกจากนี้ ยัง มี ค ํา ที่ อ อกเสี ยงใกล้ เ คี ย งกั น แต่ มี ความหมายต่ า งกัน ถ้า หากไม่ พิ จ ารณาเลื อ กใช้ใ ห้ ต รงกับ ที่ ต้องการแล้ว อาจจะทําให้ความหมายผิดไปได้ เช่ น เลขานุ การเลขาธิ การ, ชักชวน-ชักจูง อธิ บาย-อภิปราย, ผัด-ผลัด, ฟังรับฟัง ฯลฯ ั ๒) ใช้ คาภาษาสุ ภาพ ภาษาสุ ภาพ หมายถึง คําที่ใช้กบ ผูที่เคารพนับถือ เพราะวัฒนธรรมไทย เราเคารพผูอาวุโสกว่า ้ ้ ั ภาษาที่ใช้กบบุคคลที่เคารพนับถือก็ตองเลือกใช้คาที่แสดงการ ้ ํ เคารพนั บ ถื อ ด้ ว ย เช่ น การใช้ ค ํา นาม สรรพนาม กริ ยา ลักษณะนามเป็ นต้น เป็ นเด็กดีต้องพูดจา สุ ภาพ ใช่ ไหมคะ ใช่แล้วคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๗๗
  • 5. ๓. หลักการใช้ คาภาษาสุ ภาพ หลักการใช้ คาภาษาสุ ภาพ  เปลี่ยนถ้อยคําที่ใช้ให้เป็ นกลาง ๆ เพื่อแสดงความสุ ภาพ เช่ น ไม่ ร้ ู - ไม่ ทราบ บอกให้ ร้ ู – เรียนให้ ทราบ  ใช้คาช่วยพูดลงท้ายแสดงความสุ ภาพอ่อนโยน ํ เช่ น คะ ขา ค่ ะ ครับ จ๊ ะ เจ้ าค่ ะ ฯลฯ  หลีกเลี่ยงใช้ภาษาทําให้ผฟังเกิดความไม่สบายใจ ู้ เช่ น ใช้ ภาษาถิ่น ภาษาสแลง ตลอดจนภาษาทีมีความหมายสองแง่ สองมุม เป็ นต้ น ่  ใช้คาสุ ภาพให้ถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ํ เช่น ภาษาพูดว่า ภาษาเขียนว่า โจรปล้น นํ้าท่วม ไฟไหม้ กินข้าว หนัง ไอติม โจรภัย อุทกภัย อัคคีภย ั รับประทานข้าว ภาพยนตร์ ไอศกรี ม ตั้งใจกันศึกษากันนิดหนึ่งนะเพือน ๆ ่ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั เหนื่อยกันรึยงจ๊ ะ ั หน้ า ๗๘
  • 6. ๓) ใช้ คาที่คนทั่วไปเข้ าใจและสั งคมยอมรั บ ว่าถูกต้อง ตามระเบียบแบบแผน ซึ่ งมีขอควรพิจารณาดังต่อไปนี้ ้  ไม่ ใช้ คาต่าหรือคาหยาบ (Vulgarism หรือ Jargon) ไม่ ใช่ คาต่าหรือคาหยาบ เป็ นอย่างไรหรือคะ ไม่ ใช่ คาต่าหรื อคาหยาบ หมายถึ ง ภาษาปากที่คน ระดับ ชาวบ้า นหรื อ ผูข าดการศึ ก ษาใช้พูดจากัน ซึ่ ง ถื อ เป็ นคํา ้ หยาบ ฟังไม่ไพเราะ แสดงรสนิยมตํ่าของผูใช้ ้  เช่น พ่นฝอย ม่องเท่ง เสื อก ดัดจริ ต กบาล ทะเล้น ชุ่ย ฯลฯ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๗๙
  • 7. ไม่ ใ ช้ ค าตลาด (Colloquial) ได้แก่ ภาษาพูดระดับ ปากหรื อบุ ค คลที่ ไ ม่ สนิ ทคุ นเคยกันโดยมีเจตนาจะให้แปลกไปจากภาษาธรรมดา เพื่อความสนุ กสนาน ้ และแสดงความเป็ นกันเอง เช่น หน้าโง่ นํายันป้ าย โง่ศกดาน เชยมหาราช ตบล้าง ั นํ้า มันเข้าไส้ ฯลฯ นอกจากนีแล้วมีอกมากมายเลยนะ ้ ี ลองศึกษาไปเรื่อย ๆ สิ ไม่ ใ ช้ ค าภาษาสแลง (Slang) ภาษาสแลงเป็ นคํา ตํ่า กว่ า ั มาตรฐานที่คนส่ วนมากไม่ยอมรับ เป็ นคําที่ ใช้กนเฉพาะกลุ่ มบุ คคล ในระยะเวลาไม่นานก็จะเลิกใช้ไปเอง ถ้าหากคําสแลงคําใดได้รับการ ยอมรั บจากสังคมก็จะกลายเป็ น “สํานวน” ในภาษาไป ตัวอย่างคํา แสลง   ได้แก่ มัว เบี้ยว พัง เจ๊ง เบ๊ ลุน ไม่สน ้ ่ กิ๊กก๊อก กระจอก เก๋ ากึก ส.บ.ม. บ่มิไก๊ ฯลฯ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๘๐
