SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ยาสูบ + ข่า = ยาปราบศัตรูพืช
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาววริษา สุขต้อ เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ……….
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ยาสูบ + ข่า = ยาปราบศัตรูพืช
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Tobacco and Galangal is Pesticides : TGP
ประเภทโครงงาน สื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววริษา สุขต้อ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในสถานการณ์ปัจจุบันนี้ การทาการเกษตรกรรมประสบปัญหาที่หลากหลาย หนึ่งในปัญหาที่พบคือปัญหา
ศัตรูพืช สารเคมีกาจัดศัตรูพืชที่ใช้ในการจัดการกับศัตรูพืชนั้น ส่วนหนึ่งจะตกค้างอยู่ในผลผลิตการเกษตร ซึ่งไม่
สามารถล้างออกได้ด้วยน้า หรือทาลายด้วยความร้อนจากการหุงต้ม มีเกษตรกรหลายท่านที่ได้ใช้สารเคมีกาจัด
ศัตรูพืชซึ่งการใช้สารเคมีแก้ปัญหาเป็นการแก้ปัญหาระยะสั้นแต่ส่งผลกระทบระยะยาว คือจะส่งผลต่อดิน ต้นไม้
อากาศ น้า รวมถึงสุขภาพก็จะย่าแย่ลงไปด้วย จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เผยผลตรวจความผิดปกติ
ทางพันธุกรรม(Micronucleus) ในกลุ่มเกษตรกรไทย 4 ภาค พบว่า เกษตรกรไทยที่ใช้ยาฆ่าแมลง เสี่ยงเกิดความ
เสียหายระดับดีเอ็นเอ (DNA) ภายในเนื้อเยื่อของร่างกาย ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้ ช่วงที่ผ่านมาทางผู้จัดทาได้
เห็นพ่อสอนพี่ทายากาจัดศัตรูพืชใช้กับผักสวนครัว เนื่องจากมีเพี้ยงและหนอนอยู่ในผัก พ่อและพี่จึงนายานั้นมาฉีดพ่น
ทางผู้จัดทาได้เห็นวิธีการทา การใช้ รวมถึงติดตามผลของการใช้สารกาจัดศัตรูพืชที่ทาจากธรรมชาติด้วย
ดังนั้นทางผู้จัดทาจึงคิดว่าการใช้ธรรมชาติปราบธรรมชาติเป็นสิ่งที่ดีก็คือข่าและใบยาสูบที่มีกลิ่นฉุนเพื่อขับไล่แมลง
ศัตรูพืช เพราะการใช้สิ่งที่มาจากธรรมชาติจะไม่ส่งผลกระทบในระยะยาวเหมือนกับการใช้สารเคมีในปัจจุบัน
จึงอยากทาโครงงานนี้เพื่อเผยแพร่ความรู้และความตั้งใจที่จะลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร เพราะสารเคมีนั้น
จะตกค้างในผลผลิตทางการเกษตรส่งผลให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายจากสารพิษนั้นด้วย
วัตถุประสงค์
1.ต้องการให้ลดใช้สารเคมีในการทาเกษตรกรรมและเปลี่ยนมาใช้ยาจาจัดศัตรูพืชที่มาจากธรรมชาติ
2.ต้องการชี้ให้เห็นถึงปัญหาสุขภาพที่มาจากสารเคมีตกค้างจากการทาการเกษตร
3.อยากให้เห็นถึงประโยชน์ของพืชผักสวนครัว
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาเฉพาะการออกฤทธิ์ของข่าและใบยาสูบทางการเกษตร
3
1.การควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยสารสกัดยาสูบ
Control of Plant Pest by Tobacco Extraction
