SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
                  เพือพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                     ่                            ิ
             The Development of Blended Learning Model by Using
              Cognitive Tools to Develop Critical Thinking Skills

                                                                  ดร.ปณิตา วรรณพิรณ*
                                                                                  ุ

บทคัดย่อ
        การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนแบบ
ผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ การวิจยแบ่งออก
                      ่               ่                         ิ             ั
เป็น 4 ระยะ คือ 1) การศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรูปแบบ 2) การพัฒนารูปแบบการ
เรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ 3) การ
                              ่              ่                          ิ
ศึกษาผลของการใช้รปแบบ และ 4) การรับรองรูปแบบ กลุมตัวอย่างทีใช้ในการวิจย คือ นักศึกษา
                    ู                                  ่          ่         ั
ระดับบัณฑิตศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ ที่เรียนวิชาสื่อการเรียนการสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้จากการสุ่มอย่างง่าย
จำนวน 25 คน เรียนโดยใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานทีพฒนาขึนเป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์
                                ู                        ่ ั        ้
เครืองมือทีใช้ในการวิจย คือ รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนา
    ่      ่                ั                                         ่            ่
ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ แบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณ (Cornell Critical Thinking Test
                        ิ                           ิ
Level Z) และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา ระยะเวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ วิเคราะห์
ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t-Test
Dependent)
        ผลการวิจย พบว่า
                 ั
        1. องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 4 องค์ประกอบ
คือ 1) หลักการของรูปแบบการเรียนการสอน 2)วัตถุประสงค์ของรูปแบบการเรียนการสอน 3)
กระบวนการเรียนการสอน และ 4) การวัดและประเมินผล; วัตถุประสงค์ของรูปแบบ คือ เพือพัฒนา
                                                                                 ่
ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ; กระบวนการเรียนการสอน แบ่งออกเป็น 2 ขันตอน คือ 1) ขัน
                          ิ                                               ้           ้
การเตรียมการก่อนการเรียนการสอน และ 2) ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน; การวัดและ
ประเมินผลใช้การวัดพัฒนาการของทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการประเมินตามสภาพจริง

*อาจารย์ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
                                                ุ
         พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
153
วารสารวิทยบริการ                                       การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕                                  ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                                                                         ุ


        2. นักศึกษาที่เรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีคะแนนทักษะการคิดอย่าง
มีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ นักศึกษา
มีความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
        3. ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ทำการประเมินรูปแบบการเรียนการสอนแล้วมีความคิดเห็นว่า
รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด
คำสำคัญ: การเรียนแบบผสมผสาน, รูปแบบการเรียนการสอน, เครืองมือทางปัญญา, ทักษะการ
                                                             ่
           คิดอย่างมีวิจารณญาณ

 Abstract
         The objective the research study was to develop the blended learning model by using
cognitive tools to develop critical thinking skills. The research and development (R&D) procedures
was divided into four stages: 1) developing the main concept of the blended learning model by
using cognitive tools to develop critical thinking skills (CTBL model), 2) developing the CTBL
model, and 3) determining the results of CTBL model; 4) evaluating the CTBL model.
The sample group of the study was 25 undergraduate students from King Mongkut's University
of Technology North Bangkok who had enrolled to the Learning and Teaching Media on Computer
Network in the first semester of 2011. The experiment period was ten weeks. The research tools
were the CTBL model, the Cornell Critical Thinking Test Level Z, and the students’ satisfaction
questionnaire. Data were analyzed using the frequency, the percentage, the arithmetic mean, the
standard deviation and the t-Test for Dependent.
The results of the study revealed those:
         1. The CTBL model consisted of 4 components which were: 1) principles, 2) objectives,
3) instructional process and 4) evaluation. The objective of the model is to develop critical
thinking skills. The instructional process consisted of two stages. The first stage was the preparing
stage and the second stage was learning stage. The evaluation of learning was to measure a critical
thinking skills development and authentic assessment.
         2. The graduate students learned with the CTBL model had a statistically significant
difference of the critical thinking skills posttest scores over the pretest scores .01 level.
The students agree that the CTBL process was appropriateness at a high level of satisfaction.
         3. The experts agree that a CTBL Model was appropriateness at an excellent level of
satisfaction.
Keywords: Blended Learning, Instructional Model, Cognitive Tools, Critical Thinking Skills
154
วารสารวิทยบริการ                                             การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕                                        ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                                                                               ุ

บทนำ
             การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับการเรียนการสอนในระบบอิเล็กทรอนิกส์
(e-Learning) ทีได้รบการนิยมรูปแบบหนึงคือ การจัดการเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning)
                         ่ ั                      ่
ซึ่งหมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่ผสมผสานการเรียนบนเว็บและการเรียนในห้องเรียนเป็น
รูปแบบการเรียนที่ยืดหยุ่น ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนทั้งด้านรูปแบบ
การเรียน รูปแบบการคิด ความสนใจและความสามารถของผูเรียนแต่ละคน [1] มีสัดส่วนการนำ
                                                                         ้
เสนอเนื้อหาบทเรียนผ่านทางอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 30-79 โดยใช้ร่วมกับการเรียนการสอนในห้อง
เรียน หากมีสดส่วนของเนือหาบทเรียนทีนำเสนอทางอินเทอร์เน็ตน้อยกว่าร้อยละ 30 นัน ถือเป็นการ
                   ั            ้               ่                                              ้
ใช้เทคโนโลยีเว็บช่วยการเรียนการสอน [2] ในการออกแบบการเรียนแบบผสมผสานนันควรออกแบบ             ้
และกำหนดกิจกรรม 3 ประการ คือ 1) การออกแบบและกำหนดกิจกรรมแบบฝึกหรือการทบทวน
ความรูของผูเรียน 2) การออกแบบและกำหนดกิจกรรมให้ผเรียนได้เรียนรูรวมกัน (Collaboration)
         ้       ้                                                  ู้           ้่
เพือเสริมสร้างทักษะทางสังคม และ 3) การออกแบบและกำหนดกิจกรรมการเรียนรูหลักเพือช่วยให้
     ่                                                                                     ้     ่
ผูเรียนได้เรียนรูตามวัตถุประสงค์ทกำหนดไว้ [3] สอดคล้องกับ e-Education ในแผนอุดมศึกษา
   ้                   ้                ่ี
ระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 - 2565 ได้กำหนดแนวนโยบายโครงสร้างพืนฐานการเรียนรูวา  ้                       ้่
รัฐควรให้การสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและภาคเอกชนในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสือสารเพือการเข้าถึงและการลดช่องว่างของดิจตอล (Digital Divide) โดยเฉพาะอย่างยิงการให้
       ่             ่                                       ิ                                     ่
บริการการเรียนรูทางไกลและการเรียนรูผานสืออิเล็กทรอนิกส์ตางๆ ทังการศึกษาในระบบ นอกระบบ
                          ้                   ้ ่ ่                    ่     ้
และตามอัธยาศัย
             การพัฒนาการคิดอย่างมีวจารณญาณเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทตองการให้เกิดแก่ผเรียน
                                    ิ                                             ่ี ้                  ู้
ตามจุดมุงหมายของการศึกษาตามพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 นอกจากนียงเป็น
               ่                                           ิ                                         ้ั
กระบวนการคิดทีจำเป็นและสำคัญทีสดสำหรับผูเรียนทุกระดับ เนืองจากเป็นกระบวนการคิดทีผาน
                            ่              ุ่           ้                  ่                               ่ ่
การไตร่ตรองและพิจารณาจากข้อมูล หลักฐานทีมอยูมาเป็นอย่างดี ซึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน
                                                          ่ ี ่                ่
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณจึงถือเป็นพื้นฐานของ
การคิดทังปวง [4]
             ้
             การใช้เครืองมือทางปัญหาเป็นเครืองมือในการเรียนรูบนเว็บแบบผสมผสานและสภาพแวดล้อม
                              ่                     ่             ้
การเรียนรู้ที่เหมาะสมสามารถพัฒนาศักยภาพการคิดของผู้เรียน ได้แก่ การคิดอย่างสร้างสรรค์
(Creative Thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) การคิดอย่างมีเหตุผลและ
การคิดขันสูงได้ [5]
           ้
             จากความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้นจึงมีความจำเป็นต้องพัฒนารูปแบบ
การเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ เพือ
                                      ่                         ่                        ิ                      ่
เป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณของนักศึกษา และพัฒนาการจัดการศึกษา
                                                      ิ
ทางไกลผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และปริมาณสอดคล้องกับความ
ต้องการของประเทศต่อไป
155
วารสารวิทยบริการ                                 การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕                            ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                                                                   ุ