  • 8.  ไม่ ใ ช้ ค าพ้ น สมั ย (Obsolete word) คํา พ้น สมัย ั ได้แก่ คําที่ เคยใช้ในสมัยก่ อนปั จจุ บ นไม่นิยมใช้กนแล้ว เช่ น ั บางที บ่ ดังนี้แล ดังฤา แล ฯลฯ ไม่ ใช้ คาเฉพาะหรื อค าวิทยาการ (Technical term) คําเฉพาะหรื อคําวิทยาการเป็ นคําที่ใช้เฉพาะสาขาวิชาแขนงใดแขนง หนึ่ง เช่น ภาษาการเมือง ภาษาแพทย์ ภาษาช่าง ภาษากฎหมาย และ ภาษาการศึกษา เป็ นต้น ต้องใจเย็น ๆ นะคะ อย่าใจร้อน ค่อย ๆ ศึกษากัน ไม่ ใ ช้ ค าภาษาถิ่ น (Dialect) ได้ แ ก่ คํา ที่ ใ ช้ เ ฉพาะ ท้องถิ่ นใดท้องถิ่ นหนึ่ ง คนทัวไปไม่เข้าใจจึงไม่สมควรใช้ เช่ น ่ ยาร่ วง (มะม่ ว งหิ มพานต์ ) นํ้ าชุ บ (นํ้ าพริ ก) ผ้ า ซั ก อาบ ่ (ผ้าขาวม้า) ยามู (ชมพู) มะหุ่ง (มะละกอ) ดีปลี (พริ ก) คุม (วัง) ้ ลูกยุง (ลูกนํ้า) ฯลฯ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๘๑
  • 9. ไม่ ใช้ คาต่ างประเทศ (Foreign word) คําภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิ พล ต่ อ ภาษาไทยปั จจุ บ ัน นี้ ได้แ ก่ ภาษาอัง กฤษ ซึ่ งเรายื ม คํา มาใช้เ ป็ นจํา นวนมาก วิธีการยืมมาใช้มีหลายอย่าง เช่น การทับศัพท์ การบัญญัติศพท์ เป็ นต้น คําเหล่านี้ ถา ั ้ ั สังคมยอมรับและใช้กนแพร่ หลายก็ถือว่าเป็ นคําภาษาไทยได้ เช่น ก๊าซ กอล์ฟ ปั๊ ม เทอม ฟรี เทนนิส ฟุตบอล งานบอลล์ ชอปปิ้ ง ฯลฯ ไม่ ใช้ คาหนังสื อพิมพ์ (Journales) เพราะภาษาที่ใช้ ในหนัง สื อพิ ม พ์น้ ันต้องการความรวดเร็ ว ความเร้ า ใจ สะดุ ดตา สะกิ ดใจ จากผูอ่า น หรื อหน้า กระดาษบัง คับ จึ ง ต้องใช้ค า อย่า ง ้ ํ ประหยัดไม่ได้คานึ งถึ งความถู กต้องของภาษาเท่าใดนัก เช่ น เจ้า ํ บุญทุ่ม สิ งห์อมควัน นักยัดห่วง ศึกลูกหนัง ดาวโป๊ ฟาดแข้ง นักซิ่ ง สิ งห์รถบรรทุก ฯลฯ  ไม่ ใช้ คาย่ อหรื ออักษรย่ อ ซึ่ งปั จจุ บนเป็ นที่ นิยมกันอย่าง ั กว้างขวาง แม้แต่ในวงราชการก็เช่นเดียวกัน คําย่อหรื ออักษรย่อนี้ ถา ้ กํา หนดเป็ นทางราชการหรื อใช้ก ันมาจนเป็ นที่ รู้จกแพร่ หลายของ ั ประชาชนแล้วก็อาจจะใช้ได้ แต่ส่วนมากคําย่อหรื ออักษรย่อมิได้เป็ น ที่แพร่ หลายคงใช้เฉพาะในหมู่ของตนเองเท่านั้น เช่น ป.ช.ป (พรรคประชาธิปัตย์) ท.ร.ท (พรรคไทยรักไทย) ผ.ก.ค. (ผู้ก่อการร้ ายคอมมิวนิสต์ ) ย.ห. (อย่าห่ วง) รมต. (รัฐมนตรี) ส.บ.ม. (สบายมาก) เกือบถึงเส้นชัยแล้ว สู้ ๆ นะครับ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๘๒
  • 10. เหนื่อยจัง ๔) ใช้ คาประหยัด ไม่ ฟุ่มเฟื อยหรื อซ้าซาก ได้แก่ การรู้จก ั เลือกใช้คาเฉพาะเท่าที่จาเป็ นเท่านั้น ซึ่ งมี ๓ ลักษณะ คือ ํ ํ  การประหยัด ค า (Economy) คื อ รู้ จ ัก เลื อ กใช้ค ํา เท่าที่จาเป็ น คําทุกคําต้องมีความหมายคําใดไม่เป็ นประโยชน์ก็อาจ ํ ตัดออกได้ เช่นอะไรบ้างครับ อย่างผมเปลี่ยนจาก พายเรื อมาเดินแทนนี่ใช่การประหยัดคํา ไหมครับ ไม่ใช่คะ เข้าใจผิดแล้ว แบบนี้เขาเรี ยกการใช้จ่ายอย่างประหยัดคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๘๓
