SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ฝึกหัวใจ และ สมอง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวเบญจมาภรณ์ ตันสุวัฒน์ เลขที่ 38 ชั้น ม.6/5 ห้อง 38
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1.น.ส.เบญจมาภรณ์ ตันสุวัฒน์ เลขที่ 38
2.น.ส.ศิริวรรณ บุญยัง เลขที่ 39
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ฝึกหัวใจ และ สมอง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
MEDITATION OF HEART AND BRAIN
ประเภทโครงงาน ธรรมะ และ การใช้ชีวิตให้เป็นสุข
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวเบญจมาภรณ์ ตันสุวัฒน์
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 12 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในสังคมที่รีบเร่งวุ่นวายมีหลายสิ่งอย่างรุมเร้า ผู้คนในยุคปัจจุบันจึงค่อนข้างจะเร่งรีบ ตั้งแต่ลืมตาขึ้นมา
จนกระทั่งกลับเข้านอน ก็ต้องรีบเพื่อจะได้ทางานให้ทันในวันต่อไป การบีบคันเร่งรีบแบบนี้ทาให้เกิดปฏิกิริยา
บางอย่างขึ้นนหลักของวิทยาศาสตร์ทางสมอง เมื่อเคมีต่างๆ ที่สัมพันธ์กัน ทางานอย่างต่อเนื่องหลายสิ่งอย่างในเวลา
อันจากัด นั่นหมายความว่า สมองทางานหนักมาก ในทางเดียวกัน ถ้าทางานในสิ่งเดียว โฟกัสเพียงอย่างเดียวสมอง
มนุษย์จะทางานน้อยลงและไม่ต่างจากคนที่นั่งสมาธิ
ดังนั้น การที่มนุษย์ทาอะไรรีบๆ เพราะต้องให้จบงาน เพราะมีงานหลายอย่างที่จะต้องทา การเร่งรีบแบบนี้เองาวะ
อารมณ์ภายในที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานของเคมีบางอย่างในสมองเราจึงเข้มข้น จนกระทั่งอาจจะเกิดค่าแปรผันและ
เกิดภาวะอารมณ์ถึงกับทาให้แสดงออกมาทางพฤติกรรม
คนรุ่นใหม่หลายคน อารมณ์จึงค่อนข้างรุนแรง บางครั้งอารมณ์ขึ้นๆ ลงๆ จนกระทั่งยากต่อการควบคุม วิธีแก้ไข ต้อง
อาศัยหลักธรรม เมื่อภาวะอารมณ์ถูกเบรกโดยภาวะธรรม ย่อมจะทาให้เขารู้สึกดีขึ้น
แต่มีอีกวิธีหนึ่งที่สามารถนาเอามาลดภาวะอารมณ์ได้ และทาให้เกิดภาวะธรรมได้ด้วยเช่นกัน นั่นคือ การนั่งพิจารณา
คาว่า พิจารณา ต้องเข้าใจก่อนว่า ไม่ใช่การคิดไปเรื่อยเปื่อย แต่อาศัยการคิดนั่นแหละเป็นตัวตั้ง ที่สาคัญวิธีแบบนี้ทาที่
ไหน เมื่อไหร่ก็ได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. ต้องการให้ทุกคนได้ฝึกสมาธิ และศึกษาธรรมะเพื่อทาให้เข้าใจอะไรต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิต
3
2. ไม่อยากให้ทุกคนเครียดจากการทางาน
3. ต้องการให้ทุกคนได้พักผ่อนด้วยการศึกษาธรรม หรือ การนึ่งสมาธิ
4. ต้องการให้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต ด้วยการใช้ปัญญาธรรม
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
การฝึกธรรมะหรือการนั่งสมาธิ สามารถทาได้ทุกวัย ทุกที่ที่สงบ และทุกเวลาหากเราปฏิบัติมาแต่เนินๆจะทา