ยาสูบเป็นพืชในวงศ์โซลานาซีอี เช่นเดียวกับ มะเขือเทศ พริก มันฝรั่ง ฯลฯ โดยอยู่ในสกุล นิโคเทียน่า ชนิด
ยาสูบที่ปลูกกันทั่วไปมีมากกว่า 60 พันธุ์ หรือ 60 ชนิด ยาสูบเป็นไม้ล้มลุก ลาต้นตรงไม่แตกกิ่งก้าน ลักษณะใบ
เป็นใบเดี่ยวเรียงตัวสลับเวียนรอบลาต้น รูปร่างเป็นวงรี หรือรูปหอก ขอบใบเรียบ เนื้อบางนุ่ม ผิวมีขน มีช่อดอก
แบบพานิเคิล กลีบเลี้ยงสีขาว กลีบดอกสีชมพูอ่อน รูปกรวยมี 5 แฉก ในพันธุ์ที่ปลูกเป็นการค้าเกือบทั้งหมดเป็น
พันธุ์ทาบาคัม มีบางส่นที่ปลูกพันธุ์รัสติกา ทาง
แถบยุโรปตะวันออกและเอเชียไมเนอร์
ใบของยาสูบมีสารประกอบไนโตรเจนหมู่หนึ่งที่
เรียกว่า "แอลคาลอยด์" ซึ่งมีนิโคตินเป็นส่วนใหญ่
นิโคตินเป็นองค์ประกอบที่ทาให้เกิดลักษณะ
เฉพาะตัวของยาสูบ ต้นยาสูบจะผลิตสารนิโคตินที่
รากแล้วส่งไปเก็บไว้ที่ใบ ใบยาสูบเมื่อเกิดการเผา
ไหม้ จะทาให้เกิดสารประกอบต่างๆ อีกจานวน
มาก ทาให้เกิดกลิ่น สี และรสต่างๆ ความหอม
และความฉุน แตกต่างกันไปตามชนิดของยาสูบ
นอกจากนี้ระดับความอ่อนแก่ของใบ และ
ตาแหน่งของใบ มีผลทาให้องค์ประกอบทางเคมี และ คุณสมบัติอื่นๆ แตกต่างกัน ยาสูบมีประสิทธิภาพในการ
ป้องกันกาจัดแมลงศัตรูพืช เช่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ ข้อดีของการใช้สารสกัดยาสูบ คือ มีราคาถูก ปลอดภัยต่อ
เกษตรกรผู้ใช้มากกว่าการใช้สารเคมี ไม่มีสารพิษตกค้างในผลผลิตจึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค เมื่อทาการเก็บเกี่ยว
ตามคาแนะนา ไม่ตกค้างในดินและสภาพแวดล้อม โดยไม่ควรฉีดพ่นในช่วงที่มีแดดจัด หลีกเลี่ยงการสัมผัส
โดยตรงกับสารสกัดระหว่างการเตรียมและฉีดพ่น เนื่องจากสารนิโคตินเป็นสารที่มีพิษต่อคนและสัตว์เลี้ยงลูก
ด้วยนม โดยทางการกินและสัมผัสทางผิวหนัง แต่สามารถสลายตัวได้ง่าย ซึ่งควรทาการเก็บเกี่ยวผลผลิต
หลังจากฉีดพ่นสารสกัดยาสูบไปแล้วอย่างน้อย 4 วัน
4
2.ลักษณะใบยาสูบ
ยาสูบ ชื่อสามัญ Tobacco
ยาสูบ ชื่อวิทยาศาสตร์ Nicotiana tabacum L. จัดอยู่ในวงศ์มะเขือ (SOLANACEAE) สมุนไพรยาสูบ มีชื่อ
ท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ยาซูล่ะ (กะเหรี่ยงเชียงใหม่), ยาซุ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), เกร๊อะหร่าเหมาะ (กะเหรี่ยงแดง),
ยาออก (ลั้วะ), สะตู้ (ปะหล่อง), จะวั้ว (เขมร-สุรินทร์) เป็นต้น
ลักษณะของต้นยาสูบ
 ต้นยาสูบ มีถิ่นกาเนิดในเขตร้อนของทวีปอเมริกา จัดเป็นไม้ล้มลุกที่มีอายุเพียงปีเดียว ลาต้นไม่แตก
กิ่งก้านสาขา มีความสูงประมาณ 0.6-2 เมตร ตามลาต้นและยอดมีขนที่อ่อนนิ่มปกคลุมอยู่ และทุก
ส่วนของต้นมีต่อมน้ายางเหนียว ต้นยาสูบเป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด เจริญเติบโต
ได้ดีในดินร่วนซุยที่ต้องการความชื้นปานกลาง[1],[2],[3],[5]