  • 11. ครู จะอธิบายถึงเรื่ องการประหยัดคํานะคะ การประหยัดคํา เช่น ใหญ่โต มโหฬาร พูดจาปราศรัย ฉลาดปราดเปรื่ อง พิศวงสงสัย ฯลฯ การใช้ คาฟุ่ มเฟื อย ได้แก่ การใช้คามากแต่มี ํ ความหมายเท่าเดิมไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แต่อย่างใด  ยังไงกันครับ...คําฟุ่ มเฟื อย เหมือนผมนัง ่ เครื่ องบินบ่อยๆหรื อเปล่าครับครู ไม่ใช่หรอก การที่เธอนังเครื่ องบินบ่อย ๆ เป็ นการใช้จ่ายอย่าง ่ ฟุ่ มเฟื อย เพราะราคาแพง โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๘๔
  • 12. ครู จะยกตัวอย่างให้ฟังนะคะ     เขาได้ทาความตกลงกับคนอื่นแล้ว “ได้ทาความ” ควรตัดออก ํ เขาพอใจในการที่ได้รับการเลือกตั้งเป็ นผูแทนราษฎร “ในการ”ควรตัดออก ้ ครู เดินเข้ามาทาการสอน “ทําการ” ควรตัดออก เด็กตกลงไปในนํ้า “ลงไปใน” ควรตัดออก เข้ าใจแล้วคะ การซ้าซาก ได้แก่ การใช้คาหรื อข้อความที่ ํ เหมือนกัน หรื อมีความหมายคล้ายกันซํ้ากันบ่อย ๆ เช่น อะไรบ้างผมอยากทราบจัง โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๘๕
  • 13. เดี๋ยวครู จะอธิ บายต่อวันนี้ครู ขอพักสักครู่ หนึ่งนะคะ เรามาดูตวอย่างกันนะนักเรี ยน ั ตัวอย่าง เช่ น  แล้วฉันจะเล่าต่อไปให้เธอฟังต่ออีกต่อหนึ่ง  ถูกเผาในไฟ  คนเราเกิดมาในโลกนี้  ตํารวจใช้กระดาษปิ ดศพของผู้ ตาย ผูมีศิลปะในการใช้ภาษาย่อมรู ้จก “การหลากคํา” (variation) คือ ้ ั การเปลี่ยนแปลงคําที่ซ้ าซากเป็ นคําอื่น ๆ ที่มีความหมายเช่นเดียวกัน ํ ๕) ใช้ คาทีมีความหมายชัดเจนไม่ กากวม เนื่องจากคําภาษาไทยมีความหมาย ่ ไม่ แ น่ น อนหรื อไม่ ชั ด เจน ต้ อ งอาศัย คํา แวดล้ อ ม หรื อบริ บท (context) เพราะ ความหมายของคําจะเด่นชัดต่อเมื่อปรากฏในประโยคเท่านั้น ดังนั้น การใช้คาจึงต้อง ํ รู ้ จกเลื อกพิจารณาความหมายของคําให้แน่ นอนเสี ยก่ อนมิ ฉ ะนั้นอาจทํา ให้เกิ ดการ ั เข้าใจผิดได้ เช่น มาตอนสาย ๆ นะจ๊ะ ผลเป็ นอย่างไรบ้าง ไปตอนสองโมงค่ะ ตาฉันเจ็บ เขาหยุดสู บบุหรี่ คนแก่ ขับช้ า ๆ อันตราย ขอหอมหน่อย โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๘๖
  • 14. ๖) ใช้ คาให้ ถูกหลักไวยากรณ์ ภาษาไทยเรามีระเบียบแบบแผน เพื่อเป็ นแนวทางการใช้ภาษาให้ถูกต้องเป็ นแบบเดียวกัน ผูมีศิลปะในการ ้ ใช้ภ าษาจึ ง ต้อ งรู้ จ ัก เลื อ กใช้ค า ให้ถู ก ต้อ งตามระเบี ย บแบบแผนหรื อ ํ ไวยากรณ์ มีใครอธิบายได้บางคะ ้ ผมทราบครับ ขอผมอธิบายให้ ฟังนะครับคุณครู เขียนตัวสะกดการันต์ ถูกต้ องตามอักขรวิธี เช่น บาทหลวง เผอเรอ สร้างสรรค์ อาถรรพ์ ผัดวันประกันพรุ่ ง อินทรธนู สายสิ ญจน์ ต้นโพธิ์ เบญจเพส ผาสุ ก บังสุ กุล กล้วยบวดชี อ่ านออกเสี ยงถูกต้ องตามหลักเกณฑ์ ได้แก่ โฆษณา อาสาฬหบูชา พุทรา สุ นทรี อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า โคด-สะ-นา อา-สาน-หะ-บู-ชา พุด-ซา สุ น-ทฺรี เมรุ มาศ กลเม็ด รสนิยม ศีลธรรม อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า เม-รุ -มาด กน–ละ-เม็ด รด-นิ-ยม สี น-ละ-ทํา นอกจากนี้ ยังต้องอ่านออกเสี ยงให้ชดถ้อยชัดคํา ตัวควบกลํ้า ร, ล, ว เช่น ั  ปลาบปลืมไม่อ่านเป็ น ปาบปื้ ม ้  รัก ไม่อ่านเป็ น ลัก โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๘๗
