SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
เทคนิคการจัดการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วย
รูปแบบต่าง ๆ
1
2
ระดับการเรียนรู้ด้านการรู้คิดหรือด้านสติปัญญา ตาม
แนวคิดของกาเย่ (Gagne’) ประกอบด้วย
1. การเรียนรู้ข้อเท็จจริง (Learning Facts)
2. การสร้างความคิดรวบยอด
(Forming Concept)
3. การเรียนรู้หลักการ (Learning Principles)
4. การเรียนรู้การแก้ปัญหา (Problem Solving)
3
การจัดการเรียนแบบสร้างองค์ความรู้
(Constructivist Learning)
แนวคิดที่สาคัญของ Constructivism
1. ผลการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้
ความรู้ และประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
2. เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างมโนทัศน์ ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มากกว่าการรับฟัง
3. ผู้เรียนเป็นผู้รับผิดชอบการเรียนรู้ และสร้าง
องค์ความรู้ด้วยตนเอง
4
การจัดการเรียนแบบสร้างองค์ความรู้
(Constructivist Learning)
องค์ประกอบที่สาคัญของ Constructivism
1. กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน และความสาคัญ
ของความรู้เดิม
2. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความรู้ด้วยตนเอง
และสามารถองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
5
การจัดการเรียนแบบสร้างองค์ความรู้
(Constructivist Learning)
องค์ประกอบที่สาคัญของ Constructivism
3. ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจน
ค้นพบความรู้และรู้จักสิ่งที่ค้นพบ เรียนรู้การคิดวิเคราะห์
และสารวจค้นคว้าจนเกิดความรู้ที่แท้จริง
4. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการกลุ่ม อันเป็นพื้นาาน
ของการดารงชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุข
6
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ
Constructivism
1. ขั้นแนะนา (Orientation) เป็นขั้นที่ผู้เรียนรับรู้
จุดมุ่งหมายการเรียนและเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้
2. ขั้นทบทวนความรู้เดิม (Elicitation of the Prior
Knowledge) เป็นขั้นที่ผู้เรียนแสดงออกถึงความรู้เดิมที่
มีอยู่ในเรื่องที่กาลังจะเรียนรู้
7
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ
Constructivism
3. ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (Turning
Restructuring of Ideas) ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย คือ
3.1 ทาความกระจ่าง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้/
ความคิดระหว่างผู้เรียน
3.2 สร้างความคิดใหม่ จากการอภิปราย ระดม
ความคิด สาธิตทดลอง และปฏิบัติร่วมกัน
3.3 ตรวจสอบทบทวน และประเมินความคิดใหม่
8
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ
Constructivism
4. ขั้นการนาความคิดไปใช้ (Application of Ideas)
เป็นขั้นที่ผู้เรียนมีโอกาสใช้แนวคิด /ความรู้ความเข้าใจ
มาพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
5. ขั้นทบทวน (Review) เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะได้
ทบทวนความคิด ความเข้าใจโดยการเปรียบเทียบ
ความคิดเดิมกับความคิดใหม่
9
แนวคิดการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
(Knowledge Management)
เป็นการเรียนรู้ที่เสริมสร้างให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วย
การฝึกทักษะการใช้กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การสังเกต
การรวบรวมข้อมูล และการปฏิบัติจริง ทาได้ คิดเป็ น
ทาเป็ น ผู้เรียนมีอิสระในการคิดและแสดงออกอย่างเต็มใจ
มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทั้งระบบ ครูเป็ นผู้เสนอแนะ ผู้ร่วม