วัตถุประสงค์การวิจย   ั
         1. วัตถุประสงค์ทั่วไป
         เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
         2. วัตถุประสงค์เฉพาะ
              2.1 เพื่อศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้
เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
              2.2 เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนา
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
              2.3 เพือศึกษาผลของการใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา
                    ่                   ู                                    ่
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
              2.4 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน
โดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่พัฒนาขึ้น
              2.5 เพื่อรับรองรูปแบบการเรียนบนเว็บแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อ
พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

สมมติฐานของการวิจัย
        นักศึกษาทีเรียนโดยใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาทีพฒนาขึน
                  ่           ู                                  ่             ่ ั    ้
มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียนอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติ

ขอบเขตการวิจย ั
       1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
       ประชากร คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
       กลุมตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัย
          ่
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ทีเรียนวิชาสือการเรียนการสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้
                                      ่        ่
จากการสุมอย่างง่าย จำนวน 25 คน
        ่
       2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
       ตัวแปรอิสระ คือ รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา
                                                                ่
       ตัวแปรตาม คือ คะแนนทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ และความคิดเห็นของผูเรียน
                                                  ิ                                 ้
       3. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง
       การศึกษาผลของการใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนา
                              ู                                     ่             ่
ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณใช้ระยะเวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์
                   ิ
156
วารสารวิทยบริการ                                                        การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕                                                   ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                                                                                          ุ

กรอบแนวคิดการวิจย   ั
        กรอบแนวคิดการวิจย ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ 1) ทฤษฎีการเรียนรู้ 2) การเรียน
                           ั
โดยใช้เครืองมือทางปัญญา (cognitive tools) 3) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ (critical thinking
          ่                                                     ิ
skills) 4) การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (blended learning) 5) การออกแบบระบบ
การเรียนการสอน (Instructional System Design: ISD) และ 6) กิจกรรมการเรียนการสอน
เพือพัฒนาความคิดอย่างมีวจารณญาณ ดังรูปที่ 1
   ่                     ิ
                                                                                     การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
                        ทฤษฎีการเรียนรู                                                (Thorne, [8]; Bonk & Graham, [9])

  1. การเรียนรูอยางมีความหมาย                                           1.   การกําหนดจุดมุงหมายในแตละขั้นตอนการเรียน
                                                                                              
  2. การเรียนรูดวยโครงความคิดลวงหนาในโครงสราง
                                                                         2.   การจัดกิจกรรมระหวางการเรียนการสอน
     ทางปญญาในสมอง                                                       3.   การกําหนดทักษะความรูพนฐานที่จําเปนกอนการเรียน
                                                                                                      ื้
  3. การเรียนรูตามแนวคอนสตรัคติวิสต                                     4.   การกําหนดจุดมุงหมายของการเรียน
                                                                                                
                                                                          5.   การจัดการเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน
                                                                          6.   การประยุกตยุทธวิธในการจัดการเรียนการสอน
                                                                                                    ี
               การเรียนโดยใชเครืองมือทางปญญา                            7.   การกําหนดยุทธวิธการประเมินผล
                                                                                                  ี
                        (Buzan & Buzan, [6] )

  1. ขันเตรียมการกอนการเรียนการสอน
             ้
                                                                                      การออกแบบระบบการเรียนการสอน
  2. ขันศึกษาเนื้อหา
       ้                                                                        (Seele and Glagow, [10] ; Dick and Carrey, [11])
     2.1 ศึกษาเนื้อหาภาคทฤษฎี (Online)
     2.2 ศึกษาเนื้อหาภาคปฏิบัติ (Face to Face)
                                                                          1.   การวิเคราะหและประเมินความตองการ
  3. ขันการสรางแผนผังทางปญญาโดยใชเครื่องมือทางปญญา
         ้
                                                                          2.   การกําหนดจุดมุงหมาย /วัตถุประสงค
                                                                                              
     3.1 ขันของการระดมสมอง
               ้
                                                                          3.   การวิเคราะหคุณลักษณะของผูเ รียน (learner characteristics)
     3.2 ขันจัดโครงสรางและรูปแบบ
                 ้
                                                                          4.   การสรางตนแบบ ออกแบบเนื้อหาที่สอดคลองกับ
     3.3 ขันการแสดงความเชื่อมโยง
                   ้
                                                                               วัตถุประสงค และจัดเรียงลําดับเนื้อหา
     3.4 ขันสรุปทบทวน้
                                                                          5.   การกําหนดเวลาเรียน สถานที่ วิเคราะหกจกรรมและแหลง
                                                                                                                       ิ
     3.5 ขันการนําไปใชประโยชน
                       ้
                                                                               ทรัพยากรการเรียนรูสําหรับการเรียนการสอน
  4. ขันการวัดและประเมินผล
           ้
                                                                          6.   การกําหนดวิธการสอนและออกแบบกลยุทธการสอน
                                                                                            ี
                                                                          7.   การพัฒนา/เลือกวัสดุการสอน สือการสอน และทรัพยากร
                                                                                                              ่
                                                                               การสอน
                 ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ                              8.   การเสริมทักษะและจัดกิจกรรมสนับสนุน ควบคุม
                          (Ennis, [7])                                         ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการเรียนและการทดสอบ
                                                                          9.   การใหขอมูลยอนกลับเพือปรับปรุงการเรียนการสอน
                                                                                                     ่
  1.   การสรุปแบบนิรนัย
  2.   การใหความหมาย
  3.   การพิจารณาความนาเชื่อถือของแหลงขอมูลและการสังเกต                            กิจกรรมการเรียนการสอนเพือพัฒนา
  4.   การสรุปแบบอุปนัย                                                                  ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ
  5.   การสรุปโดยการทดสอบสมมติฐานและการทํานาย                                                   (Woods, [12] )
  6.   การนิยามและระบุขอสันนิษฐาน
                        
                                                                          1.   เสนอปญหาหรือสถานการณ
                                                                          2.   กระตุนใหผเู รียนคิดวิเคราะหสถานการณ
                                                                                        
                                                                          3.   สงเสริมใหผเู รียนตรวจสอบ คนหาเหตุผล
                                                                          4.   ใหผเู รียนตีความ สรุปความและประเมินสถานภาพ
                                                                          5.   ใหผเู รียนตัดสินใจเลือกคําตอบ
                                                                          6.   ใหผเู รียนตรวจคําตอบ
                                                                          7.    การประเมินผลขันสุดทายเพื่อใหไดขอสรุปที่เปนเหตุเปนผล
                                                                                                   ้               



                                          รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใชเครืองมือทางปญญา
                                                เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ

รูปที่ 1: กรอบแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
          เพือพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
            ่                         ิ
157
วารสารวิทยบริการ                                        การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕                                   ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                                                                          ุ

วิธีดำเนินการวิจัย
           การวิจยครังนีเป็นการวิจยและพัฒนา (Research and Development) แบ่งการวิจยเป็น 4
                      ั ้ ้         ั                                                         ั
ระยะ คือ
           ระยะที่ 1 การศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดย
ใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
           1. การศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รูปแบบการเรียน
การสอน การเรียนการสอนแบบผสมผสาน การเรียนโดยใช้เครืองมือทางปัญญา และทักษะการคิด
                                                                   ่
อย่างมีวิจารณญาณ
           2. ศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน
              2.1 ศึกษาข้อมูลด้านการจัดการเรียนการสอน โดยการสัมภาษณ์อาจารย์ผสอนในสถาบัน
                                                                                     ู้
อุดมศึกษา จำนวน 20 ท่าน จาก 11 มหาวิทยาลัย ทังมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน เพือให้ได้
                                                             ้                                  ่
ข้อมูลเกี่ยวกับ สภาพ ปัญหาและแนวทางในการการจัดการเรียนการสอนบนเว็บ การเรียนโดยใช้
เครืองมือทางปัญญา และคุณลักษณะของผูเรียนในเรืองของความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถใน
    ่                                         ้      ่
การใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลผ่านเว็บ
              2.2 ศึกษาข้อมูลคุณลักษณะของผูเรียน โดยการสัมภาษณ์นกศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
                                                 ้                       ั
จำนวน 40 คน จาก 4 มหาวิทยาลัย ทังมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน เพือให้ได้ขอมูลเกียวกับ
                                           ้                               ่            ้         ่
ความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลผ่านเว็บ
และสิ่งที่นักศึกษาต้องการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
           ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนา
                                                                       ่                    ่
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ตามขั้นตอนการออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional
System Design: ISD) 5 ขันตอน ดังนี้
                              ้
           1. ขันการวิเคราะห์ (Analysis) วิเคราะห์เนือหา สร้างแผนภาพมโนทัศน์เป็นการเริมต้น
                    ้                                      ้                                          ่
ขอบเขตเนื้อหา วิเคราะห์คุณลักษณะและรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และ
วิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
           2. ขันการออกแบบ (Design) ออกแบบจุดประสงค์ ออกแบบโครงข่ายเนือหา ออกแบบ
                  ้                                                                ้
ยุทธศาสตร์การเรียน 2 ขันตอน คือ 1 การศึกษาเนือหา 1.1) การศึกษาเนือหาภาคทฤษฎีแบบ
                            ้                            ้                    ้
ออนไลน์ 1.2) การศึกษาเนือหาภาคปฏิบตในห้องเรียน 2) กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดย
                                ้            ั ิ
ใช้เครืองมือทางปัญญา ประกอบด้วย 5 ขันตอนย่อย คือ 2.1) ขันการระดมสมอง 2.2) ขันการจัด
         ่                               ้                           ้                    ้
โครงสร้างและรูปแบบ 2.3) ขันการแสดงความเชือมโยง 2.4) ขันการสรุปทบทวน และ 2.5) ขันการ
                                  ้                ่             ้                                  ้
นำไปใช้ประโยชน์
           3. ขันการพัฒนา (Development) พัฒนาเครืองมือตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดย
                ้                                      ่
ใช้เครืองมือทางปัญญา ได้แก่ ระบบบริหารจัดการเรียนรูโดยใช้ MOODLE คูมอผูดแลระบบและ
       ่                                                       ้             ่ ื ้ ู
158
วารสารวิทยบริการ                                  การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕                             ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                                                                    ุ

คูมอการเรียน พัฒนาเครืองมือทีใช้ในการศึกษาผลการวิจย ได้แก่ แบบวัดทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
  ่ื                    ่      ่                  ั                                 ิ
และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา
          4. ขันการนำไปทดลองใช้ (Implementation) การทดสอบแบบหนึงต่อหนึง (One-to-one
               ้                                                        ่    ่
testing) และการทดสอบกับกลุมเล็ก (Small group testing) เพือนำข้อมูลมาปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่อง
                             ่                            ่
ของรูปแบบ และการทดลองนำร่อง (Field trial) โดยให้นกศึกษาทีไม่ใช่กลุมตัวอย่าง จำนวน 15 คน
                                                     ั        ่       ่
          5. ขันการประเมินผล (Evaluation) ประเมินคุณภาพรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดย
                 ้
ใช้เครื่องมือทางปัญญา โดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน และประเมินคุณภาพระบบบริหารจัดการเรียนรู้
ตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ด้านเนือหาและด้านโดยผูเชียวชาญ
                                          ่                      ้                ้ ่
          ระยะที่ 3 การศึกษาผลของการใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา
                                        ู                                      ่
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
          การศึกษาผลของการใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ดำเนินการ
                                 ู                                  ่
ตามแบบแผนการวิจยแบบ One Group Pretest-Posttest Design [13]
                     ั
                              O1    X     O2

มีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้
          3. ขั้นเตรียมการก่อนการทดลอง
              3.1 ปฐมนิเทศนักศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา การวัดและประเมินผล และฝึกปฏิบตการใช้เครืองมือตามรูปแบบการเรียน
                                            ั ิ         ่
              3.2 วัดและประเมินผลทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณก่อนเรียนและแจ้งผลการประเมิน
                                                    ิ
ให้แก่นักศึกษา
          4. ขันดำเนินการทดลอง
                 ้
              4.1 ให้นักศึกษาเรียนรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์
              4.2 วัดและประเมินผลทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณหลังเรียนและแจ้งผลการประเมิน
                                                      ิ
ให้แก่นกศึกษา และสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา
        ั
          ระยะที่ 4 การรับรองรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนา
                                                                   ่            ่
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
          นำเสนอรูปแบบให้ผทรงคุณวุฒจำนวน 5 ท่าน ประกอบด้วย ผูทรงคุณวุฒดานการออกแบบ
                             ู้       ิ                         ้         ิ ้
การเรียนการสอน การเรียนการสอนแบบผสมผสาน การเรียนการสอนโดยใช้เครืองมือทางปัญญา และ
                                                                     ่
ด้านทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยเป็นผูทมความเชียวชาญ
                          ิ                                              ้ ่ี ี   ่
ในด้านที่เกี่ยวข้อง มีประสบการณ์วิจัยหรือผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 5 ปี ทำการประเมินเพื่อ
รับรองรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาฯ ทีพฒนาขึน
                                              ่                ่ ั     ้
159
วารสารวิทยบริการ                                การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕                           ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                                                                  ุ