  • 15. การใช้ ลั ก ษณะนาม ปั จ จุ บ ัน ภาษาไทยมี ค ํา ่ ลักษณะนามอยูประมาณ ๖o-๗o คําหลักเกณฑ์การใช้ ่ ั คําลักษณะนามนั้นอยูที่ความนิยมใช้กนมาแต่ก่อน เช่น ข้อความ ปี่ ขลุ่ย ไข่ เลื่อย ตอก พระสงฆ์ แห อวน พระพุทธรู ป เจดีย ์ ช้างบ้าน ช้างป่ า ใช้ลกษณะนามว่า ั เลา ฟอง ปื้ น รู ป ปาก องค์ เชือก ตัว ผมอธิ บายได้แค่น้ ี ละครับครู เก่งจัง อธิบายได้ ถูกต้ องแล้ วคะ การใช้ อาการนาม “การ” และ “ความ” นําหน้าคํากริ ยาหรื อวิเศษณ์ เช่น “การ” ใช้นํา หน้า คํากริ ย าที่ เห็ นได้ทางกายและวาจา เช่ น การกิ น การอยู่ การฟัง การอ่าน การเขียน ฯลฯ “ความ” ใช้นาหน้าคํากริ ยาที่เป็ นนามธรรมหรื อจิตใจ เช่น ความเสื่ อม ํ ความเจริ ญ ความทุกข์ ความดี ความรู้ ฯลฯ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๘๘
  • 16.  การใช้ คาบุพบท คือ คําที่ใช้นาหน้าคํานาม สรรพนาม กริ ยา หรื อวิเศษณ์ ํ เพื่ อบอกตํา แหน่ ง ของคํา และแสดงความสั ม พัน ธ์ ระหว่า งคํา ซึ่ ง ตามระเบี ย บทาง ไวยากรณ์ จ ะต้อ งใช้ ต ามกฎเกณฑ์ ที่ ไ ด้ก ํา หนดไว้ แต่ ใ นทางปฏิ บ ัติ ค นไทยไม่ สู้ จะเคร่ งครัดการใช้คาบุพบทเท่าใดนัก ถ้าข้อความใดสามารถตัดทิ้งได้ ก็มกจะตัดทิ้ง ํ ั โดยถือว่าละไว้ในฐานที่เข้าใจ ยกตัวอย่างให้หนูฟังหน่อยนะคะ ได้เลยคะ ตัวอย่าง เช่ น ข้อความ พ่อให้เงินลูก ่ ้ แม่อยูบาน เขาไปแจ้งความเจ้าหน้าที่ฯ น้องนอนเปล หนังสื อใครนะ ฉันสบตาเขา โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั ละบุพบท แก่ ที่ ต่อ ใน ของ กับ หน้ า ๘๙
  • 17. ๗) ใช้ คาให้ เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล คือทราบว่าเมื่อใดควรจะใช้ ถ้อยคําภาษาอย่างไรจึงจะเหมาะสม เช่ น ในการประชุ ม รายงานทางวิชาการ ปาฐกถา โต้วาที สนทนากับบุ คคลต่างๆ ฯลฯ ควรใช้ถอยคําสํานวนอย่างไร จึ งจะเหมาะสมกับ ้ กาลเทศะและบุ คคลนั้น ๆ ทั้งนี้ เพราะว่าภาษาไทยเรามี ระดับ มี ศกดิ์ ของคํา มี ระเบี ยบ ั ํ แบบแผนที่กาหนดไว้แน่นอนแล้ว มีอะไรบ้ างหรือครับ ครู ผมทราบครับ ขอผมอธิบายเองนะครับ เชิญเลยคะ ๗.๑) การใช้ ภาษากับผู้สนิทสนมคุ้นเคยกัน อาจจะใช้ ภาษาปาก ภาษาถิ่ น ภาษาหนังสื อพิมพ์ ภาษาสแลง คําตํ่า คําตลาด ฯลฯ ได้ เช่ น ไม่สน อย่าให้เซด ไม่เอาอ่าว ไม่มีน้ ายา เต๊ะจุ๊ย เบิ้ล ํ ไม่แคร์ สองโล (กิโลกรัม) ฯลฯ มานั่งสมาธิกนก่อน ให้ ใจเย็น ั ๆ ดีไหม ตั้งใจกันหน่ อยนะ ครับ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๙๐