ให้เราฝึกได้นานขึ้น ทั้งนี้ต้องปฏิบัติทุกวันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการศึกษาธรรมและการนั่งสมาธิ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การทาสมาธิและการฟังธรรมนอกจากจะเป็นการฝึกฝนจิตใจให้เกิดความสงบสุขแแล้ว ยังมีประโยชน์ในการ
ช่วยบรรเทาโรคหรือภาวะทางร่างกายบางชนิดได้ โดยเฉพาะโรคที่ทรุดลงด้วยความเครียด ซึ่งปัจจุบันก็มีการ
ศึกษาวิจัยถึงประโยชน์ของการนั่งสมาธิที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
ยุคนี้ที่ทุกสิ่งทุกอย่างรวดเร็วไปเสียหมด และการทางานแข่งขันกันสูง โดยเฉพาะในกลุ่มวัยทางานที่ใช้เวลา 1
ใน 3 ของแต่ละวันอยู่ในที่ทางาน ขณะที่เวลาพักผ่อนบางช่วงก็หมดไปกับสิ่งเร้ารอบตัวที่มีมากขึ้นเรื่อยๆ ทาให้ เกิด
ความเครียดง่าย และ เครียดสะสม วันนี้เลยขอแนะนาวิธีขจัดความเครียดตามแนวทางของ กรมสุขภาพจิตด้วย
การ ปฏิบัติฝึกสติและสมาธิ
น.ต.นพ.บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่ามีผลการศึกษาวิจัยทั้งในและต่างประเทศ
ออกมาตรงกันว่า การฝึกสติและสมาธิสามารถขจัดความเครียดออกจากจิตใต้สานึก ได้ผลดีที่สุดและ ยั่งยืน โดยกรม
สุขภาพจิตได้จัดทา คู่มือสร้างสุขด้วยสติในองค์กร (Mindfulness in Organization : MIO) เพื่อเผยแพร่ความรู้และ
วิธีขจัดความเครียดที่ถูกต้อง กลุ่มคนวัยทางานมักจะแก้เครียดด้วยการหยุดพักผ่อนไปเที่ยว หรือไปช็อปปิ้ง นั่นช่วยให้
สภาพจิตใจดีขึ้นชั่วคราวเท่านั้น แต่ไม่ได้ทาให้ความเครียดสลายไป มันยังคงสะสมอยู่ในจิตใต้สานึก เมื่อกลับมทางาน
ก็จะเกิดความเครียดสะสมเข้าไปอีก
ด้าน นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า สติเป็นจิตที่มีคุณภาพ
ในขณะทางาน ส่วนสมาธิเป็นจิตที่มีคุณภาพขณะพัก ทั้ง 2 ส่วนนี้สัมพันธ์เกื้อหนุนกัน การนั่งสมาธิทุกวัน วันละ 10-
20 นาที จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ตัวบุคคล ทาให้การทางานดีขึ้น ควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น แสดงออกอย่างระมัดระวัง
ตระหนักรู้ตัวเอง ทาให้จิตมีความรัก ความเมตตา เสียสละ อดทนจิตในขณะที่มีสติจะทางานโดยไม่วอกแวก ไม่ถูก
สอดแทรกด้วยอารมณ์ ส่วน จิตขณะทาสมาธิจะหยุดคิดจนเกิดความสงบ เกิดการผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่ง
จะเป็นการคลายเครียดในระดับลึก ตรงข้ามกับกระบวนการเกิดอารมณ์และความเครียด การทาสมาธิทุกวันเท่ากับ
ปลดปล่อยความเครียดออกจากสมองทุกวัน สมองจะไม่มีความเครียดคั่งค้างอยู่ เมื่อมีความเครียดเข้ามาใหม่ ก็จะ
เผชิญกับสถานการณ์ได้ดี
ทั้งนี้การฟังธรรมก็ก่อให้เกิดสติและปัญญา เพราะพระธรรมคือคาสอนของพระพุทธเจ้า เป็นคาสอนของผู้รู้
จริงเห็นจริง เป็นโลกวิทู ผู้รู้โลก รู้เหตุรู้ผล รู้ตน รู้บุคคล รู้สังคม รู้กาลเทศะ รู้ประมาณ ที่จะทาให้ปฏิบัติกับสิ่งต่างๆใน
โลกนี้ได้ถูกต้อง นามาซึ่งความสุขและความเจริญ ปราศจากความทุกข์ความวุ่นวายต่างๆ การเข้าหาพระธรรมคาสอน
“กาเลน ธัมมัสวนัง กาเลน ธัมมัสสากัจฉา เอตัมมัง กลมุตตมัง” การได้ยินได้ฟังธรรมตามกาลตามเวลา การได้