สรุปผลการวิจย               ั
            ตอนที่ 1 รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการคิด
                                                             ่           ่
อย่างมีวิจารณญาณ
            1. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนา
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
            รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะ
                                                                     ่         ่
การคิดอย่างมีวจารณญาณทีพฒนาขึน ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบ ดังนี้
                              ิ         ่ ั     ้
                1.1 หลักการของรูปแบบการเรียนการสอน
                1.2 วัตถุประสงค์ของรูปแบบการเรียนการสอน
                1.3 กระบวนการเรียนการสอน
                1.4 การวัดและประเมินผล
            2. กระบวนการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการ
                                                                 ่           ่
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
            กระบวนการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการคิด
                                                               ่           ่
อย่างมีวจารณญาณ ประกอบด้วยขันตอนการเรียนการสอน 2 ขันตอน ดังนี้
          ิ                                   ้                    ้
                2.1 ขั้นการเตรียมการก่อนการเรียนการสอน เป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน
ผูสอนและผูชวยสอน เกียวกับกิจกรรมการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียน รวมถึง
      ้        ้่                     ่
การสร้างแรงจูงใจในการเรียนให้กับผู้เรียน
                2.2 ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน ประกอบด้วยขั้นตอนที่ผสมผสานระหว่าง
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เครืองมือทางปัญญา และกิจกรรมการเรียนการสอนเพือพัฒนา
                                                     ่                           ่
ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ โดยมีทงกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนและการเรียนการสอน
                                ิ                 ้ั
บนเว็บ ประกอบด้วยขันตอนและกิจกรรม 2 ขันตอนใหญ่ 7 ขันตอนย่อย ดังนี้
                                    ้                    ้             ้
ขันที่ 1 การศึกษาเนือหา ประกอบด้วย 2 ขันตอนย่อย ดังนี้
    ้                             ้                    ้
            1. การศึกษาเนื้อหาภาคทฤษฎี
            2. การศึกษาเนื้อหาภาคปฏิบัติ
ขันที่ 2 กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ประกอบด้วย
  ้                                                        ่
5 ขันตอนย่อย ดังนี้
        ้
            1. ขันการระดมสมอง (Brainstorming Phase)
                    ้
            2. ขันการจัดโครงสร้างและรูปแบบ (Organizing Phase)
                      ้
            3. ขันการแสดงความเชือมโยง (Linking Phase)
                  ้                         ่
            4. ขันการสรุปทบวน (Finalizing the Concept Map)
                        ้
            5. ขันการนำไปใช้ประโยชน์ (Utilization Phase)
                          ้
162
วารสารวิทยบริการ                                การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕                           ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                                                                  ุ

พึงพอใจกิจกรรมขันที่ 3 ขันการระดมสมองมากทีสด (X= 4.45, S.D. = 0.62) รองลงมาได้แก่
                   ้     ้                  ุ่
ขันที่ 2 ศึกษาเนือหาภาคปฏิบติ (X= 4.39, S.D.= 0.66) และขันที่ 1 ศึกษาเนือหาภาคทฤษฎี
 ้               ้         ั                             ้              ้
ขันที่ 6 ขันการสรุปทบวน (X= 4.33, S.D.= 0.69) ตามลำดับ
   ้       ้

ตอนที่ 3 ผลการรับรองรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะ
                                                     ่                ่
การคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
ตารางที่ 3 ความเหมาะสมเกียวกับองค์ประกอบของรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
                           ่
ข้อคำถาม               ขอคําถาม             S.D.   ความ
                                          x
                                                       เหมาะสม
                องคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน
                1. หลักการและแนวคิด       5.00 0.00    มากที่สด
                                                              ุ
                2. วัตถุประสงคของรูปแบบ               มากที่สด ุ
                การเรียนการสอน            4.80 0.45
                3. กระบวนการเรียนการสอน 5.00 0.00      มากที่สดุ
                4. การวัดและประเมินผล     5.00 0.00    มากที่สด  ุ
                ภาพรวมดานองคประกอบ      4.95 0.22    มากที่สุด

        จากตารางที ่ 3 พบว่ า ในภาพรวมด้ า นองค์ ป ระกอบของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฯ
ผูทรงคุณวุฒเห็นว่ามีความเหมาะสมอยูในระดับมากทีสด (X= 4.95, S.D. = 0.22) โดยค่าเฉลีย
  ้        ิ                     ่           ุ่                                    ่
ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับคือ องค์ประกอบด้านหลักการและแนวคิด (X=5.00, S.D.= 0.00)
ด้านกระบวนการเรียนการสอน (X= 5.00, S.D. = 0.00) และด้านการวัดและประเมินผล
(X= 5.00, S.D. = 0.00) ตามลำดับ

อภิปรายผล
          1. รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาทีพฒนาขึน สามารถพัฒนา
                                                 ่             ่ ั      ้
พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณหลังเรียนให้สงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ
                           ิ                   ู                   ั             ิ ่ี
.01 ซึงสอดคล้องกับงานวิจยของ ธีรดี ถังคบุตร [14] พบว่า การเรียนโดยใช้เครืองมือทางปัญญา
        ่                    ั                                            ่
เป็นวิธีสอนที่ส่งเสริมความสามารถในทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนได้
          2. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอนในภาพรวมอยูในระดับมาก
                                                                              ่
และมีความเห็นว่าจากการจัดกระบวนการเรียนการสอนทำให้นกศึกษาสามารถติดต่ออาจารย์ได้มากขึน
                                                        ั                             ้
การเรียนการสอนในลักษณะนีทำให้นกศึกษาได้ลงมือปฏิบตมากขึน นักศึกษาเข้าใจเนือหาภาคปฏิบติ
                               ้  ั                  ั ิ ้                  ้           ั
มากขึน และนักศึกษาต้องการให้สอนในลักษณะนีในวิชาอืนๆ สอดคล้องกับแนวคิดของ Bonk &
      ้                                      ้     ่
163
วารสารวิทยบริการ                                      การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕                                 ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                                                                        ุ

Graham [9] ทีกล่าวว่า กิจกรรมการเรียนสอนแบบผสมผสานทำให้ผเรียนสามารถเรียนรูได้อย่างอิสระ
              ่                                                 ู้              ้
ส่งผลให้เกิดการเรียนทีกระฉับกระเฉง (Active Learning) ทำให้ผเรียนเป็นผูทมความกระฉับกระเฉง
                      ่                                      ู้       ้ ่ี ี
ในการเรียนรู้ (Active Learner) และสามารถลดเวลาในการเข้าชันเรียนได้ นอกจากนีการเรียนแบบ
                                                           ้                  ้
ผสมผสานยังมีสวนสนับสนุนปฏิสมพันธ์ระหว่างผูเรียนกับผูเรียนด้วยกัน และผูเรียนกับผูสอนโดยการ
                ่              ั            ้        ้                  ้         ้
ติดต่อแบบส่วนตัว ช่วยให้การเรียนรูดขน [8] และช่วยให้ผเรียนมีสวนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้
                                   ้ ี ้ึ              ู้          ่
มากขึ้น

เอกสารอ้างอิง
[1] Bonk, C. J., & Graham, C. R. (2004). Handbook of blended learning: Global perspectives.
            San Francisco: Pfeiffer Publishing.
[2] Allen, I. E., & Seaman, J. (2005). Growing by Degrees: Online education in the United
            States, 2005. The Sloan Consortium. Retrieved from http://www.sloan-c.org/
            publications/survey/pdf/growing_by_degrees.pdf
[3] Bersin, J. (2004). The blended learning book: Best practices, proven methodologies, and
            lessons learned. San Francisco: Pfeiffer.
[4] ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน: องค์ความรูเพือการจัดกระบวนการเรียนรูทมี
                                                                ้ ่                          ้ ่ี
            ประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครังที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                                     ้                                 ุ
[5] Jonassen, David H. (1999). Handbook of research for educational communications and
            technology: A project of the association for educational communications and technology.
            New York: Macmillan Library References.
[6] Buzan, T., & Buzan, B. (1997). The ทind Map books: Radiant thinking. London: BBC.
            Books.
[7] Ennis, R. H. (1989). Critical thinking and subject specificity. Educational Researcher,
            18(3), 4-10.
[8] Thorne, K. (2003). Blended learning: How to integrate online and traditional learning.
            London: Kogan Page.
[9] Bonk, C. J. & Graham, C. R. (2004). Handbook of blended learning: Global perspectives.
            San Francisco: Pfeiffer Publishing.
[10] Seels, B., & Glasgow, Z. (1997). Making instructional design Decisions. Columbus,
            OH: Prentice Merrill.
[11] Dick, W., Carey, L., & Carey, J. (2001). The Systematic design of instruction.
            (5th ed). London: Addison - Wesley Educational.
164
วารสารวิทยบริการ                                การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕                           ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                                                                  ุ