  • 18. ๗.๒) การใช้ ภาษากั บ ผู้ อ าวุ โ สกว่ าหรื อ ไม่ สนิ ท สนมคุ้ นเคย จะต้ อ ง ระมัดระวังมากกว่าผูอาวุโสน้อยกว่า หรื อสนิ ทสนม เพราะวัฒนธรรมไทยเราเคารพผู ้ ้ อาวุโสกว่า จะเห็นได้จากเวลาพูดกับผูใหญ่มกจะต้องติดคําลงท้ายหรื อคําช่วยพูดที่สุภาพ ้ ั เช่น คะ ขา ครับ ค่ะ เป็ นต้น ๗.๓) การใช้ คาสรรพนามให้ เหมาะสมกับบุ คคล หมายถึ ง ผูพูด ผูที่เราพูด ้ ้ ด้วยและผูที่เราพูดถึง การใช้คา ้ ํ (๑) สรรพนามบุ รุษ ที่ ๑ ควรรู ้ ว่า เมื่ อใดจะใช้ข ้า พเจ้า กระผม ผม ดิฉน ฉัน หนู หรื อใช้ชื่อตัวเองเป็ นสรรพนาม เป็ นต้น ั (๒)สรรพนามบุรุษที่ ๒ เช่น ท่าน เธอ คุณ แก ฯลฯ (๓)สรรพนามบุรุษที่ ๓ เช่ น ท่าน เขา มัน แก ฯลฯ ซึ่ งถ้าหากมีใคร พูดกับแม่คาขายส้มว่า “ขอประทานโทษนะคะ แม่คาขาคุ ณ ้ ้ ขายส้มกิโลกรัมละเท่าใดคะ” อย่างนี้นบว่าใช้ภาษาไม่เหมาะสม ั กับบุคคล ๗.๔) การใช้ คากริ ยาต้ อ งให้ เหมาะสมกับบุ คคล เช่ น กิ น ใช้เป็ นภาษาพูด ั ทัวไปได้แต่ถาเป็ นภาษาเขียน หรื อคําสุ ภาพต้องใช้ รับประทาน ถ้าใช้กบพระสงฆ์ตองใช้ ้ ้ ่ ั “ฉัน” ถ้าใช้กบพระเจ้าแผ่นดิน หรื อกับพระบรมวงศานุวงศ์ ต้องใช้ เสวย เป็ นต้น ยกตัวอย่างให้ฟังได้ไหมครับท่าน ได้เลยครับ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๙๑
  • 19. ่ ตัวอย่างเช่ น ถ้าจะพูดว่า “ไปเที่ยวที่ไหนมา” ผูพดและผูฟังอาจจะอยูในฐานะต่าง ๆ ้ ู ้ ั ที่สัมพันธ์กน ดังต่อไปนี้ แม่พดกับลูกชาย ู - ไปเที่ยวที่ไหนมาล่ะลูก กลับเอาป่ านนี้ นายพูดกับเด็กรับใช้ - ไปไถลที่ไหนมายะ นังจ้อย ครู พดกับนักเรี ยน ู - เธอไปเที่ยวที่ไหนมา บอกครู เสี ยดี ๆ เพื่อนพูดกับเพื่อน - เฮ้ย แกไปตะลอนที่ไหนมวะ สนุกไหมวะ จะรี บไปไหน พักเดี๋ยวหนึ่งนะครับ ยังไม่จบนะครับ การใช้ คาราชาศัพท์ บุคคลที่ได้รับการศึกษามาเป็ นอย่างดี สมควรที่จะศึกษาหา ความรู้เรื่ อง “ราชาศัพท์” เอาไว้ เมื่อเวลาจําเป็ นต้องใช้จะได้ไม่ผิดพลาด ปั ญหาการใช้ ราชาศัพ ท์ ผิ ด พลาดนั้ น จะพบเห็ น อยู่ เ ป็ นประจํา ทุ ก วัน ทั้ง ทางโทรทัศ น์ วิ ท ยุ แ ละ หนังสื อพิมพ์ คือ คํากริ ยาที่เป็ นราชาศัพท์อยู่แล้ว เช่ น โปรด เสวย ตรัส ประชวร เสด็จ ผนวช ฯลฯ มักใช้ผด เติม “ทรง” เข้าข้างหน้า เช่น ิ (๑) รับเสด็จ เฝ้ ารับเสด็จ มักใช้ผดเป็ น ถวายการต้อนรับ ิ (๒) จงรักภักดี มักใช้ผดเป็ น ถวายความจงรักภักดี ิ (๓) กราบบังคมทูล มักใช้ผดเป็ น กราบถวายบังคมทูล ิ (๔) หน้าที่นง ั่ มักใช้ผดเป็ น หน้าพระที่นง ิ ั่ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๙๒
  • 20. ใช้ ค าให้ เหมาะสมกับบริ บท (คาแวดล้ อม = context) คือ รู้ จกเลื อกใช้ค าที่ มี ั ํ ความหมายสอดคล้องกับข้อความที่กล่าวถึง ผูมีศิลปะย่อมไม่ใช้คาผิดบริ บท หรื อไม่เข้ากับ ้ ํ คําข้างเคียง (คําแวดล้อม) เช่น ่ (๑) คุณแสงเดือน อยู่ในชุ ดราตรี “อยูในชุด” ไม่ได้หมายถึงการแต่งตัว (๒) คุ ณเพี ย งพิ ศ ศิ ริ วิไ ล จะมาในเพลง “คนหน้า ซื่ อ ” “มาใน” ไม่ ไ ด้ หมายถึง “ร้องเพลง” (๓) ผมขอรบกวนปากกาของคุ ณ “รบกวน” จะใช้ ก ับ สิ่ ง ของที่ เ ป็ น นามธรรมเท่านั้น (๔) ฉันจะเลี้ยงฉลองให้สาสมกับความดีใจ “สาสม” ใช้ในความหมายที่ไม่ ดี เช่น ความแค้น ความเสี ยใจ นอกจากนี้ ยงมี คาในภาษาไทยอีกมากมาย