สนทนาธรรมตามกาลตามเวลา เป็นมงคลอย่างยิ่ง นี่คืออานิสงส์ที่เกิดจากการฟังเทศน์ฟังธรรม จากการสนทนา
ธรรม การฟังเรื่องอื่นหรือสนทนาเรื่องอื่น ไม่ทาให้จิตใจสงบ กลับจะทาให้วุ่นวายใจ มีความอยากมากยิ่งขึ้น เราจึงควร
ฟังเทศน์ฟังธรรม ศึกษาพระธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้าอยู่เรื่อยๆ ตามกาลตามเวลา อย่างน้อยอาทิตย์หนึ่งก็ควรจะ
ฟังเทศน์ฟังธรรมสักครั้งหนึ่ง ทรงบัญญัติวันพระวันธัมมัสสวนะไว้ทุกๆอาทิตย์ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ปล่อยวาง
4
ภารกิจทางโลก แล้วหันมาศึกษาพระธรรมคาสอน มาฟังเทศน์ฟังธรรมกัน ไม่เช่นนั้นแล้วจะถูกความหลง ซึ่งเปรียบ
เหมือนความมืด ครอบงาจิตใจ ทาให้เห็นผิดเป็นชอบ คือมิจฉาทิฐิ ทาให้เกิดความอยากต่างๆ ที่เป็นเหตุให้เกิดความ
ทุกข์
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
การฝึกสมาธิและการฟังธรรมสามารถทาได้ทุกที่(ที่เงียบและสงบ) แต่ทั้งนี้การฟังธรรมต้องมีผู้ที่สืบทอดพระ
ธรรม ในยุคปัจจุบันสามารถหาได้ทั้วไปในเว็ปไซต์และยูทูป
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
๑. วีดีโอเทศพระธรรม หรือ เทปพระธรรม
๒. แผ่นปูพื้นรองนั่ง
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน √
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล √ √ √ √ √ √
3 จัดทาโครงร่างงาน √ √ √ √
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน √ √ √ √ √
5 ปรับปรุงทดสอบ √
6 การทาเอกสารรายงาน √ √ √ √ √ √ √ √ √ √
7 ประเมินผลงาน √
8 นาเสนอโครงงาน √ √
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
เกิดสมาธิ สติเพิ่มขึ้น และเกิดปัญญาจากการฟังธรรม ใครก็ตามที่มีภาวะอารมณ์ไม่คงที่ มีภาวะอารมณ์ที่
หงุดหงิดง่าย หรือทาอะไรรีบร้อนอยู่เสมอ จนเริ่มรู้สึกไม่ค่อยสบายทางใจ ไม่ค่อยสบายทางกาย ลองนาเอาวิธีนี้ไปฝึก
เป็นการฝึกจิตที่ตรง ลัด และสั้นที่สุด ไม่ต้องสงสัยว่ามีสอนในพระไตรปิฎกหรือเปล่า แค่เพียงคุณฝึกตาม แล้วก็
กลับมาถามใจของคุณเองว่า ใจคุณโล่งหรือเปล่า ลดความเครียดน้อยลงหรือเปล่า เลิกภาวะอารมณ์ต่างๆ ลงได้หรือไม่
สถานที่ดาเนินการ
ห้องตัวเอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
พระพุทธศาสนา
5
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
 https://www.facebook.com/493009130724328/posts/ทาไมต้องรู้เรื่องธรรมะพระธรรมคาสอนของ
พระพุทธเจ้า-เป็นคาสอนของผู้รู้จริงเห็นจริง-/493417224016852/
 https://www.thairath.co.th/content/939068
 https://www.pobpad.com/ประโยชน์ของการนั่งสมาธ
 https://www.posttoday.com/dhamma/498245
 https://www.organicbook.com/mind/10-ประโยชน์จากการทาสมาธิ/
 https://health.kapook.com/view17660.html
 https://pantip.com/topic/31570095
 http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~cpornth1/Web_SciProject/a09.htm
 https://www.jw.org/th/สิ่งพิมพ์และวีดิทัศน์/วารสาร/g201411/เคล็ดลับความสุข/