[12] Woods, D. R. (1994). Problem-Based Learning: How to gain the most from PBL.
            Hamilton: W.L. Griffin Printing Limited.
[13] William, W. & Stephen G. J. (2009). Research methods in education: An introduction.
            (9th ed). Boston: Pearson.
[14] ธีรวดี ถังคบุตร. (2552). การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
            โดยใช้แผนผังทางปัญญาเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับ
            นักศึกษาปริญญาบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีและ
                                                           ั
            สือสารการศึกษา คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
              ่

ประวัติผู้เขียน
ชื่อผู้เขียน:     อาจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรณุ
                  สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
                  คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                                ุ
สถานที่ทำงาน: ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม
                                                          ุ
                  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                  1518 ถ.พิบลสงคราม บางซือ กรุงเทพฯ 10800
                              ู              ่
โทรศัพท์:         081 455 5741, 02 913 2500 ต่อ 3298
โทรสาร:           0 2587 8256
E-mail:           panitaw@kmutnb.ac.th
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
              • การวิจัยเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารเพื่อการศึกษา
              • จิตวิทยาการศึกษา
              • การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน
              • การจัดการเรียนการสอนบนเว็บ
              • การจัดการความรู้
                                  ***********************

More Related Content

What's hot

The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนPrachyanun Nilsook
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 

What's hot (10)

The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
Blended learning 2561
Blended learning 2561Blended learning 2561
Blended learning 2561
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 

Similar to Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Critical Thinking Skills

The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera Supa CPC
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3Prachyanun Nilsook
 
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยหลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยKanyarat Sirimathep
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act pptapiwat97
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...apiwat97
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 

Similar to Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Critical Thinking Skills (20)

The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
World class
World classWorld class
World class
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
 
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยหลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
บทที่2  ระบบการเรียนการสอนบทที่2  ระบบการเรียนการสอน
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGPanita Wannapiroon Kmutnb
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 

Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Critical Thinking Skills

  • 1. การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา เพือพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ่ ิ The Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Critical Thinking Skills ดร.ปณิตา วรรณพิรณ* ุ บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนแบบ ผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ การวิจยแบ่งออก ่ ่ ิ ั เป็น 4 ระยะ คือ 1) การศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรูปแบบ 2) การพัฒนารูปแบบการ เรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ 3) การ ่ ่ ิ ศึกษาผลของการใช้รปแบบ และ 4) การรับรองรูปแบบ กลุมตัวอย่างทีใช้ในการวิจย คือ นักศึกษา ู ่ ่ ั ระดับบัณฑิตศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ที่เรียนวิชาสื่อการเรียนการสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้จากการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 25 คน เรียนโดยใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานทีพฒนาขึนเป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ ู ่ ั ้ เครืองมือทีใช้ในการวิจย คือ รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนา ่ ่ ั ่ ่ ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ แบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณ (Cornell Critical Thinking Test ิ ิ Level Z) และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา ระยะเวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t-Test Dependent) ผลการวิจย พบว่า ั 1. องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 4 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการของรูปแบบการเรียนการสอน 2)วัตถุประสงค์ของรูปแบบการเรียนการสอน 3) กระบวนการเรียนการสอน และ 4) การวัดและประเมินผล; วัตถุประสงค์ของรูปแบบ คือ เพือพัฒนา ่ ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ; กระบวนการเรียนการสอน แบ่งออกเป็น 2 ขันตอน คือ 1) ขัน ิ ้ ้ การเตรียมการก่อนการเรียนการสอน และ 2) ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน; การวัดและ ประเมินผลใช้การวัดพัฒนาการของทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการประเมินตามสภาพจริง *อาจารย์ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ุ พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • 2. 153 วารสารวิทยบริการ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ 2. นักศึกษาที่เรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีคะแนนทักษะการคิดอย่าง มีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ นักศึกษา มีความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3. ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ทำการประเมินรูปแบบการเรียนการสอนแล้วมีความคิดเห็นว่า รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด คำสำคัญ: การเรียนแบบผสมผสาน, รูปแบบการเรียนการสอน, เครืองมือทางปัญญา, ทักษะการ ่ คิดอย่างมีวิจารณญาณ Abstract The objective the research study was to develop the blended learning model by using cognitive tools to develop critical thinking skills. The research and development (R&D) procedures was divided into four stages: 1) developing the main concept of the blended learning model by using cognitive tools to develop critical thinking skills (CTBL model), 2) developing the CTBL model, and 3) determining the results of CTBL model; 4) evaluating the CTBL model. The sample group of the study was 25 undergraduate students from King Mongkut's University of Technology North Bangkok who had enrolled to the Learning and Teaching Media on Computer Network in the first semester of 2011. The experiment period was ten weeks. The research tools were the CTBL model, the Cornell Critical Thinking Test Level Z, and the students’ satisfaction questionnaire. Data were analyzed using the frequency, the percentage, the arithmetic mean, the standard deviation and the t-Test for Dependent. The results of the study revealed those: 1. The CTBL model consisted of 4 components which were: 1) principles, 2) objectives, 3) instructional process and 4) evaluation. The objective of the model is to develop critical thinking skills. The instructional process consisted of two stages. The first stage was the preparing stage and the second stage was learning stage. The evaluation of learning was to measure a critical thinking skills development and authentic assessment. 2. The graduate students learned with the CTBL model had a statistically significant difference of the critical thinking skills posttest scores over the pretest scores .01 level. The students agree that the CTBL process was appropriateness at a high level of satisfaction. 3. The experts agree that a CTBL Model was appropriateness at an excellent level of satisfaction. Keywords: Blended Learning, Instructional Model, Cognitive Tools, Critical Thinking Skills
  • 3. 154 วารสารวิทยบริการ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ บทนำ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับการเรียนการสอนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) ทีได้รบการนิยมรูปแบบหนึงคือ การจัดการเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ่ ั ่ ซึ่งหมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่ผสมผสานการเรียนบนเว็บและการเรียนในห้องเรียนเป็น รูปแบบการเรียนที่ยืดหยุ่น ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนทั้งด้านรูปแบบ การเรียน รูปแบบการคิด ความสนใจและความสามารถของผูเรียนแต่ละคน [1] มีสัดส่วนการนำ ้ เสนอเนื้อหาบทเรียนผ่านทางอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 30-79 โดยใช้ร่วมกับการเรียนการสอนในห้อง เรียน หากมีสดส่วนของเนือหาบทเรียนทีนำเสนอทางอินเทอร์เน็ตน้อยกว่าร้อยละ 30 นัน ถือเป็นการ ั ้ ่ ้ ใช้เทคโนโลยีเว็บช่วยการเรียนการสอน [2] ในการออกแบบการเรียนแบบผสมผสานนันควรออกแบบ ้ และกำหนดกิจกรรม 3 ประการ คือ 1) การออกแบบและกำหนดกิจกรรมแบบฝึกหรือการทบทวน ความรูของผูเรียน 2) การออกแบบและกำหนดกิจกรรมให้ผเรียนได้เรียนรูรวมกัน (Collaboration) ้ ้ ู้ ้่ เพือเสริมสร้างทักษะทางสังคม และ 3) การออกแบบและกำหนดกิจกรรมการเรียนรูหลักเพือช่วยให้ ่ ้ ่ ผูเรียนได้เรียนรูตามวัตถุประสงค์ทกำหนดไว้ [3] สอดคล้องกับ e-Education ในแผนอุดมศึกษา ้ ้ ่ี ระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 - 2565 ได้กำหนดแนวนโยบายโครงสร้างพืนฐานการเรียนรูวา ้ ้่ รัฐควรให้การสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและภาคเอกชนในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือสารเพือการเข้าถึงและการลดช่องว่างของดิจตอล (Digital Divide) โดยเฉพาะอย่างยิงการให้ ่ ่ ิ ่ บริการการเรียนรูทางไกลและการเรียนรูผานสืออิเล็กทรอนิกส์ตางๆ ทังการศึกษาในระบบ นอกระบบ ้ ้ ่ ่ ่ ้ และตามอัธยาศัย การพัฒนาการคิดอย่างมีวจารณญาณเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทตองการให้เกิดแก่ผเรียน ิ ่ี ้ ู้ ตามจุดมุงหมายของการศึกษาตามพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 นอกจากนียงเป็น ่ ิ ้ั กระบวนการคิดทีจำเป็นและสำคัญทีสดสำหรับผูเรียนทุกระดับ เนืองจากเป็นกระบวนการคิดทีผาน ่ ุ่ ้ ่ ่ ่ การไตร่ตรองและพิจารณาจากข้อมูล หลักฐานทีมอยูมาเป็นอย่างดี ซึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน ่ ี ่ ่ สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณจึงถือเป็นพื้นฐานของ การคิดทังปวง [4] ้ การใช้เครืองมือทางปัญหาเป็นเครืองมือในการเรียนรูบนเว็บแบบผสมผสานและสภาพแวดล้อม ่ ่ ้ การเรียนรู้ที่เหมาะสมสามารถพัฒนาศักยภาพการคิดของผู้เรียน ได้แก่ การคิดอย่างสร้างสรรค์ (Creative Thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) การคิดอย่างมีเหตุผลและ การคิดขันสูงได้ [5] ้ จากความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้นจึงมีความจำเป็นต้องพัฒนารูปแบบ การเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ เพือ ่ ่ ิ ่ เป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณของนักศึกษา และพัฒนาการจัดการศึกษา ิ ทางไกลผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และปริมาณสอดคล้องกับความ ต้องการของประเทศต่อไป