ที่จะต้อง ั ํ ั ใช้ให้ถูกคําบริ บท หรื อคําข้างเคียง เช่น คํา “ใส่ ” ต้องใช้กบคํา แรกส่ วนที่เป็ นนามธรรมเท่านั้น เช่ น ใส่ ความ ใส่ ใจ ใส่ จริ ต ใส่ ร้าย ฯลฯ ถ้าเป็ นรู ปธรรม ต้องใส่ คาอื่นแทน เช่น ใส่ บาตร ํ เป็ น ตักบาตร ใส่ กางเกงเป็ นสวมกางเกง ฯลฯ สนุกกันไหมจ๊ ะเด็กๆ พวกเราเข้าใจกันทุกคนแล้วคะ จบบทที่ ๓ แล้วครับ อย่าลืมทํางานส่ งครู นะครับเด็ก ๆ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๙๓
  • 21. เรามาทํากิจกรรมเสนอแนะ ท้ายบทที่ ๓ กันนะครับ กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๓ ให้ ผ้ ูเรี ยนแบ่ งกลุ่มปฏิบัติกจกรรมต่ อไปนี้ ิ ๑. อภิปรายเกี่ ยวกับปั ญหาการใช้ภาษาไทยและข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา สรุ ปผล การอภิปรายเป็ นลายลักษณ์อกษรและส่ งตัวแทนออกมาเสนอผลงาน ั ๒. อภิ ป รายถึ ง ประโยชน์และโทษของการใช้เทคโนโลยีค อมพิ วเตอร์ ใ นด้า นต่ า ง ๆ สรุ ปผลแล้วนํามาเขียนเป็ นแผนภาพความคิด ๓. ค้นคว้าหาความรู้ในจากอินเทอร์เน็ตเรื่ องการใช้ภาษาแล้วนําผลงานมาติดแสดงที่ป้าย นิเทศ ๔. ใช้ตวเลขไทยในทุกโอกาสที่สามารถทําได้ ั โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๙๔
  • 22. ตัวอย่างปัญหาเกียวกับทักษะการอ่าน ่ การอ่านหนังสื อไม่คล่อง อ่านออกเสี ยงตะกุกตะกัก อ่านหนังสื อไม่ค่อยรู ้เรื่ องและจับ ใจความไม่ได้ สาเหตุ ผลเสี ย ๑. อ่านหนังสื อน้อย ๑. เรี ยนหนังสื อไม่รู้เรื่ อง ๒. ไม่ชอบอ่านหนังสื อ ๒. ผลการเรี ยนไม่ดี ปฏิบติ ั ประจํา แนวปฏิบติในการแก้ปัญหาการอ่าน ั ปฏิบติ ั บางครั้ง ไม่ได้ ปฏิบติ ั หมาย เหตุ ๑. ข้าพเจ้าจะอ่านหนังสื ออย่างน้อยวันละครึ่ งชัวโมง ่ ๒. ข้าพเจ้าจะฝึ กอ่านออกเสี ยงอย่างน้อยวันละครึ่ ง หน้ากระดาษ ๓. ข้าพเจ้าจะเปิ ดพจนานุกรมเพื่อดูความหมายและ วิธีการใช้คาทุกคําที่ยงไม่แน่ใจ ํ ั ๔. ข้าพเจ้าจะอ่านทบทวนอย่างพินิจพิเคราะห์เมื่อยังไม่ เข้าใจ ๕. ข้าพเจ้าจะฝึ กจับใจความเรื่ องที่อ่านและบันทึก ไว้ในสมุด ข้อคิดเห็นของครู ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ผูประเมิน……………………………………………. ้ (……………………………………………) โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๙๕
  • 23. อย่าลืมทําแบบฝึ กหัดท้ายบทที่ ๓ ด้วยนะครับ แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๓ ตอนที่ ๑ จงตอบคําถามต่อไปนี้ ๑. ปั ญหาการใช้ภาษาด้านการฟัง พูด อ่านและเขียน มีอะไรบ้างและมีวธีแก้ไขอย่างไร ิ …………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………… ๒. การใช้ภาษาในการสื่ อสารและสร้างสรรค์งานเชิงวิชาการให้มีประสิ ทธิ ผล มีหลักอย่างไรบ้าง ระบุมา ๓ ข้อ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ๓. เราสามารถใช้เทคโนโลยีพฒนาตนเองได้อย่างไรบ้าง จงอธิ บาย ั ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๙๖