 ใบยาสูบ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ไปตามข้อต้น ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับหรือ
รูปไข่แกมขอบขนาน ปลายใบมน โคนใบแคบหรือสิบเรียวและแทบจะไม่มีก้านใบ ส่วนขอบใบเรียบ
และเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 10-20 เซนติเมตรและยาวประมาณ 30-60
เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียวมีขนาดใหญ่และหนา ท้องใบและหลังใบมีขนอ่อน ๆ ปกคลุมอยู่
5
 ดอกยาสูบ ออกดอกเป็นช่อยาวขึ้นไป โดยจะออกตรงส่วนของปลายยอด โดยดอกจะบานจากส่วนล่าง
ไปหาส่วนบนตามลาดับ ดอกย่อยเป็นสีชมพูอ่อนเกือบขาวหรือเป็นสีแดงเรื่อ ๆ มีกลีบดอก 5 กลีบ
โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ปลายกลีบแหลม มีขนสีขาวปกคลุม ส่วนกลีบเลี้ยงดอกเป็นสี
เขียว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉกแหลมและมีขน ดอกมีความสวยงามน่าชมมาก
6
 ผลยาสูบ ผลเป็นผลแห้งแบบแคปซูล ลักษณะของผลเป็นรูปขอบขนาน ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อแก่จะ
เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลและแตกออกได้ ภายในผลมีเมล็ดสีน้าตาลขนาดเล็กอยู่เป็นจานวนมาก
ประเภทของยาสูบ
แบ่งตามกรรมวิธีการบ่มยาได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ ใบยาบ่มไอร้อน (ได้แก่ ใบยาเวอร์จิเนีย), ใบยาบ่มแดด
(ได้แก่ ใบยาเตอร์กิช), และใบยาบ่มอากาศ (ได้แก่ ใบยาเบอร์เลย์, ใบยาแมรี่แลนด์) โดยพันธุ์ยาสูบที่นิยมปลูก
ในประเทศไทยคือสายพันธุ์เวอร์จิเนียร์ (ชนิดบ่มไอร้อน) และสายพันธุ์เตอกิช (ชนิดบ่มแดด) และการนามาผลิต
จะใช้ใบยาเวอร์จิเนียมากที่สุดคือร้อยละ 68 ส่วนใบยาเบอร์เลย์และเตอร์กิชจะใช้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น
 ใบยาเวอร์จิเนีย (Virginia) – ลักษณะของใบยาจะแห้งเป็นสีเหลืองหรือส้ม มีปริมาณนิโคตินต่าถึงปาน
กลาง มีน้าตาลในใบยาแห้งสูง เป็นใบยาที่มีคุณภาพดีและมีกลิ่นหอมคล้ายน้าผึ้ง แหล่งเพาะปลูก ได้แก่
จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แพร่ น่าน หนองคาย และนครพนม
 ใบยาเตอร์กิช (Turkish or Oriental) – ลักษณะของใบยาจะแห้งเป็นสีเหลืองหรือสีส้มอมน้าตาล ใบมี
ขนาดเล็ก มีปริมาณนิโคตินน้อย มีน้าตาลปานกลาง มีกลิ่นหอมเพราะมีน้ามันหอมระเหยสูง แหล่ง
7
หลักการและทฤษฎี
โดยธรรมชาติที่พืชบางชนิดซึ่งมีฤทธิ์ในการทาลายหรือแมลง กลัวไม่เข้าใกล้ หรือกลิ่นของพืชบางชนิด ที่แมลง และ
เชื้อโรค ไม่ชอบ ต้องศึกษาว่าสมุนไพรหรือพืชชนิดนั้น ๆ มีผลต่อโรคแมลงชนิดใด นามาใช้หมักกับจุลินทรีย์ แล้วนาไป
ฉีดพ่นขับไล่แมลงได้ สมุนไพรที่ขับไล่แมลงได้มีดังนี้
1. หนอนตายยาก - มีฤทธิ์ในการฆ่าหนอนหลายชนิด ,ฆ่าไส้เดือนฝอย
2. เมล็ดสะเดา - มีสารอะซาดีน แร๊กติน มีฤทธิ์ทาให้แมลง ด้วงหมัดผัก เบื่ออาหาร ผีเสื้อ ฆ่าเพลี้ย , ไร
3. ตะไคร้หอม - มีกลิ่นในการขับไล่แมลงทุกชนิด