เรียนรู้ ผู้รับฟัง เป็ นที่ปรึกษา เป็ นผู้สร้างโอกาสและ
บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้
10
แนวคิดการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
(Knowledge Management)
เป็นการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนมีบทบาทมากที่สุด
ในการเรียนรู้ ต้องการให้ผู้เรียนเรียนในสิ่งที่มีความหมายต่อ
ชีวิต โดยใช้แหล่งเรียนรู้เป็นสื่อ ประสบการณ์ชีวิต
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาเป็นาานการเรียนรู้ และการ
ประยุกต์ใช้
ผู้เรียนมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมตามความต้องการ
ความสนใจใฝ่ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องในทุกโอกาส
11
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
(Knowledge Management)
ขั้นที่ 1 ขั้นการสารวจความรู้
ขั้นที่ 2 ขั้นการเรียนรู้
ขั้นที่ 3 ขั้นการประเมินผล (ตามสภาพจริง)
ขั้นที่ 4 ขั้นนาความรู้ไปใช้
ขั้นที่ 5 ขั้นประยุกต์ความรู้และเผยแพร่ผลงาน
12
แนวคิดการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นาาน
(Problem-Based Learning)
ลักษณะสาคัญของการจัดการเรียนรู้
1. มีสถานการณ์ปัญหาเป็นสิ่งกระตุ้นให้เกิด
กระบวนการเรียนรู้ และเป็นปัญหาที่ปรากฏในชีวิตจริง
2. เป็นการเรียนรู้โดยการนาตนเอง (Self-Directed
Learning) ผู้เรียนคิดวางแผน เลือกวิธีการเพื่อค้นหา
และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งการประเมินผล
13
แนวคิดการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นาาน
(Problem-Based Learning)
ลักษณะสาคัญของการจัดการเรียนรู้
3. จัดให้ผู้เรียนเรียนเป็นกลุ่มย่อย เพื่อให้เกิดการ
ร่วมมือกันในการเรียนรู้
4. เป็นการเรียนรู้ที่มีลักษณะการบูรณาการในการเรียนรู้
และใช้ทักษะกระบวนการต่างๆ ในการเรียนรู้
5. ใช้กระบวนการประเมินผลตามสภาพจริง
14
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นาาน
(Problem-Based Learning/ PBL)
1. ขั้นกาหนดปัญหา
2. ขั้นทาความเข้าใจกับปัญหา
3. ขั้นดาเนินการศึกษาค้นคว้า
4. ขั้นการสังเคราะห์ความรู้
5. ขั้นการสรุปและประเมินค่าของคาตอบ
6. ขั้นการนาเสนอและประเมินผลงาน
15
แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
เป็นการจัดการเรียนรู้โดยให้นักเรียนเผชิญปัญหาหรือ
สถานการณ์ที่ทาให้เกิดข้อสงสัย และกระตุ้นให้เกิดความ
ต้องการที่จะแสวงหาคาตอบหรือความรู้ แล้วคิดหาวิธีการเพื่อ
บรรลุความต้องการดังกล่าว เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความหมาย โดยผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทักษะการสังเกต
การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การตีความ และการสรุปความ
ด้วยหลักตรรกะ/เหตุและผล ตามขั้นการเรียนรู้ที่เริ่มจากการ
ปฏิบัติจริง ภาพความคิด และสัญลักษณ์ที่เป็นนามธรรม
16
ขั้นการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
(Problem Solving)
1. ขั้นการกาหนดปัญหา
2. ขั้นตั้งสมมติาาน
3. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
5. ขั้นสรุปและประเมินผล
17
แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ (Creative Thinking)
เป็นการเรียนรู้ที่เสริมสร้างกระบวนการทาง
ปัญญาของผู้เรียน โดยพิจารณาจากผลงานที่ผลิต
กระบวนการที่จัดทา ทักษะที่ใช้ปฏิบัติและบุคลิกภาพ
ของบุคคล ซึ่งจาแนกเป็นความคิดสร้างสรรค์ด้านการ
เปลี่ยนแปลง ด้านการสังเคราะห์ ด้านการขยาย
แนวคิดและปรับเปลี่ยนจากสิ่งที่มีอยู่เดิม
18
แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของ Guilford ได้แก่
1. การคิดคล่อง (Fluency Thinking)
2. การคิดยืดหยุ่น (Flexibility Thinking)
3. การคิดริเริ่ม (Originality Thinking)
4. การคิดละเอียดลออ (Elaborative Thinking)