  • 24. แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๓ คำชีแจง ้ ๑. ข้ อสอบชุดนี ้มี จานวน ๑๐ ข้ อ ข้ อละ ๑ คะแนน รวมเป็ น ๑๐ คะแนน ๒. ให้ เลือกคาตอบที่ถกที่สดเพียงคาตอบเดียวแล้ วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ ู ุ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------๑. ควรลําดับความสารต่อไปนี้อย่างไรจึงจะเหมาะสมที่สุด ๑) ที่จอดรถ ๒ คัน ๒) ขนาด ๓ ห้องนอน ๒ ห้องนํ้า ๓) ขอแนะนําบ้านแบบใหม่ “มาลีพรรณ” ๔) บนที่ดิน ๕o ตารางวา ราคาพิเศษ ๓.o ล้านบาท ก. ๑, ๒, ๓, ๔ ข. ๔, ๓, ๒, ๑ ค. ๒, ๓, ๑, ๔ ง. ๓, ๔, ๒, ๑ ๒. ข้อใดออกเสี ยงคําถูกต้อง ก. ภูมิลาเนา อ่านว่า พูม-มิ-ลํา-เนา ํ ข. อุณหภูมิ อ่านว่า อุน-หะ-พูม ค. อุบติเหตุ อ่านว่า อุ-บัด-เหด ั ง. อุปโลกน์ อ่านว่า อุบ-ปะ-โลก ๓. “บริ ษท ฯ เป็ นตัวแทนจําหน่ายและนําเข้าสารเคมีจากต่างประเทศ ต้องการรับสมัครพนักงานขาย ั สารเคมี ผูสมัครต้องเป็ นเพศชายอายุ 20 ปี ขึ้นไป วุฒิปริ ญญาตรี ไม่จาเป็ นต้องมีประสบการณ์มี ้ ํ พาหนะเป็ นของตัวเอง ผูที่สนใจรี บสมัครด่วน” ประกาศดังกล่าวนี้บกพร่ องอย่างไร ้ ก. ใช้ภาษาไม่ไพเราะ ข. ลําดับความสับสน ค. ใช้คาศัพท์ยาก ํ ง. ขาดรายละเอียดที่จาเป็ น ํ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๙๗
  • 25. ๔. คาฟุ่ มเฟื อย หมายถึงคําประแบบใด ก. การใช้คาอย่างประหยัด ํ ข. การใช้คาให้ในภาษาท้องถิ่น ํ ค. การใช้คาแบบสํานวนโวหารเปรี ยบเทียบ ํ ง. การใช้คามากแต่มีความหมายเท่าเดิมไม่ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างใด ํ ๕. ข้อใดเขียนถูกต้อง ก. ราดหน้า ผัดกะเพราไก่ ข. สัมมนา มังสวิรัต ค. กาลเทศะ ต่าง ๆ นานา ง. พรรณนา กลยุทธ ๖. ข้อใดใช้ภาษาไม่ เหมาะสม ก. รัฐเปิ ดธนาคารคนจน ข. โครงการจัดหาวัวควายเพื่อเกษตรกร ค. ทุกคนกินข้าวกันตามสบาย ง. วัยรุ่ นเคี้ยวอาหารเร็ วมาก ๗. ข้อใดใช้ภาษาถูกต้องที่สุด ก. พระภิกษุในวัดนี้ทุกรู ป ฉันภัตตาหารมือเดียว ข. พ่อแม่ไม่มีเวลาอบรมบุตร ค. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ เสด็จตามกําหนดการ ง. คนยากจนที่ขดสนเงินทองย่อมทํางานหนัก ั ๘. ข้อใดใช้คาชัดเจน ไม่มีความหมายกํากวม ํ ก. เขาทําลายไทย ข. เขาชอบกินข้าวเย็น ค. เด็กเดินเหยียบแก้วแตก ง. น้องของเขาเป็ นครู โรงเรี ยนอนุบาล โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๙๘
  • 26. ๙. การใช้ถอยคําที่จะทําให้ผรับสารเข้าใจความคิดของผูส่งสารได้ถูกต้อง ควรมีลกษณะอย่างไร ้ ู้ ้ ั ่ ก. ใช้คาตรงความหมาย เรี ยบเรี ยงถ้อยคําให้อยูในตําแหน่งที่ถูกต้อง ํ ข. ใช้คาที่มีความไพเราะสละสลวย ํ ค. ไม่ใช้คาศัพท์วชาการมากเกินไป ํ ิ ง. ใช้คาเหมาะสมกับระดับบุคคล ํ ่ ๑o. การที่ผเู ้ ขียนใช้คาได้ตรงความหมายและเรี ยงคําให้อยูในตําแหน่งที่ถูกต้องมีผลดีอย่างไร ํ ก. ทําให้เกิดภาพพจน์ชดเจน ั ข. ทําให้ผรับสารเข้าใจความคิดของผูส่งสารได้ถูกต้อง ู้ ้ ค. ทําให้เกิดความรู ้สึกคล้อยตามหรื อสะเทือนอารมณ์ ง. ทําให้ภาษาสละสลวย ไพเราะ เย้ ..ทาเสร็จแล้ ว เราไปตรวจจากเฉลยกันดีกว่านะ ค่ะ ระหว่างทําแบบทดสอบห้ามแอบดู เฉลยกันนะค่ะ เราต้องมีคุณธรรม โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๙๙