4. ใบยาสูบ - มีสารที่กาจัดพวกทาก หรือเพลี้ยบางชนิด ,หนอนชอนใบ
5. ขมิ้นชัน - มีฤทธิ์ในการกาจัดเชื้อรา
6. ไพล (ปูเลย) - มีฤทธิ์ในการทาลายแบคทีเรีย ,ไวรัส บางชนิด
7. ข่าแก่ - มีสารออกฤทธิ์ใน ด้วง ,เชื้อรา ,แมลงจั๊กจั่น บางชนิด
8. ใบและดอกดาวเรือง - แมลงหวีขาว ,ไส้เดือนฝอย ,ด้วงปีกแข็ง , เพลี้ยกระโดด
9. บอระเพ็ด - ทาลายเพลี้ยกระโดดมีน้าตาล ,หนอนกอข้าว
10. ฟ้าทะลายโจร - มีรสขม กาจัดเชื้อแบคทีเรีย ,ไวรัส
11. สาบเสือ - เพลี้ยจั๊กจั่น ,เพลี้ยหอย, เพลี้ยอ่อน ,หนอนใยผัก
12. สาระแหน่ - มีน้ามันในใบขับไล่แมลง
13. กระเพราดา - กาจัดเชื้อราบางชนิด
14. หางไหล (โล่ติ๊น) - มีสารโรติโนน ทาให้แมลงหายใจลาบาก
15. ผกากรอง - มีสารแลนดาดีน มีผลต่อระบบประสาทของแมลง
เพาะปลูก ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และนครพนม
 ใบยาเบอร์เลย์ (Burley) – ลักษณะของใบยาจะเป็นสีน้าตาลอ่อนถึงสีน้าตาลแก่ มีปริมาณนิโคตินสูง มี
น้าตาลน้อยมาก เป็นใบยาที่มีคุณภาพดีมีกลิ่นหอมคล้ายโกโก้ มีน้าหนักเบา คุณภาพในการบรรจุมวนดี
โครงสร้างโปร่งดูดซึมน้าหอมน้าปรุงได้ดี แหล่งเพาะปลูก ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ สุโขทัย หนองคาย
และนครพนม
ส่วนที่ใช้ ใบอ่อน ใบแก่
สารสาคัญ ในใบมีอัลคาลอยด์ นิโคติน (nicotine) C10 H14 N2 อยู่ 0.6-9% เป็นอัลคาลอยด์ พวก
Pyridine มีลักษณะเป็น oily, volatile liquid ไม่มีสีจนถึงมีสีเหลือง ถ้าถูกอากาศอาจเปลี่ยนเป็นสีน้า
ตาล มีกลิ่นเผ็ดร้อน และกัดเนื้อเยื่อจมูกถ้าสูดดม มีสารที่จะทาให้เกิดมีกลิ่นหอม มีชื่อว่า
“nicotianin” หรือ “tobacco camphor” จะเกิดสารตัวนี้ขึ้นเมื่อนาใบยาไปบ่ม
ประโยชน์ทางยา ในยาแผนโบราณ ใช้ยาตั้งผสมกับน้ามันก๊าดใส่ผมที่เป็นเหา ทิ้งไว้ครึ่งชั่วโมง สระ
ออกให้ทาวันละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 2-3 วัน ตัวเหาจะตายไข่จะฝ่อหมด ระวังอย่าให้เข้าตาจะทาให้ตา
อักเสบ
อื่นๆ ใบอ่อนใช้ทาซิการ์ ใบแก่ทายาเส้น ยาตั้ง หรือยาฉุน ใบที่ไม่อ่อนและไม่แก่เกินไปใช้มวนบุหรี่ ยา
เส้นใช้ผสมในยานัตถุ์
ผงของใบยา ใช้เป็นสารฆ่าแมลงพวกเพลี้ยได้ผลดี โดยเตรียมน้ายาให้เป็นด่าง จะมีฤทธิ์ในการฆ่าแมลง
ดีขึ้น ชาวบ้านใช้ใส่น้าสบู่ลงไป ปัจจุบันการใช้เป็นสารฆ่าแมลงลดลง เนื่องจากมีสารสังเคราะห์ซึ่งมีฤทธิ์
ในการฆ่าแมลงได้ดี แต่มีสารพิษตกค้างอยู่ทาให้เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค การใช้ใบยาสูบสกัดให้ได้ 40
เปอร์เซ็นต์ของนิโคตินใช้เป็นสารฆ่าแมลงที่ให้ผลดี
3.สารกาจัดศัตรูพืชที่มาจากธรรมชาติ
8
16. ว่านน้า - ป้องกันและกาจัดแมลงผีเสื้อในข้าว
17. ดีปลี - กาจัดแมลงศัตรูข้าว .เพลี้ยบางชนิด
18. มะเขือเทศ - ใช้ใบกาจัดด้วงหมัดผัก , ด้วงหน่อไม้ฝรั่ง , ไรแดง , หนอนใยผัก
19. ใบน้อยหน่า - กาจัดเพลี้ยอ่อน ,หนอนใยผัก