More Related Content

What's hot

กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Korakrit Jindadang
 
เพาวพอย
เพาวพอยเพาวพอย
เพาวพอย
guest30f58a
 

What's hot (18)

กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
เพาวพอย
เพาวพอยเพาวพอย
เพาวพอย
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
1
11
1
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
Pathological gamers
Pathological gamersPathological gamers
Pathological gamers
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
W.1
W.1W.1
W.1
 

Similar to Project com no.38 (1)

2561 project-artificial intelligence 18611
2561 project-artificial intelligence 186112561 project-artificial intelligence 18611
2561 project-artificial intelligence 18611
sunsumm
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
bamhattamanee
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
fauunutcha
 

Similar to Project com no.38 (1) (20)

2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project-artificial intelligence 18611
2561 project-artificial intelligence 186112561 project-artificial intelligence 18611
2561 project-artificial intelligence 18611
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2560 project .doc2
2560 project .doc22560 project .doc2
2560 project .doc2
 
Fill
FillFill
Fill
 
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-132562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
2562 final-project-yanisa-koranit-615-33-13
 
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project (21)
2561 project  (21)2561 project  (21)
2561 project (21)
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
แบบเสนอ
แบบเสนอแบบเสนอ
แบบเสนอ
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 

Project com no.38 (1)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ฝึกหัวใจ และ สมอง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวเบญจมาภรณ์ ตันสุวัฒน์ เลขที่ 38 ชั้น ม.6/5 ห้อง 38 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1.น.ส.เบญจมาภรณ์ ตันสุวัฒน์ เลขที่ 38 2.น.ส.ศิริวรรณ บุญยัง เลขที่ 39 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ฝึกหัวใจ และ สมอง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) MEDITATION OF HEART AND BRAIN ประเภทโครงงาน ธรรมะ และ การใช้ชีวิตให้เป็นสุข ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวเบญจมาภรณ์ ตันสุวัฒน์ ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 12 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในสังคมที่รีบเร่งวุ่นวายมีหลายสิ่งอย่างรุมเร้า ผู้คนในยุคปัจจุบันจึงค่อนข้างจะเร่งรีบ ตั้งแต่ลืมตาขึ้นมา จนกระทั่งกลับเข้านอน ก็ต้องรีบเพื่อจะได้ทางานให้ทันในวันต่อไป การบีบคันเร่งรีบแบบนี้ทาให้เกิดปฏิกิริยา บางอย่างขึ้นนหลักของวิทยาศาสตร์ทางสมอง เมื่อเคมีต่างๆ ที่สัมพันธ์กัน ทางานอย่างต่อเนื่องหลายสิ่งอย่างในเวลา อันจากัด นั่นหมายความว่า สมองทางานหนักมาก ในทางเดียวกัน ถ้าทางานในสิ่งเดียว โฟกัสเพียงอย่างเดียวสมอง มนุษย์จะทางานน้อยลงและไม่ต่างจากคนที่นั่งสมาธิ ดังนั้น การที่มนุษย์ทาอะไรรีบๆ เพราะต้องให้จบงาน เพราะมีงานหลายอย่างที่จะต้องทา การเร่งรีบแบบนี้เองาวะ อารมณ์ภายในที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานของเคมีบางอย่างในสมองเราจึงเข้มข้น