  • 27. เฉลยกิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๓ สําหรับเฉลยในส่ วนของกิจกรรมเสนอแนะท้ายบทที่ ๓ คาตอบ (ให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ ูสอน) โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๐๐
  • 28. เฉลยแบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๓ ๑. ปั ญหาการใช้ภาษาด้านการฟัง พูด อ่านและเขียน มีอะไรบ้างและมีวธีแก้ไขอย่างไร ิ ตอบ พิจารณาจากปัญหาของผูเ้ รี ยน ๒. การใช้ภาษาในการสื่ อสารและสร้างสรรค์งานเชิงวิชาการให้มีประสิ ทธิ ผล มีหลักอย่างไรบ้าง ระบุมา ๓ ข้อ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ ตอบ ๑) ใช้คาให้ตรงกับความหมาย เนื่ องจากภาษามีคาไวพจน์ ที่มีรูปเสี ยง และความหมาย ํ ํ คล้ายกันอยูเ่ ป็ นจํานวนมาก ถ้าหากไม่รู้จกพิจารณาเลือกคํามาใช้ อาจทําให้ความหมายของคําผิดไป ั จากความต้องการได้ ั ้ ๒) ใช้คาภาษาสุ ภาพ ภาษาสุ ภาพ หมายถึง คําที่ใช้กบผูที่เคารพนับถือ เพราะวัฒนธรรม ํ ไทยเราเคารพผูอาวุโสกว่า ้ ๓) ใช้คาที่คนทัวไปเข้าใจและสังคมยอมรับ ว่าถูกต้องตามระเบียบแบบแผน ซึ่ งมีขอ ํ ้ ่ ควรพิจารณาดังต่อไปนี้  ไม่ใช้คาตํ่าหรื อคําหยาบ ํ  ไม่ใช้คาตลาด ํ  ไม่ใช้คาแสลง ํ  ไม่ใช้คาพ้นสมัย ํ  ไม่ใช้คาเฉพาะหรื อคําวิทยาการ ํ  ไม่ใช้คาภาษาถิ่น ํ  ไม่ใช้คาภาษาต่างประเทศ ํ  ไม่ใช้คาหนังสื อพิมพ์ ํ  ไม่ใช้คาย่อหรื ออักษรย่อ ํ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๐๑
  • 29. ๓. เราสามารถใช้เทคโนโลยีพฒนาตนเองได้อย่างไรบ้าง จงอธิ บาย ั ตอบ ๑) ใช้เป็ นแหล่งความรู ้ เนื่ องจากความรู ้ในแขนงวิชาต่างๆ จะถูกถ่ายทอดเก็บไว้ในรู ป อิเล็กทรอนิกส์ซ่ ึ งจะเข้าถึงได้ดวยเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกันได้ทวโลก ได้แก่ อินเทอร์ เน็ต ้ ั่ (Internet) หรื อสื บค้น จากฐานข้อมูลอื่น ๆ ๒) ใช้ในการสื่ อสารและเรี ยนรู้ ๓) ใช้เป็ นแหล่งบันทึกข้อมูล ๔) ใช้เป็ นเครื่ องมือผลิตผลงาน ๕) ใช้ผลิตแผ่นงาน เอกสาร โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๐๒
  • 30. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนบทที่ ๓ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย ๑. ง. ๖. ค. ๑. ง. ๖. ค. ๒. ค. ๗. ค. ๒. ค. ๗. ค. ๓. ง. ๘. ค. ๓. ง. ๘. ค. ๔. ง. ๙. ก. ๔. ง. ๙. ก. ๕. ค. ๑๐. ข. ๕. ค. ๑๐. ข. ตรวจกับเฉลยเสร็ จแล้ว ถูกกี่ขอเอ่ย ้ เกณฑ์ การตัดสิ น ระดับ 0 – 4 คะแนน ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุ ง ระดับ 5 – 6 คะแนน พอใช้ ระดับ 7 – 8 คะแนน ดี ระดับ 9 – 10 คะแนน ดีมาก โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั สรุ ปผลการประเมิน ่ q ผ่าน q ไม่ผาน คะแนนทีได้ ่ ระดับคุณภาพ ……… ………. หน้ า ๑๐๓