20. กอมขม - กาจัดแมลงวันหัวเขียว , แมลงวันทอง
4.ข่า
ข่า เป็นไม้ล้มลุกที่มีอายุยืนนานหลายปี ลาต้นลงหัวอยู่ใต้ดิน ลักษณะภายนอกของลาต้นมีข้อ และปล้องเห็นได้ชัดเจน
อยู่ใต้ดินส่วนที่เหนือดินจะเป็นก้านและใบ สูงประมาณ 1-2 เมตร พืชชนิดนี้จะเป็นที่รู้จักกัน เป็นอย่างดี เพราะได้มี
การนามาใช้ประโยชน์ในการปรุงอาหารรับประทาน
ชื่อสามัญ Galanga ชื่อวิทยาศาสตร์ Alpinia galanga SW. วงศ์ Zingiberraceae ชื่ออื่น ชื่อท้องถิ่น ข่าตาแดง
/ข่าหยวก (เหนือ) /ข่าหลวง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุก สูง 1.5-2 เมตร เหง้ามีข้อและปล้อง
ชัดเจน ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอก รูปวงรีหรือเกือบขอบขนาน กว้าง 7-9
ซม. ยาว 20-40 ซม. ดอก ช่อ ออกที่ยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสีขาว
โคนติดกันเป็นหลอดสั้นๆ ปลายแยกเป็น 3 กลีบ กลีบใหญ่ที่สุดมีริ้วสีแดง ใบ
ประดับรูปไข่ ผล เป็นผลแห้งแตกได้ รูปกลม
สารสาคัญที่พบ เหง้าสดมีน้ามันหอมระเหย (Volatile oil) ซึ่งประกอบด้วยสาร
เมททิล-ซินนาเมต (Methyl-cinnamate) ซีนิออล (Cineol)การบูร (Camphor)
และยูจีนอล (Eugenol
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ปรึกษาเลือกหัวข้อ
2.นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
3.ศึกษารวบรวม
4.จัดทารายงาน
5.นาเสนอครู
6.ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-คอมพิวเตอร์
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-โทรศัพท์
-อินเทอร์เน็ต
งบประมาณ
ประมาณ 50 บาท
9
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้จัดทามีความรู้และเข้าใจในหัวข้อโครงงานมากยิ่งขึ้น
2.สามารถนาความรู้ที่ได้ไปทาเพื่อใช้เองที่บ้าน
3.สร้างรายได้ให้แก่ผู้ที่สนใจทาและนาไปจาหน่าย
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
3.บ้านของผู้จัดทา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี(เกษตร)
แหล่งอ้างอิง
ข่า. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2561. https://th.wikipedia.org(ออนไลน์).
ใบยาสูบ. สืบค้นวันที่ 26 พฤศจิกายน 2561. http://www3.rdi.ku.ac.th/exhibition/52/04-
plant/udomsak/plant_00.html(ออนไลน์).
ลักษณะใบยาสูบ. สืบค้นวันที่ 3 ธันวาคม 2561. https://medthai.com(ออนไลน์)
สารกาจัดศัตรูพืชที่มาจากธรรมชาติ. สืบค้นวันที่ 26 พฤศจิกายน 2561. https://www.kroobannok.com/46904
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ Pukkad Kcn
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5Manop Amphonyothin
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานssuseraff7e6
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกladyingviolet
 