จนกระทั่งอาจจะเกิดค่าแปรผันและ เกิดภาวะอารมณ์ถึงกับทาให้แสดงออกมาทางพฤติกรรม คนรุ่นใหม่หลายคน อารมณ์จึงค่อนข้างรุนแรง บางครั้งอารมณ์ขึ้นๆ ลงๆ จนกระทั่งยากต่อการควบคุม วิธีแก้ไข ต้อง อาศัยหลักธรรม เมื่อภาวะอารมณ์ถูกเบรกโดยภาวะธรรม ย่อมจะทาให้เขารู้สึกดีขึ้น แต่มีอีกวิธีหนึ่งที่สามารถนาเอามาลดภาวะอารมณ์ได้ และทาให้เกิดภาวะธรรมได้ด้วยเช่นกัน นั่นคือ การนั่งพิจารณา คาว่า พิจารณา ต้องเข้าใจก่อนว่า ไม่ใช่การคิดไปเรื่อยเปื่อย แต่อาศัยการคิดนั่นแหละเป็นตัวตั้ง ที่สาคัญวิธีแบบนี้ทาที่ ไหน เมื่อไหร่ก็ได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. ต้องการให้ทุกคนได้ฝึกสมาธิ และศึกษาธรรมะเพื่อทาให้เข้าใจอะไรต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิต
  • 3. 3 2. ไม่อยากให้ทุกคนเครียดจากการทางาน 3. ต้องการให้ทุกคนได้พักผ่อนด้วยการศึกษาธรรม หรือ การนึ่งสมาธิ 4. ต้องการให้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต ด้วยการใช้ปัญญาธรรม ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การฝึกธรรมะหรือการนั่งสมาธิ สามารถทาได้ทุกวัย ทุกที่ที่สงบ และทุกเวลาหากเราปฏิบัติมาแต่เนินๆจะทา ให้เราฝึกได้นานขึ้น ทั้งนี้ต้องปฏิบัติทุกวันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการศึกษาธรรมและการนั่งสมาธิ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การทาสมาธิและการฟังธรรมนอกจากจะเป็นการฝึกฝนจิตใจให้เกิดความสงบสุขแแล้ว ยังมีประโยชน์ในการ ช่วยบรรเทาโรคหรือภาวะทางร่างกายบางชนิดได้ โดยเฉพาะโรคที่ทรุดลงด้วยความเครียด ซึ่งปัจจุบันก็มีการ ศึกษาวิจัยถึงประโยชน์ของการนั่งสมาธิที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ยุคนี้ที่ทุกสิ่งทุกอย่างรวดเร็วไปเสียหมด และการทางานแข่งขันกันสูง โดยเฉพาะในกลุ่มวัยทางานที่ใช้เวลา 1 ใน 3 ของแต่ละวันอยู่ในที่ทางาน ขณะที่เวลาพักผ่อนบางช่วงก็หมดไปกับสิ่งเร้ารอบตัวที่มีมากขึ้นเรื่อยๆ ทาให้ เกิด ความเครียดง่าย และ เครียดสะสม วันนี้เลยขอแนะนาวิธีขจัดความเครียดตามแนวทางของ กรมสุขภาพจิตด้วย การ ปฏิบัติฝึกสติและสมาธิ น.ต.นพ.บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่ามีผลการศึกษาวิจัยทั้งในและต่างประเทศ ออกมาตรงกันว่า การฝึกสติและสมาธิสามารถขจัดความเครียดออกจากจิตใต้สานึก ได้ผลดีที่สุดและ ยั่งยืน โดยกรม สุขภาพจิตได้จัดทา คู่มือสร้างสุขด้วยสติในองค์กร (Mindfulness in Organization : MIO) เพื่อเผยแพร่ความรู้และ วิธีขจัดความเครียดที่ถูกต้อง กลุ่มคนวัยทางานมักจะแก้เครียดด้วยการหยุดพักผ่อนไปเที่ยว หรือไปช็อปปิ้ง นั่นช่วยให้ สภาพจิตใจดีขึ้นชั่วคราวเท่านั้น แต่ไม่ได้ทาให้ความเครียดสลายไป มันยังคงสะสมอยู่ในจิตใต้สานึก เมื่อกลับมทางาน ก็จะเกิดความเครียดสะสมเข้าไปอีก ด้าน นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า สติเป็นจิตที่มีคุณภาพ ในขณะทางาน ส่วนสมาธิเป็นจิตที่มีคุณภาพขณะพัก ทั้ง 2 ส่วนนี้สัมพันธ์เกื้อหนุนกัน การนั่งสมาธิทุกวัน วันละ 10- 20 นาที จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ตัวบุคคล ทาให้การทางานดีขึ้น ควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น แสดงออกอย่างระมัดระวัง ตระหนักรู้ตัวเอง ทาให้จิตมีความรัก ความเมตตา เสียสละ อดทนจิตในขณะที่มีสติจะทางานโดยไม่วอกแวก ไม่ถูก สอดแทรกด้วยอารมณ์ ส่วน จิตขณะทาสมาธิจะหยุดคิดจนเกิดความสงบ เกิดการผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่ง จะเป็นการคลายเครียดในระดับลึก ตรงข้ามกับกระบวนการเกิดอารมณ์และความเครียด การทาสมาธิทุกวันเท่ากับ ปลดปล่อยความเครียดออกจากสมองทุกวัน