19
แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของ Torrance ได้แก่
1. ขั้นเริ่มต้นการคิด ที่เริ่มจากความต้องการ/พอใจ
และรวบรวมข้อเท็จจริงเพื่อสร้างความกระจ่างใน
ปัญหาข้อสงสัยนั้น
2. ขั้นครุ่นคิด เพื่อหาแนวทาง/วิธีการแก้ปัญหา
3. ขั้นเกิดความคิดเพื่อหาคาตอบ
4. ขั้นปรับปรุงความคิดให้ชัดเจนสมบูรณ์
20
ทฤษฎีการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์รูปแบบ AUTA
1. การตระหนัก (Awareness)
2. การสร้างความเข้าใจ (Understanding)
3. การใช้เทคนิคเสริมสร้างการคิด (Techniques)
4. การใช้ศักยภาพในการปฏิบัติจริง
(Actualization)
21
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ในทัศนะของ Torrance
1. ส่งเสริมให้ใช้คาถาม
2. ให้ความใส่ใจในความคิดแปลกๆ ของผู้เรียน
3. กระตือรือร้นที่จะตอบคาถามของผู้เรียน
4. แสดงให้เห็นว่าความคิดของผู้เรียนนั้นมีคุณค่า
5. กระตุ้น/ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
6. ให้โอกาสและส่งเสริมการคิดอย่างอิสระ ต่อเนื่อง
และใช้การเสริมแรงที่เหมาะสม
22
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนเพื่อพัฒนาความคิด
สร้างสรรค์ของนักเรียน
1. ขั้นสร้างความตระหนัก (ให้เกิดการคิดจินตนาการ)
2. ขั้นระดมพลังความคิด (ให้สามารถคิดค้นหาคาตอบ)
3. ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน
4. ขั้นนาเสนอผลงาน (ใช้การคิดวิพากษ์/มีคุณธรรม)
5. ขั้นวัดประเมินผลงาน (เน้นการประเมินผลงาน
ตนเองและผลงานผู้อื่นตามสภาพจริง)
6. ขั้นเผยแพร่ผลงาน
23
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้คาถามหมวก
ความคิด 6 ใบ ของ Edward De Bono
ใช้ในการพัฒนาทักษะการคิด อารมณ์และความรู้สึก
1. สีขาว หมายถึง ความเป็นกลาง แสดงการคิด
เกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง
2. สีแดง หมายถึง ความรู้สึกอารมณ์โกรธ ความ
ประทับใจ ความสนุกสนาน
3. สีดา หมายถึง การมองอย่างระมัดระวัง การคิด/
แสดงออกอย่างสุขุม รอบคอบ
24
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้คาถามหมวก
ความคิด 6 ใบ ของ Edward De Bono
ใช้ในการพัฒนาทักษะการคิด อารมณ์และความรู้สึก
4. สีเหลือง หมายถึง การคิดในทางบวก จุดเด่น
ประโยชน์ ความมั่นคง และการยอมรับ
5. สีเขียว หมายถึง ความคิดในการเปลี่ยนแปลงและ
การสร้างสรรค์
6. สีฟ้ า หมายถึง การคิดอย่างเป็นระบบ มีการควบคุม
และจัดการอย่างเป็นระบบ
25
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้คาถามหมวก
ความคิด 6 ใบ ของ Edward De Bono
จัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนใช้คาถามประกอบการเรียน
ตามขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
2. ขั้นดาเนินการสอน โดยจัดสถานการณ์หรือเหตุการณ์
ให้ผู้เรียนใช้คาถามแต่ละแบบ ตามที่ตนได้รับมอบหมาย
3. ขั้นสรุป (ให้ผู้เรียนสรุปตามจุดประสงค์ของกิจกรรม)
4. ขั้นประเมินผล
26
แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน
เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถภาพการ
เรียนรู้ตามแนวคิดของบลูม การใช้ปัญหาเป็นาาน การ
สร้างองค์ความรู้ และการเรียนรู้แบบร่วมมือ
ขั้นตอนพื้นาานในการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย
1. ขั้นการเริ่มต้นโครงงาน (Beginning)
2. ขั้นพัฒนาโครงงาน
3. ขั้นสรุปโครงงาน (Culmination)
27
แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน
ขั้นตอนปรับขยายในการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย
1. ขั้นนาเสนอ (สารวจสถานการณ์/ประเด็นปัญหา)
2. ขั้นวางแผนโครงงาน
3. ขั้นปฏิบัติกิจกรรมโครงงาน
4. ขั้นประเมินโครงงาน
28
แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน
ขั้นตอนปรับขยายในการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย
1. ขั้นสารวจและเลือกประเด็นโครงงาน
2. ขั้นวางแผนโครงงาน
3. ขั้นปฏิบัติกิจกรรมโครงงาน
4. ขั้นทบทวนและนาเสนอความก้าวหน้าผลงาน
ระยะแรก
5. ขั้นปฏิบัติกิจกรรมต่อเนื่องและสรุปผลระยะที่ 2
29
แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน
ขั้นตอนปรับขยายในการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย
6. ขั้นสรุปผลโครงงานระยะที่สอง
7. ขั้นขยายความรู้และนาผลไปประยุกต์ใช้
8. ขั้นสรุปและประเมินผลระยะสุดท้าย
30
แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์
ขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย
1. ขั้นจัดประสบการณ์ (ขั้นลงมือทากิจกรรมจาก
สภาพจริง หรือสถานการณ์ที่จัดไว้ให้ผู้เรียนเลือก)
2. ขั้นนาเสนอและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
3. ขั้นอภิปรายผล
4. ขั้นสรุปพาดพิงสู่หลักการ (Generalizing)
5. ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้
31
ขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
1. กาหนดบทเรียนที่จะสอน
2. กาหนดโครงสร้างของกลุ่มที่เหมาะสม
3. กาหนดวัตถุประสงค์ของบทเรียนและบทบาทการทางาน
4. กาหนดแนวทางการติดตามงานและความก้าวหน้าของ
ผู้เรียน
32
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of
Cooperative Learning /Collaborative
Learning)
นักการศึกษาที่เผยแพร่แนวคิดนี้ ได้แก่ Slavin, David
Johnson, Roger Johnson โดยเน้นปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ที่มีองค์ประกอบ
3 ลักษณะ คือ
1. การแข่งขันกันของผู้เรียน
2. การเรียนรู้รายบุคคลของแต่ละคน
3. การร่วมมือกันหรือช่วยกันในการเรียนรู้
33
หลักการ/องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
1. มีการพึ่งพาและเกื้อกูลกัน (Positive interdependence)
2. มีการปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด (Face- to- face
Promotive Interaction)
3. มีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของสมาชิกแต่ละคน
(Individual Accountability)
4. มีการใช้ทักษะปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการ
ทางานกลุ่มย่อย (Interpersonal and Small-group Skills)
5. มีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (Group Processing)
34
รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ
1. รูปแบบ JIGSAW 2. รูปแบบ STAD (Student
Teams-Achievement Division) 3. รูปแบบ TAI
(Team-Assisted Individualization) 4. รูปแบบ
TGT (Team Games Tournament) 5. รูปแบบ
L.T. (Learning Together) 6. รูปแบบ G.I.
(Group Investigation) 7. รูปแบบ CIRC
(Cooperative Integrated Reading and
Composition) 8. รูปแบบ Complex Instruction
35
รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ
1. รูปแบบ JIGSAW : 1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละกันตาม
ความสามารถ เรียกว่า Home Group
2. มอบหมายให้สมาชิกแต่ละคนศึกษางานแต่ละประเด็นที่เกี่ยว
ของกับงานกลุ่ม 3. สมาชิกแยกย้ายไปศึกษาหาความรู้กับ
สมาชิกกลุ่มอื่นที่เป็นกลุ่มเชี่ยวชาญ(Expert Group) 4. นา
ความรู้กลับไปเสนอให้เพื่อนสมาชิกไปเรียนรู้ร่วมกัน 5.
สมาชิกแต่ละคนทดสอบความรู้และสรุปผลเป็นรายกลุ่ม
36
รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ
2. รูปแบบ STAD (Student Teams-Achievement
Division) : 1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ
2. ทากิจกรรมเรียนรู้ร่วมกัน สมาชิกแต่ละคนทา
กิจกรรม/แบบฝึกหัด เก็บคะแนนไว้เป็นคะแนนพื้นาาน
ก่อนทากิจกรรมและแบบฝึก 3. ทา
แบบทดสอบครั้งสุดท้าย 4.
วิเคราะห์คะแนนพัฒนาการโดยใช้เกณฑ์ที่เหมาะสม
เช่น ไม่พัฒนาการ ได้ 0 คะแนน พัฒนาการ 1-5 ได้ 5