โครงร่างโครงงาน No.2_10
โครงร่างโครงงาน No.2_10โครงร่างโครงงาน No.2_10
โครงร่างโครงงาน No.2_10Thananchanok
 
2562 final-project (32)
2562 final-project  (32)2562 final-project  (32)
2562 final-project (32)mrpainaty
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kiattipong Sriwichai
 

What's hot (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิก
 
โครงร่างโครงงาน No.2_10
โครงร่างโครงงาน No.2_10โครงร่างโครงงาน No.2_10
โครงร่างโครงงาน No.2_10
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2559 project
2559 project2559 project
2559 project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2562 final-project (32)
2562 final-project  (32)2562 final-project  (32)
2562 final-project (32)
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 

Similar to 2561 project

รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ rujira plumjit
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)Sarocha Somboon
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)Sarocha Somboon
 
ใบงาน6 โครงร่างรายงาน
ใบงาน6 โครงร่างรายงานใบงาน6 โครงร่างรายงาน
ใบงาน6 โครงร่างรายงานTeerawat Punyadang
 
งานโก๋แก้
งานโก๋แก้งานโก๋แก้
งานโก๋แก้Pornthip Nabnain
 
Tobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesTobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesasirwa04
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01TeerapatSrilom
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Permtrakul Khammoon
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานorrayaKawichai
 

Similar to 2561 project (20)

รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
at1
at1at1
at1
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)
 
ใบงาน6 โครงร่างรายงาน
ใบงาน6 โครงร่างรายงานใบงาน6 โครงร่างรายงาน
ใบงาน6 โครงร่างรายงาน
 
18
1818
18
 
งานโก๋แก้
งานโก๋แก้งานโก๋แก้
งานโก๋แก้
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
taksaorn
taksaorntaksaorn
taksaorn
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Tobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesTobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticides
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงาน
 