สมองจะไม่มีความเครียดคั่งค้างอยู่ เมื่อมีความเครียดเข้ามาใหม่ ก็จะ เผชิญกับสถานการณ์ได้ดี ทั้งนี้การฟังธรรมก็ก่อให้เกิดสติและปัญญา เพราะพระธรรมคือคาสอนของพระพุทธเจ้า เป็นคาสอนของผู้รู้ จริงเห็นจริง เป็นโลกวิทู ผู้รู้โลก รู้เหตุรู้ผล รู้ตน รู้บุคคล รู้สังคม รู้กาลเทศะ รู้ประมาณ ที่จะทาให้ปฏิบัติกับสิ่งต่างๆใน โลกนี้ได้ถูกต้อง นามาซึ่งความสุขและความเจริญ ปราศจากความทุกข์ความวุ่นวายต่างๆ การเข้าหาพระธรรมคาสอน “กาเลน ธัมมัสวนัง กาเลน ธัมมัสสากัจฉา เอตัมมัง กลมุตตมัง” การได้ยินได้ฟังธรรมตามกาลตามเวลา การได้ สนทนาธรรมตามกาลตามเวลา เป็นมงคลอย่างยิ่ง นี่คืออานิสงส์ที่เกิดจากการฟังเทศน์ฟังธรรม จากการสนทนา ธรรม การฟังเรื่องอื่นหรือสนทนาเรื่องอื่น ไม่ทาให้จิตใจสงบ กลับจะทาให้วุ่นวายใจ มีความอยากมากยิ่งขึ้น เราจึงควร ฟังเทศน์ฟังธรรม ศึกษาพระธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้าอยู่เรื่อยๆ ตามกาลตามเวลา อย่างน้อยอาทิตย์หนึ่งก็ควรจะ ฟังเทศน์ฟังธรรมสักครั้งหนึ่ง ทรงบัญญัติวันพระวันธัมมัสสวนะไว้ทุกๆอาทิตย์ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ปล่อยวาง
  • 4. 4 ภารกิจทางโลก แล้วหันมาศึกษาพระธรรมคาสอน มาฟังเทศน์ฟังธรรมกัน ไม่เช่นนั้นแล้วจะถูกความหลง ซึ่งเปรียบ เหมือนความมืด ครอบงาจิตใจ ทาให้เห็นผิดเป็นชอบ คือมิจฉาทิฐิ ทาให้เกิดความอยากต่างๆ ที่เป็นเหตุให้เกิดความ ทุกข์ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน การฝึกสมาธิและการฟังธรรมสามารถทาได้ทุกที่(ที่เงียบและสงบ) แต่ทั้งนี้การฟังธรรมต้องมีผู้ที่สืบทอดพระ ธรรม ในยุคปัจจุบันสามารถหาได้ทั้วไปในเว็ปไซต์และยูทูป เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ๑. วีดีโอเทศพระธรรม หรือ เทปพระธรรม ๒. แผ่นปูพื้นรองนั่ง งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน √ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล √ √ √ √ √ √ 3 จัดทาโครงร่างงาน √ √ √ √ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน √ √ √ √ √ 5 ปรับปรุงทดสอบ √ 6 การทาเอกสารรายงาน √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ 7 ประเมินผลงาน √ 8 นาเสนอโครงงาน √ √ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) เกิดสมาธิ สติเพิ่มขึ้น และเกิดปัญญาจากการฟังธรรม ใครก็ตามที่มีภาวะอารมณ์ไม่คงที่ มีภาวะอารมณ์ที่ หงุดหงิดง่าย หรือทาอะไรรีบร้อนอยู่เสมอ จนเริ่มรู้สึกไม่ค่อยสบายทางใจ ไม่ค่อยสบายทางกาย ลองนาเอาวิธีนี้ไปฝึก เป็นการฝึกจิตที่ตรง ลัด และสั้นที่สุด ไม่ต้องสงสัยว่ามีสอนในพระไตรปิฎกหรือเปล่า แค่เพียงคุณฝึกตาม แล้วก็ กลับมาถามใจของคุณเองว่า ใจคุณโล่งหรือเปล่า ลดความเครียดน้อยลงหรือเปล่า เลิกภาวะอารมณ์ต่างๆ ลงได้หรือไม่ สถานที่ดาเนินการ ห้องตัวเอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง พระพุทธศาสนา
  • 5. 5 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)  https://www.facebook.com/493009130724328/posts/ทาไมต้องรู้เรื่องธรรมะพระธรรมคาสอนของ พระพุทธเจ้า-เป็นคาสอนของผู้รู้จริงเห็นจริง-/493417224016852/  https://www.thairath.co.th/content/939068  https://www.pobpad.com/ประโยชน์ของการนั่งสมาธ  https://www.posttoday.com/dhamma/498245  https://www.organicbook.com/mind/10-ประโยชน์จากการทาสมาธิ/  https://health.kapook.com/view17660.html  https://pantip.com/topic/31570095  http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~cpornth1/Web_SciProject/a09.htm  https://www.jw.org/th/สิ่งพิมพ์และวีดิทัศน์/วารสาร/g201411/เคล็ดลับความสุข/