คะแนน พัฒนาการ 6-10 ได้ 10 คะแนน
37
รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ
3. รูปแบบ TAI (Teams Assisted Individualized) :
1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ
2. ให้นักเรียนเก่ง-อ่อน จับคู่เพื่อศึกษาใบงานและทา
แบบฝึกร่วมกัน โดยกาหนดเกณฑ์การผ่าน แบบฝึก
75% ถ้าผลการทาแบบฝึกยังไม่ผ่านให้ใช้ชุดเดิมหรือ
แบบฝึกชุดใหม่ที่ง่ายกว่า
3. ทาแบบทดสอบครั้งสุดท้าย และสรุปผลการเรียนเป็น
ความสาเร็จของกลุ่ม
38
รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ
4. รูปแบบ LT (Learning Together) :
1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ
2. แบ่งหน้าที่ทากิจกรรมใบงานโดยแบ่งหน้าที่ของ
สมาชิกแต่ละคน ตามความสนใจและเหมาะสม เช่น
อ่านใบงาน จดบันทัก เขียนคาถาม เสนอความเห็น
ตรวจให้คะแนนประเมินผลงาน หรือนาเสนอผลงาน
หน้าชั้นเรียน
3. ทาแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคล
4. สรุปผลการทดสอบเป็นคะแนนของกลุ่ม
39
รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ
5. รูปแบบ GI (Group Investigation) :
1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ
2. ทากิจกรรมใบงานตามที่ได้รับมอบหมาย โดยแบ่ง
ประเด็นเนื้อหาออกเป็นหัวข้อย่อย และมอบให้สมาชิก
แต่ละคนตามความสนใจและความเหมาะสมไปศึกษา
ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่ครูจัดให้ หรือแหล่งอื่นๆ
3. นาผลการสารวจค้นคว้าของสมาชิกแต่ละคน มาสรุป
รวมเป็นผลงานของกลุ่ม
4. กลุ่มนาเสนอผลงานด้วยวิธีการที่เหมาะสม
40
การจัดการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้
(Learning Cycle) แบบ 5Es ในทัศนะของ
โครงการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขา
ชีววิทยาในสหรัาอเมริกา (BSCS) มีดังนี้
1. ขั้นสร้างความสนใจ(Engagement Phase)
2. ขั้นสารวจ (Exploration Phase)
3. ขั้นอธิบายความรู้ (Explanation Phase)
4. ขั้นขยายหรือประยุกต์ใช้ความรู้
(Expansion Phase)
5. ขั้นประเมินผลความรู้(Evaluation Phase)
41
การจัดการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้
(Learning Cycle) แบบ 7Es ประกอบด้วย
1. ขั้นเตรียมความรู้พื้นาาน (Eliciting Phase)
2. นาสร้างความสนใจ (Engagement Phase)
3. ขั้นสารวจ (Exploration Phase)
4. ขั้นอธิบายความรู้ (Explanation Phase)
5. ขั้นคิดขยายความรู้(Elaboration Phase)
6. ขั้นประเมินผลความรู้(Evaluation Phase) 7.
ขั้นนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Extension Phase)
42
การจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA
1. ขั้นทบทวนความรู้เดิม
2. ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่
3. ขั้นทาความเข้าใจข้อมูลความรู้ใหม่ เพื่อ
เชื่อมโยงกับความรู้เดิม
4. ขั้นแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม
5. ขั้นสรุปและการจัดระเบียบความรู้
6. ขั้นการปฏิบัติและแสดงผลงาน
7. ขั้นการประยุกต์ใช้ความรู้
43
ชนิด/แบบการเรียนรู้ของ Gagne ประกอบด้วย 8 แบบ
แบบที่ 1 การเรียนรู้ด้วยสัญญาณ (Signal
learning) เป็นการเรียนรู้ระดับพื้นฐานมีลักษณะที่ง่าย
โดยผู้เรียนจะมีพฤติกรรมตอบสนองตามเงื่อนไขสัญญาณที่จัด
ให้ เช่น ลักษณะอาการหรือพฤติกรรมแสดงออกเมื่อเผชิญสิ่ง
เร้า หรือเหตุการณ์ที่มีอารมณ์แบบต่างๆ
แบบที่ 2 การตอบสนองสิ่งเร้า (Stimulus
response) เป็นพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนเมื่อได้
ยินหรือรับรู้คาสั่ง คาขอร้องให้ปฏิบัติในสถานการณ์ต่างๆ
44
ชนิด/แบบการเรียนรู้ของ Gagne ประกอบด้วย 8 แบบ
แบบที่ 3 การเคลื่อนไหวทางกายแบบต่อเนื่อง
(Motor chains) เป็นการเชื่อมโยงทักษะทางกายที่
ซับซ้อนของผลการตอบสนองสิ่งเร้าตั้งแต่ 2 ทักษะขึ้นไป เช่น