  • 4. 155 วารสารวิทยบริการ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ วัตถุประสงค์การวิจย ั 1. วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2. วัตถุประสงค์เฉพาะ 2.1 เพื่อศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้ เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.2 เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนา ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.3 เพือศึกษาผลของการใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ่ ู ่ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน โดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่พัฒนาขึ้น 2.5 เพื่อรับรองรูปแบบการเรียนบนเว็บแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สมมติฐานของการวิจัย นักศึกษาทีเรียนโดยใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาทีพฒนาขึน ่ ู ่ ่ ั ้ มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ขอบเขตการวิจย ั 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กลุมตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัย ่ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ทีเรียนวิชาสือการเรียนการสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ ่ ่ จากการสุมอย่างง่าย จำนวน 25 คน ่ 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรอิสระ คือ รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ่ ตัวแปรตาม คือ คะแนนทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ และความคิดเห็นของผูเรียน ิ ้ 3. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง การศึกษาผลของการใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนา ู ่ ่ ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณใช้ระยะเวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ ิ
  • 5. 156 วารสารวิทยบริการ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ กรอบแนวคิดการวิจย ั กรอบแนวคิดการวิจย ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ 1) ทฤษฎีการเรียนรู้ 2) การเรียน ั โดยใช้เครืองมือทางปัญญา (cognitive tools) 3) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ (critical thinking ่ ิ skills) 4) การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (blended learning) 5) การออกแบบระบบ การเรียนการสอน (Instructional System Design: ISD) และ 6) กิจกรรมการเรียนการสอน เพือพัฒนาความคิดอย่างมีวจารณญาณ ดังรูปที่ 1 ่ ิ การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ทฤษฎีการเรียนรู (Thorne, [8]; Bonk & Graham, [9]) 1. การเรียนรูอยางมีความหมาย 1. การกําหนดจุดมุงหมายในแตละขั้นตอนการเรียน  2. การเรียนรูดวยโครงความคิดลวงหนาในโครงสราง  2. การจัดกิจกรรมระหวางการเรียนการสอน ทางปญญาในสมอง 3. การกําหนดทักษะความรูพนฐานที่จําเปนกอนการเรียน ื้ 3. การเรียนรูตามแนวคอนสตรัคติวิสต 4. การกําหนดจุดมุงหมายของการเรียน  5. การจัดการเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน 6. การประยุกตยุทธวิธในการจัดการเรียนการสอน ี การเรียนโดยใชเครืองมือทางปญญา 7. การกําหนดยุทธวิธการประเมินผล ี (Buzan & Buzan, [6] ) 1. ขันเตรียมการกอนการเรียนการสอน ้ การออกแบบระบบการเรียนการสอน 2. ขันศึกษาเนื้อหา ้ (Seele and Glagow, [10] ; Dick and Carrey, [11]) 2.1 ศึกษาเนื้อหาภาคทฤษฎี (Online) 2.2 ศึกษาเนื้อหาภาคปฏิบัติ (Face to Face) 1. การวิเคราะหและประเมินความตองการ 3. ขันการสรางแผนผังทางปญญาโดยใชเครื่องมือทางปญญา ้ 2. การกําหนดจุดมุงหมาย /วัตถุประสงค  3.1 ขันของการระดมสมอง ้ 3. การวิเคราะหคุณลักษณะของผูเ รียน (learner characteristics) 3.2 ขันจัดโครงสรางและรูปแบบ ้ 4. การสรางตนแบบ ออกแบบเนื้อหาที่สอดคลองกับ 3.3 ขันการแสดงความเชื่อมโยง ้ วัตถุประสงค และจัดเรียงลําดับเนื้อหา 3.4 ขันสรุปทบทวน้ 5. การกําหนดเวลาเรียน สถานที่ วิเคราะหกจกรรมและแหลง ิ 3.5 ขันการนําไปใชประโยชน ้ ทรัพยากรการเรียนรูสําหรับการเรียนการสอน 4. ขันการวัดและประเมินผล ้ 6. การกําหนดวิธการสอนและออกแบบกลยุทธการสอน ี 7. การพัฒนา/เลือกวัสดุการสอน สือการสอน และทรัพยากร ่ การสอน ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ 8. การเสริมทักษะและจัดกิจกรรมสนับสนุน ควบคุม (Ennis, [7]) ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการเรียนและการทดสอบ 9. การใหขอมูลยอนกลับเพือปรับปรุงการเรียนการสอน  ่ 1. การสรุปแบบนิรนัย 2. การใหความหมาย 3. การพิจารณาความนาเชื่อถือของแหลงขอมูลและการสังเกต กิจกรรมการเรียนการสอนเพือพัฒนา 4. การสรุปแบบอุปนัย ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ 5. การสรุปโดยการทดสอบสมมติฐานและการทํานาย (Woods, [12] ) 6. การนิยามและระบุขอสันนิษฐาน  1. เสนอปญหาหรือสถานการณ 2. กระตุนใหผเู รียนคิดวิเคราะหสถานการณ  3. สงเสริมใหผเู รียนตรวจสอบ คนหาเหตุผล 4. ใหผเู รียนตีความ สรุปความและประเมินสถานภาพ 5. ใหผเู รียนตัดสินใจเลือกคําตอบ 6. ใหผเู รียนตรวจคําตอบ 7. การประเมินผลขันสุดทายเพื่อใหไดขอสรุปที่เปนเหตุเปนผล ้  รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใชเครืองมือทางปญญา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ รูปที่ 1: กรอบแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา เพือพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ่ ิ
  • 6. 157 วารสารวิทยบริการ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ วิธีดำเนินการวิจัย การวิจยครังนีเป็นการวิจยและพัฒนา (Research and Development) แบ่งการวิจยเป็น 4 ั ้ ้ ั ั ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดย ใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 1. การศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รูปแบบการเรียน การสอน การเรียนการสอนแบบผสมผสาน การเรียนโดยใช้เครืองมือทางปัญญา และทักษะการคิด ่ อย่างมีวิจารณญาณ 2. ศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน 2.1 ศึกษาข้อมูลด้านการจัดการเรียนการสอน โดยการสัมภาษณ์อาจารย์ผสอนในสถาบัน ู้ อุดมศึกษา จำนวน 20 ท่าน จาก 11 มหาวิทยาลัย ทังมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน เพือให้ได้ ้ ่ ข้อมูลเกี่ยวกับ สภาพ ปัญหาและแนวทางในการการจัดการเรียนการสอนบนเว็บ การเรียนโดยใช้ เครืองมือทางปัญญา และคุณลักษณะของผูเรียนในเรืองของความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถใน ่ ้ ่ การใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลผ่านเว็บ 2.2 ศึกษาข้อมูลคุณลักษณะของผูเรียน โดยการสัมภาษณ์นกศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ้ ั จำนวน 40 คน จาก 4 มหาวิทยาลัย ทังมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน เพือให้ได้ขอมูลเกียวกับ ้ ่ ้ ่ ความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลผ่านเว็บ และสิ่งที่นักศึกษาต้องการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนา ่ ่ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ตามขั้นตอนการออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Design: ISD) 5 ขันตอน ดังนี้ ้ 1. ขันการวิเคราะห์ (Analysis) วิเคราะห์เนือหา สร้างแผนภาพมโนทัศน์เป็นการเริมต้น ้ ้ ่ ขอบเขตเนื้อหา วิเคราะห์คุณลักษณะและรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และ วิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา 2. ขันการออกแบบ (Design) ออกแบบจุดประสงค์ ออกแบบโครงข่ายเนือหา ออกแบบ ้ ้ ยุทธศาสตร์การเรียน 2 ขันตอน คือ 1 การศึกษาเนือหา 1.1) การศึกษาเนือหาภาคทฤษฎีแบบ ้ ้ ้ ออนไลน์ 1.2) การศึกษาเนือหาภาคปฏิบตในห้องเรียน 2) กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดย ้ ั ิ ใช้เครืองมือทางปัญญา ประกอบด้วย 5 ขันตอนย่อย คือ 2.1) ขันการระดมสมอง 2.2) ขันการจัด ่ ้ ้ ้ โครงสร้างและรูปแบบ 2.3) ขันการแสดงความเชือมโยง 2.4) ขันการสรุปทบทวน และ 2.5) ขันการ ้ ่ ้ ้ นำไปใช้ประโยชน์ 3. ขันการพัฒนา (Development) พัฒนาเครืองมือตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดย ้ ่ ใช้เครืองมือทางปัญญา ได้แก่ ระบบบริหารจัดการเรียนรูโดยใช้ MOODLE คูมอผูดแลระบบและ ่ ้ ่ ื ้ ู
  • 7. 158 วารสารวิทยบริการ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ คูมอการเรียน พัฒนาเครืองมือทีใช้ในการศึกษาผลการวิจย ได้แก่ แบบวัดทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ่ื ่ ่ ั ิ และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา 4. ขันการนำไปทดลองใช้ (Implementation) การทดสอบแบบหนึงต่อหนึง (One-to-one ้ ่ ่ testing) และการทดสอบกับกลุมเล็ก (Small group testing) เพือนำข้อมูลมาปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่อง ่ ่ ของรูปแบบ และการทดลองนำร่อง (Field trial) โดยให้นกศึกษาทีไม่ใช่กลุมตัวอย่าง จำนวน 15 คน ั ่ ่ 5. ขันการประเมินผล (Evaluation) ประเมินคุณภาพรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดย ้ ใช้เครื่องมือทางปัญญา โดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน และประเมินคุณภาพระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ด้านเนือหาและด้านโดยผูเชียวชาญ ่ ้ ้ ่ ระยะที่ 3 การศึกษาผลของการใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ู ่ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การศึกษาผลของการใช้รปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ดำเนินการ ู ่ ตามแบบแผนการวิจยแบบ One Group Pretest-Posttest Design [13] ั O1 X O2 มีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้ 3. ขั้นเตรียมการก่อนการทดลอง 3.1 ปฐมนิเทศนักศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ ทางปัญญา การวัดและประเมินผล และฝึกปฏิบตการใช้เครืองมือตามรูปแบบการเรียน ั ิ ่ 3.2 วัดและประเมินผลทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณก่อนเรียนและแจ้งผลการประเมิน ิ ให้แก่นักศึกษา 4. ขันดำเนินการทดลอง ้ 4.1 ให้นักศึกษาเรียนรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ 4.2 วัดและประเมินผลทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณหลังเรียนและแจ้งผลการประเมิน ิ ให้แก่นกศึกษา และสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา ั ระยะที่ 4 การรับรองรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนา ่ ่ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ นำเสนอรูปแบบให้ผทรงคุณวุฒจำนวน 5 ท่าน ประกอบด้วย ผูทรงคุณวุฒดานการออกแบบ ู้ ิ ้ ิ ้ การเรียนการสอน การเรียนการสอนแบบผสมผสาน การเรียนการสอนโดยใช้เครืองมือทางปัญญา และ ่ ด้านทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยเป็นผูทมความเชียวชาญ ิ ้ ่ี ี ่ ในด้านที่เกี่ยวข้อง มีประสบการณ์วิจัยหรือผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 5 ปี ทำการประเมินเพื่อ รับรองรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาฯ ทีพฒนาขึน ่ ่ ั ้