2561 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ยาสูบ + ข่า = ยาปราบศัตรูพืช ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววริษา สุขต้อ เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ………. 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ยาสูบ + ข่า = ยาปราบศัตรูพืช ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Tobacco and Galangal is Pesticides : TGP ประเภทโครงงาน สื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววริษา สุขต้อ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในสถานการณ์ปัจจุบันนี้ การทาการเกษตรกรรมประสบปัญหาที่หลากหลาย หนึ่งในปัญหาที่พบคือปัญหา ศัตรูพืช สารเคมีกาจัดศัตรูพืชที่ใช้ในการจัดการกับศัตรูพืชนั้น ส่วนหนึ่งจะตกค้างอยู่ในผลผลิตการเกษตร ซึ่งไม่ สามารถล้างออกได้ด้วยน้า หรือทาลายด้วยความร้อนจากการหุงต้ม มีเกษตรกรหลายท่านที่ได้ใช้สารเคมีกาจัด ศัตรูพืชซึ่งการใช้สารเคมีแก้ปัญหาเป็นการแก้ปัญหาระยะสั้นแต่ส่งผลกระทบระยะยาว คือจะส่งผลต่อดิน ต้นไม้ อากาศ น้า รวมถึงสุขภาพก็จะย่าแย่ลงไปด้วย จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เผยผลตรวจความผิดปกติ ทางพันธุกรรม(Micronucleus) ในกลุ่มเกษตรกรไทย 4 ภาค พบว่า เกษตรกรไทยที่ใช้ยาฆ่าแมลง เสี่ยงเกิดความ เสียหายระดับดีเอ็นเอ (DNA) ภายในเนื้อเยื่อของร่างกาย ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้ ช่วงที่ผ่านมาทางผู้จัดทาได้ เห็นพ่อสอนพี่ทายากาจัดศัตรูพืชใช้กับผักสวนครัว เนื่องจากมีเพี้ยงและหนอนอยู่ในผัก พ่อและพี่จึงนายานั้นมาฉีดพ่น ทางผู้จัดทาได้เห็นวิธีการทา การใช้ รวมถึงติดตามผลของการใช้สารกาจัดศัตรูพืชที่ทาจากธรรมชาติด้วย ดังนั้นทางผู้จัดทาจึงคิดว่าการใช้ธรรมชาติปราบธรรมชาติเป็นสิ่งที่ดีก็คือข่าและใบยาสูบที่มีกลิ่นฉุนเพื่อขับไล่แมลง ศัตรูพืช เพราะการใช้สิ่งที่มาจากธรรมชาติจะไม่ส่งผลกระทบในระยะยาวเหมือนกับการใช้สารเคมีในปัจจุบัน จึงอยากทาโครงงานนี้เพื่อเผยแพร่ความรู้และความตั้งใจที่จะลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร เพราะสารเคมีนั้น จะตกค้างในผลผลิตทางการเกษตรส่งผลให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายจากสารพิษนั้นด้วย วัตถุประสงค์ 1.ต้องการให้ลดใช้สารเคมีในการทาเกษตรกรรมและเปลี่ยนมาใช้ยาจาจัดศัตรูพืชที่มาจากธรรมชาติ 2.ต้องการชี้ให้เห็นถึงปัญหาสุขภาพที่มาจากสารเคมีตกค้างจากการทาการเกษตร 3.อยากให้เห็นถึงประโยชน์ของพืชผักสวนครัว ขอบเขตโครงงาน ศึกษาเฉพาะการออกฤทธิ์ของข่าและใบยาสูบทางการเกษตร
  • 3. 3 1.การควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยสารสกัดยาสูบ Control of Plant Pest by Tobacco Extraction ยาสูบเป็นพืชในวงศ์โซลานาซีอี เช่นเดียวกับ มะเขือเทศ พริก มันฝรั่ง ฯลฯ โดยอยู่ในสกุล นิโคเทียน่า ชนิด ยาสูบที่ปลูกกันทั่วไปมีมากกว่า 60 พันธุ์ หรือ 60 ชนิด ยาสูบเป็นไม้ล้มลุก ลาต้นตรงไม่แตกกิ่งก้าน ลักษณะใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงตัวสลับเวียนรอบลาต้น รูปร่างเป็นวงรี หรือรูปหอก ขอบใบเรียบ เนื้อบางนุ่ม ผิวมีขน มีช่อดอก แบบพานิเคิล กลีบเลี้ยงสีขาว กลีบดอกสีชมพูอ่อน รูปกรวยมี 5 แฉก ในพันธุ์ที่ปลูกเป็นการค้าเกือบทั้งหมดเป็น พันธุ์ทาบาคัม มีบางส่นที่ปลูกพันธุ์รัสติกา ทาง แถบยุโรปตะวันออกและเอเชียไมเนอร์ ใบของยาสูบมีสารประกอบไนโตรเจนหมู่หนึ่งที่ เรียกว่า "แอลคาลอยด์" ซึ่งมีนิโคตินเป็นส่วนใหญ่ นิโคตินเป็นองค์ประกอบที่ทาให้เกิดลักษณะ เฉพาะตัวของยาสูบ ต้นยาสูบจะผลิตสารนิโคตินที่ รากแล้วส่งไปเก็บไว้ที่ใบ ใบยาสูบเมื่อเกิดการเผา ไหม้ จะทาให้เกิดสารประกอบต่างๆ อีกจานวน มาก ทาให้เกิดกลิ่น สี และรสต่างๆ ความหอม และความฉุน แตกต่างกันไปตามชนิดของยาสูบ นอกจากนี้ระดับความอ่อนแก่ของใบ และ ตาแหน่งของใบ มีผลทาให้องค์ประกอบทางเคมี และ คุณสมบัติอื่นๆ แตกต่างกัน ยาสูบมีประสิทธิภาพในการ ป้องกันกาจัดแมลงศัตรูพืช เช่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ ข้อดีของการใช้สารสกัดยาสูบ คือ มีราคาถูก ปลอดภัยต่อ เกษตรกรผู้ใช้มากกว่าการใช้สารเคมี ไม่มีสารพิษตกค้างในผลผลิตจึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค เมื่อทาการเก็บเกี่ยว ตามคาแนะนา ไม่ตกค้างในดินและสภาพแวดล้อม โดยไม่ควรฉีดพ่นในช่วงที่มีแดดจัด หลีกเลี่ยงการสัมผัส โดยตรงกับสารสกัดระหว่างการเตรียมและฉีดพ่น เนื่องจากสารนิโคตินเป็นสารที่มีพิษต่อคนและสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนม โดยทางการกินและสัมผัสทางผิวหนัง แต่สามารถสลายตัวได้ง่าย ซึ่งควรทาการเก็บเกี่ยวผลผลิต หลังจากฉีดพ่นสารสกัดยาสูบไปแล้วอย่างน้อย 4 วัน