การเขียนอักษรหรือพยัญชนะแต่ละตัวหรือเขียนเป็นคาหรือ
ทักษะการเคลื่อนไหวด้านอื่น
แบบที่ 4 ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของข้อความ (Verbal
association) เป็นการเชื่อมโยงคาหรือความคิดตั้งแต่สอง
ส่วนขึ้นไป เช่น การแปลความมายหรือคาข้อความสั้นๆ
45
แบบที่ 5 การจาแนกแบบหลายระดับ (Multiple
discriminations) เป็นการตอบสนองในการนาเสนอ
แนวทางหรือวิธีการที่แตกต่างกัน และแจกแจงด้วยประเด็นที่
ไม่เหมือนกันในแต่ละแนวทางหรือแต่ละวิธีการ เช่น การ
จาแนกความเหมือนและความต่างระหว่างหญ้ากับต้นไม้
แบบที่ 6 การสร้างความคิดรวบยอด (Concept
learning) เป็นการนาเสนอผลการตอบสนองสิ่งเร้าตาม
แบบแผนลักษณะหรือสาระสาคัญของสิ่งของหรือเหตุการณ์ที่
เป็นนามธรรม
46
แบบที่ 7 การเรียนรู้เกี่ยวกับกฎเกณฑ์ (Rules
learning) เป็นการเชื่อมโยงสถานการณ์ของสิ่งเร้าหรือ
ความคิดรวบยอดตั้งแต่สองประเด็นขึ้นไปเพื่อนามาใช้อธิบาย
เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่ต้องการด้วยหลักการเหตุผล
แบบที่ 8 การเรียนรู้ด้านการแก้ปัญหา (Problem
solving learning) เป็นการเชื่อมโยงกฎหรือหลักการที่
รู้เข้าใจแล้วมาใช้เป็นองค์ประกอบเพื่อแก้ปัญหาที่เผชิญใน
สถานการณ์การเรียนรู้
47
รูปแบบการสอนของ Gagne ประกอบด้วย 9 ขั้น
ขั้นที่ 1. กระตุ้นและเสริมสร้างความสนใจของผู้เรียน
ขั้นที่ 2. แจ้งวัตถุประสงค์ของบทเรียนให้ผู้เรียนทราบ
ขั้นที่ 3. กระตุ้นให้ระลึกถึงความรู้เดิม
ขั้นที่ 4. นาเสนอสิ่งเร้าหรือเสนอเนื้อหาใหม่
ขั้นที่ 5. ให้แนวการเรียนรู้หรือจัดระบบข้อมูลให้มี
ความหมาย
48
รูปแบบการสอนของ Gagne ประกอบด้วย 9 ขั้น
ขั้นที่ 6. กระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความสามารถ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เรียน
ขั้นที่ 7. ให้ข้อมูลป้ อนกลับเพื่อเสริมแรงแก่ผู้เรียน
ขั้นที่ 8. ประเมินผลการแสดงออกของผู้เรียน
เพื่อให้ทราบถึงการบรรลุจุดประสงค์
ขั้นที่ 9. เสริมสร้างความคงทนและการถ่ายโอน
การเรียนรู้
49
แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
(4 MAT Learning Cycle) ในทัศนะของ Kolb
เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดจากความสัมพันธ์สองมิติ คือ
การรับรู้ และกระบวนการจัดกระทาข้อมูล โดยการ
รับรู้ผ่านทางประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม และผ่าน
ทางความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม
จาแนกลักษณะผู้เรียน 4 กลุ่ม คือ (๑) ผู้เรียนที่ถนัด
จินตนาการ (๒) ถนัดการวิเคราะห์
(๓) ถนัดการใช้สามัญสานึก และ
(๔) ถนัดในการปรับเปลี่ยน
50
รูปแบบการเรียนรู้แบบนาตนเอง (Self-Directed
Learning) ของ Eggen & Kauchak
ประกอบด้วย
1. Assess Knowledge Relative The problem
2. Identify Additional Information Needed
3. Develop and Implement Plan to Gather New
Information
4. Use New Knowledge in Problem Solving
5. ตรวจสอบการบรรลุวัตถุประสงค์ของการแก้ปัญหา
51
ขั้นการจัดการเรียนโดยใช้ทฤษฎี พหุปั ญญา
1. ขั้นเตรียมการ โดยวิเคราะห์ผู้เรียน ออกแบบและ
จัดทาแผนการเรียน โดยจัดทาเป็ นแผนบูรณาการ
ระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในลักษณะที่เป็ นหน่วย
การเรียนรู้
2. ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย ขั้น
นาเข้าสู่บทเรียน การจัดกิจกรรมการเรียน ขั้น
สรุป และวัดประเมินผล
52
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็ นฐาน :BBL
เป็ นกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการพัฒนาสมองของ
นักเรียน โดยพัฒนาสมองทั้งสองซีกอย่างสมดุลและสอดคล้อง
กับระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิด
ความสามารถในด้านทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน และกระบวนการ