  • 8. 159 วารสารวิทยบริการ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ สรุปผลการวิจย ั ตอนที่ 1 รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการคิด ่ ่ อย่างมีวิจารณญาณ 1. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนา ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะ ่ ่ การคิดอย่างมีวจารณญาณทีพฒนาขึน ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบ ดังนี้ ิ ่ ั ้ 1.1 หลักการของรูปแบบการเรียนการสอน 1.2 วัตถุประสงค์ของรูปแบบการเรียนการสอน 1.3 กระบวนการเรียนการสอน 1.4 การวัดและประเมินผล 2. กระบวนการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการ ่ ่ คิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะการคิด ่ ่ อย่างมีวจารณญาณ ประกอบด้วยขันตอนการเรียนการสอน 2 ขันตอน ดังนี้ ิ ้ ้ 2.1 ขั้นการเตรียมการก่อนการเรียนการสอน เป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ผูสอนและผูชวยสอน เกียวกับกิจกรรมการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียน รวมถึง ้ ้่ ่ การสร้างแรงจูงใจในการเรียนให้กับผู้เรียน 2.2 ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอน ประกอบด้วยขั้นตอนที่ผสมผสานระหว่าง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เครืองมือทางปัญญา และกิจกรรมการเรียนการสอนเพือพัฒนา ่ ่ ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ โดยมีทงกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนและการเรียนการสอน ิ ้ั บนเว็บ ประกอบด้วยขันตอนและกิจกรรม 2 ขันตอนใหญ่ 7 ขันตอนย่อย ดังนี้ ้ ้ ้ ขันที่ 1 การศึกษาเนือหา ประกอบด้วย 2 ขันตอนย่อย ดังนี้ ้ ้ ้ 1. การศึกษาเนื้อหาภาคทฤษฎี 2. การศึกษาเนื้อหาภาคปฏิบัติ ขันที่ 2 กระบวนการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ประกอบด้วย ้ ่ 5 ขันตอนย่อย ดังนี้ ้ 1. ขันการระดมสมอง (Brainstorming Phase) ้ 2. ขันการจัดโครงสร้างและรูปแบบ (Organizing Phase) ้ 3. ขันการแสดงความเชือมโยง (Linking Phase) ้ ่ 4. ขันการสรุปทบวน (Finalizing the Concept Map) ้ 5. ขันการนำไปใช้ประโยชน์ (Utilization Phase) ้
  • 9.
  • 10.
  • 11. 162 วารสารวิทยบริการ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ พึงพอใจกิจกรรมขันที่ 3 ขันการระดมสมองมากทีสด (X= 4.45, S.D. = 0.62) รองลงมาได้แก่ ้ ้ ุ่ ขันที่ 2 ศึกษาเนือหาภาคปฏิบติ (X= 4.39, S.D.= 0.66) และขันที่ 1 ศึกษาเนือหาภาคทฤษฎี ้ ้ ั ้ ้ ขันที่ 6 ขันการสรุปทบวน (X= 4.33, S.D.= 0.69) ตามลำดับ ้ ้ ตอนที่ 3 ผลการรับรองรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาทักษะ ่ ่ การคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ตารางที่ 3 ความเหมาะสมเกียวกับองค์ประกอบของรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ่ ข้อคำถาม ขอคําถาม S.D. ความ x เหมาะสม องคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน 1. หลักการและแนวคิด 5.00 0.00 มากที่สด ุ 2. วัตถุประสงคของรูปแบบ มากที่สด ุ การเรียนการสอน 4.80 0.45 3. กระบวนการเรียนการสอน 5.00 0.00 มากที่สดุ 4. การวัดและประเมินผล 5.00 0.00 มากที่สด ุ ภาพรวมดานองคประกอบ 4.95 0.22 มากที่สุด จากตารางที ่ 3 พบว่ า ในภาพรวมด้ า นองค์ ป ระกอบของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฯ ผูทรงคุณวุฒเห็นว่ามีความเหมาะสมอยูในระดับมากทีสด (X= 4.95, S.D. = 0.22) โดยค่าเฉลีย ้ ิ ่ ุ่ ่ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับคือ องค์ประกอบด้านหลักการและแนวคิด (X=5.00, S.D.= 0.00) ด้านกระบวนการเรียนการสอน (X= 5.00, S.D. = 0.00) และด้านการวัดและประเมินผล (X= 5.00, S.D. = 0.00) ตามลำดับ อภิปรายผล 1. รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาทีพฒนาขึน สามารถพัฒนา ่ ่ ั ้ พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณหลังเรียนให้สงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ ิ ู ั ิ ่ี .01 ซึงสอดคล้องกับงานวิจยของ ธีรดี ถังคบุตร [14] พบว่า การเรียนโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ่ ั ่ เป็นวิธีสอนที่ส่งเสริมความสามารถในทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนได้ 2. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอนในภาพรวมอยูในระดับมาก ่ และมีความเห็นว่าจากการจัดกระบวนการเรียนการสอนทำให้นกศึกษาสามารถติดต่ออาจารย์ได้มากขึน ั ้ การเรียนการสอนในลักษณะนีทำให้นกศึกษาได้ลงมือปฏิบตมากขึน นักศึกษาเข้าใจเนือหาภาคปฏิบติ ้ ั ั ิ ้ ้ ั มากขึน และนักศึกษาต้องการให้สอนในลักษณะนีในวิชาอืนๆ สอดคล้องกับแนวคิดของ Bonk & ้ ้ ่
  • 12. 163 วารสารวิทยบริการ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ Graham [9] ทีกล่าวว่า กิจกรรมการเรียนสอนแบบผสมผสานทำให้ผเรียนสามารถเรียนรูได้อย่างอิสระ ่ ู้ ้ ส่งผลให้เกิดการเรียนทีกระฉับกระเฉง (Active Learning) ทำให้ผเรียนเป็นผูทมความกระฉับกระเฉง ่ ู้ ้ ่ี ี ในการเรียนรู้ (Active Learner) และสามารถลดเวลาในการเข้าชันเรียนได้ นอกจากนีการเรียนแบบ ้ ้ ผสมผสานยังมีสวนสนับสนุนปฏิสมพันธ์ระหว่างผูเรียนกับผูเรียนด้วยกัน และผูเรียนกับผูสอนโดยการ ่ ั ้ ้ ้ ้ ติดต่อแบบส่วนตัว ช่วยให้การเรียนรูดขน [8] และช่วยให้ผเรียนมีสวนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ ้ ี ้ึ ู้ ่ มากขึ้น เอกสารอ้างอิง [1] Bonk, C. J., & Graham, C. R. (2004). Handbook of blended learning: Global perspectives. San Francisco: Pfeiffer Publishing. [2] Allen, I. E., & Seaman, J. (2005). Growing by Degrees: Online education in the United States, 2005. The Sloan Consortium. Retrieved from http://www.sloan-c.org/ publications/survey/pdf/growing_by_degrees.pdf [3] Bersin, J. (2004). The blended learning book: Best practices, proven methodologies, and lessons learned. San Francisco: Pfeiffer. [4] ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน: องค์ความรูเพือการจัดกระบวนการเรียนรูทมี ้ ่ ้ ่ี ประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครังที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ้ ุ [5] Jonassen, David H. (1999). Handbook of research for educational communications and technology: A project of the association for educational communications and technology. New York: Macmillan Library References. [6] Buzan, T., & Buzan, B. (1997). The ทind Map books: Radiant thinking. London: BBC. Books. [7] Ennis, R. H. (1989). Critical thinking and subject specificity. Educational Researcher, 18(3), 4-10. [8] Thorne, K. (2003). Blended learning: How to integrate online and traditional learning. London: Kogan Page. [9] Bonk, C. J. & Graham, C. R. (2004). Handbook of blended learning: Global perspectives. San Francisco: Pfeiffer Publishing. [10] Seels, B., & Glasgow, Z. (1997). Making instructional design Decisions. Columbus, OH: Prentice Merrill. [11] Dick, W., Carey, L., & Carey, J. (2001). The Systematic design of instruction. (5th ed). London: Addison - Wesley Educational.
  • 13. 164 วารสารวิทยบริการ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๕ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ [12] Woods, D. R. (1994). Problem-Based Learning: How to gain the most from PBL. Hamilton: W.L. Griffin Printing Limited. [13] William, W. & Stephen G. J. (2009). Research methods in education: An introduction. (9th ed). Boston: Pearson. [14] ธีรวดี ถังคบุตร. (2552). การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยใช้แผนผังทางปัญญาเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับ นักศึกษาปริญญาบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีและ ั สือสารการศึกษา คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ่ ประวัติผู้เขียน ชื่อผู้เขียน: อาจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรณุ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ุ สถานที่ทำงาน: ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม ุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1518 ถ.พิบลสงคราม บางซือ กรุงเทพฯ 10800 ู ่ โทรศัพท์: 081 455 5741, 02 913 2500 ต่อ 3298 โทรสาร: 0 2587 8256 E-mail: panitaw@kmutnb.ac.th สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ • การวิจัยเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารเพื่อการศึกษา • จิตวิทยาการศึกษา • การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน • การจัดการเรียนการสอนบนเว็บ • การจัดการความรู้ ***********************