คิดขั้นสูง โดยใช้วิธีการเรียนที่ส่งเสริมให้นักเรียนแสดง
ความสามารถด้านการคิด อาทิ การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน
การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การ
เรียนรู้แบบโครงงาน การเรียนรู้แบบ4MAT การเรียนรู้โดย
ใช้พหุปัญญา การเรียนรู้แบบ Constructivism
53
ปัจจัยที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
ในทัศนะของ Dean
1. พื้นาานการดาเนินชีวิตที่บ้าน
2. พื้นาานทางด้านเชื้อชาติและวัฒนธรรม
3. ความแตกต่างด้านเพศของผู้เรียน
4. ความมั่นคงปลอดภัยในการเรียนรู้
5. การจูงใจ
54
คุณลักษณะของการจัดการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพ ในทัศนะของ Dean
1. ครูจัดเตรียมการเรียนรู้ที่ดีมีคุณภาพ เป้ าหมายชัดเจน
2. ผู้สอนมีโอกาสสัมผัส/มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนมากที่สุด
3. สร้างความคาดหวังในระดับสูงให้กับผู้เรียน
4. นาเสนอความรู้ให้สอดคล้องกับระดับพัฒนาการของผู้เรียน
5. จัดโครงสร้างของงานให้เหมาะกับระดับผู้เรียน
6. มีความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนและ
กิจกรรมที่หลากหลายและเหมาะสม
55
คุณลักษณะของการจัดการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพ ในทัศนะของ Dean
7. ใช้คาถามระดับสูงเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนพัฒนาการคิด
8. มีการให้ข้อมูลป้ อนกลับอย่างสม่าเสมอทุกระยะ
9. ให้คาชมเชยและการเสริมแรงที่เหมาะสม
10. มีการบันทึกผลการเรียนและความก้าวหน้าของผู้เรียนแต่
ละคนที่เหมาะสม
11. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนที่ดี/มีการสะท้อนผลการ
ทางานที่ดี และมีการประเมินความก้าวหน้าผู้เรียน
56
ปัจจัยที่เอื้อต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
ในทัศนะของ Cooper & McIntyre
1. ครูจัดทาแผนการเรียนรู้ที่ชัดเจน
2. ครูเชื่อมโยงความรู้พื้นาานกับบทเรียนใหม่
3. จัดกิจกรรมเล่าเรื่องประกอบบทเรียน
4. ใช้วิธีการอ่านออกเสียงช่วยในการเรียนรู้
5. สื่อความหมายให้เกิดความเข้าใจโดยปรับขยายการใช้ภาษา
6. ใช้การอธิบายด้วยคาพูดประกอบการอภิปรายและใช้
คาถามที่นาไปสู่คาตอบที่ใช้การวิเคราะห์
57
ปัจจัยที่เอื้อต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
ในทัศนะของ Cooper & McIntyre
7. สร้างแผนภูมิความรู้ประกอบการบันทึกช่วยความจา
8. ใช้สื่อและภาพที่เป็นรูปธรรม ประกอบการอธิบาย
9. สร้างกรอบการเขียนและการนาเสนองานที่มีคุณค่า
10. ใช้รูปแบบการนาเสนอข่าวสารความรู้ตามกรอบที่ผู้เรียน
จัดทาขึ้น
11. จัดกิจกรรมในรูปแบบของกลุ่มหรือจับคู่ฝึกทักษะทางาน
12. จัดแสดงละคร บทบาทสมมติ เอกสารใบความรู้/ใบงาน
58
แบบการสอนของครูที่เชื่อมโยงกับแบบการเรียนรู้
ของผู้เรียนในทัศนะของ Dean
1. แบบในสถานการณ์ที่สงบ และเป็นระเบียบ
2. แบบสถานการณ์อึกทึกวุ่นวายไม่เป็นระเบียบ
3. แบบที่มีการวางแผนงานล่วงหน้า/ปล่อยให้เกิดขึ้นเอง
4. แบบที่จัดเตรียมงานให้ผู้เรียนน้อยรายการหรือจัดไว้
อย่างหลากหลาย
5. แบบที่เน้นการแข่งขันหรือการช่วยเหลือพึ่งพากัน
59
แบบการสอนของครูที่เชื่อมโยงกับแบบการเรียนรู้
ของผู้เรียนในทัศนะของ Dean
6. แบบที่เน้นความพิถีพิถันรอบคอบและความพยายาม
กับแบบที่แสดงออกถึงความตื่นเต้นทุกขณะ
7. แบบที่เน้นความสมบูรณ์แบบ กับแบบที่ง่ายสบาย
8. แบบที่ให้ความสาคัญกับเวลา กับแบบล่าช้านาที
สุดท้าย
9. แบบที่จัดเป็นกลุ่มใหญ่ กับแบบกลุ่มย่อย/รายบุคคล
10. แบบที่เน้นความเป็นทางการกับแบบไม่เป็นทางการ
60
การจัดการเรียนรู้ที่ดีควรมีลักษณะต่อไปนี้
1. เข้าใจวิธีการเรียน/แบบการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีความ
หลากหลายแตกต่างกัน
2. รู้และเข้าใจวิธีสอนแบบต่างๆ ที่สอดคล้องกับวิธี/แบบการ
เรียนรู้ของผู้เรียน
3. เข้าใจวิธีการที่ผู้เรียนสร้างความคิดและประสบการณ์จาก
สถานการณ์จริงทางสังคม รวมทั้งการนาไปประยุกต์ใช้
4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ทักษะการคิดและแก้ปัญหา
เกิดความรู้สึกท้าทายและกระตือรือร้นในการเรียนรู้
61
แนวคิดทฤษฎีด้านปัญญาที่ประสบความสาเร็จ
(Theory of Successful Intelligence)
1. การใช้ความสามารถที่จาเป็นนามาบูรณาการเพื่อทา
ให้เกิดความสาเร็จตามเป้ าหมายภายใต้บริบทที่ต่างกัน
2. การตระหนักถึงจุดเด่นหรือสิ่งที่ตนทาได้ดี รวมทั้ง
จุดอ่อนที่จะต้องชดเชย
3. การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
4. การสร้างความสมดุลในการใช้ความสามารถด้านการ
วิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ และการฝึกปฏิบัติ
62
รูปแบบการสอนมโนทัศน์ (Concept Attainment)
1. เตรียมข้อมูลให้ผู้เรียนฝึกจาแนก
2. กาหนดข้อตกลงในการทากิจกรรม
3. เสนอตัวอย่างมโนทัศน์ที่ต้องการสอนและ
ที่ไม่ใช่ตัวอย่าง
4. ให้ผู้เรียนระบุคุณสมบัติเฉพาะของมโนทัศน์นั้น
5. ผู้เรียนสรุปและให้คาจากัดความของมโนทัศน์
6. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายร่วมกันใน
กระบวนการคิดหาคาตอบ
63
รูปแบบการสอน Concept โดยใช้ Deductive and
Inductive Approach
Deductive Approach ประกอบด้วย
ขั้นที่ 1. ครูระบุชื่อและอธิบายความคิดรวบยอด
ขั้นที่ 2. ผู้เรียนระบุคุณลักษณะสาคัญของความคิดรวบยอด
ขั้นที่ 3. ผู้เรียนยกตัวอย่างประกอบความคิดรวบยอดนั้น
ขั้นที่ 4. ผู้เรียนตั้งชื่อความคิดรวบยอดและนิยามความหมาย
ความคิดรวบยอดนั้น
64
รูปแบบการสอน Concept โดยใช้ Inductive
Approach มีขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1. ครูกาหนดประเด็นความคิดรวบยอดและผู้เรียน
นาเสนอตัวอย่างประกอบที่หลากหลาย
ขั้นที่ 2. ผู้เรียนระบุคุณลักษณะร่วมและข้อแตกต่างของ
ความคิดรวบยอดผ่านสมมุติาาน
ขั้นที่ 3. ผู้เรียนสรุปสาระของความคิดรวบยอด
ขั้นที่ 4. ผู้เรียนตั้งชื่อความคิดรวบยอดและนิยามความหมาย
ของความคิดรวบยอดนั้น
จัดทาโดย
นายวันชัย สิงห์โตขา
รหัส 5801602093 รุ่น 2 กลุ่ม 4

More Related Content

What's hot

IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์Moll Kim
 

What's hot (20)

IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

Similar to เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์guest897da
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรthana1989
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 

Similar to เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Vision
VisionVision
Vision
 
Comed
ComedComed
Comed
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
4 mat
4 mat4 mat
4 mat
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 

More from Naracha Nong

การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้Naracha Nong
 
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)Naracha Nong
 
ลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีNaracha Nong
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมNaracha Nong
 
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)Naracha Nong
 

More from Naracha Nong (6)

การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
 
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
 
ลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดี
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
 
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
 

เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