  • 4. 4 2.ลักษณะใบยาสูบ ยาสูบ ชื่อสามัญ Tobacco ยาสูบ ชื่อวิทยาศาสตร์ Nicotiana tabacum L. จัดอยู่ในวงศ์มะเขือ (SOLANACEAE) สมุนไพรยาสูบ มีชื่อ ท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ยาซูล่ะ (กะเหรี่ยงเชียงใหม่), ยาซุ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), เกร๊อะหร่าเหมาะ (กะเหรี่ยงแดง), ยาออก (ลั้วะ), สะตู้ (ปะหล่อง), จะวั้ว (เขมร-สุรินทร์) เป็นต้น ลักษณะของต้นยาสูบ  ต้นยาสูบ มีถิ่นกาเนิดในเขตร้อนของทวีปอเมริกา จัดเป็นไม้ล้มลุกที่มีอายุเพียงปีเดียว ลาต้นไม่แตก กิ่งก้านสาขา มีความสูงประมาณ 0.6-2 เมตร ตามลาต้นและยอดมีขนที่อ่อนนิ่มปกคลุมอยู่ และทุก ส่วนของต้นมีต่อมน้ายางเหนียว ต้นยาสูบเป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด เจริญเติบโต ได้ดีในดินร่วนซุยที่ต้องการความชื้นปานกลาง[1],[2],[3],[5]  ใบยาสูบ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ไปตามข้อต้น ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับหรือ รูปไข่แกมขอบขนาน ปลายใบมน โคนใบแคบหรือสิบเรียวและแทบจะไม่มีก้านใบ ส่วนขอบใบเรียบ และเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 10-20 เซนติเมตรและยาวประมาณ 30-60 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียวมีขนาดใหญ่และหนา ท้องใบและหลังใบมีขนอ่อน ๆ ปกคลุมอยู่
  • 5. 5  ดอกยาสูบ ออกดอกเป็นช่อยาวขึ้นไป โดยจะออกตรงส่วนของปลายยอด โดยดอกจะบานจากส่วนล่าง ไปหาส่วนบนตามลาดับ ดอกย่อยเป็นสีชมพูอ่อนเกือบขาวหรือเป็นสีแดงเรื่อ ๆ มีกลีบดอก 5 กลีบ โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ปลายกลีบแหลม มีขนสีขาวปกคลุม ส่วนกลีบเลี้ยงดอกเป็นสี เขียว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉกแหลมและมีขน ดอกมีความสวยงามน่าชมมาก
  • 6. 6  ผลยาสูบ ผลเป็นผลแห้งแบบแคปซูล ลักษณะของผลเป็นรูปขอบขนาน ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อแก่จะ เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลและแตกออกได้ ภายในผลมีเมล็ดสีน้าตาลขนาดเล็กอยู่เป็นจานวนมาก ประเภทของยาสูบ แบ่งตามกรรมวิธีการบ่มยาได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ ใบยาบ่มไอร้อน (ได้แก่ ใบยาเวอร์จิเนีย), ใบยาบ่มแดด (ได้แก่ ใบยาเตอร์กิช), และใบยาบ่มอากาศ (ได้แก่ ใบยาเบอร์เลย์, ใบยาแมรี่แลนด์) โดยพันธุ์ยาสูบที่นิยมปลูก ในประเทศไทยคือสายพันธุ์เวอร์จิเนียร์ (ชนิดบ่มไอร้อน) และสายพันธุ์เตอกิช (ชนิดบ่มแดด) และการนามาผลิต จะใช้ใบยาเวอร์จิเนียมากที่สุดคือร้อยละ 68 ส่วนใบยาเบอร์เลย์และเตอร์กิชจะใช้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น  ใบยาเวอร์จิเนีย (Virginia) – ลักษณะของใบยาจะแห้งเป็นสีเหลืองหรือส้ม มีปริมาณนิโคตินต่าถึงปาน กลาง มีน้าตาลในใบยาแห้งสูง เป็นใบยาที่มีคุณภาพดีและมีกลิ่นหอมคล้ายน้าผึ้ง แหล่งเพาะปลูก ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แพร่ น่าน หนองคาย และนครพนม  ใบยาเตอร์กิช (Turkish or Oriental) – ลักษณะของใบยาจะแห้งเป็นสีเหลืองหรือสีส้มอมน้าตาล ใบมี ขนาดเล็ก มีปริมาณนิโคตินน้อย มีน้าตาลปานกลาง มีกลิ่นหอมเพราะมีน้ามันหอมระเหยสูง แหล่ง
  • 7. 7 หลักการและทฤษฎี โดยธรรมชาติที่พืชบางชนิดซึ่งมีฤทธิ์ในการทาลายหรือแมลง กลัวไม่เข้าใกล้ หรือกลิ่นของพืชบางชนิด ที่แมลง และ เชื้อโรค ไม่ชอบ ต้องศึกษาว่าสมุนไพรหรือพืชชนิดนั้น ๆ มีผลต่อโรคแมลงชนิดใด นามาใช้หมักกับจุลินทรีย์ แล้วนาไป ฉีดพ่นขับไล่แมลงได้ สมุนไพรที่ขับไล่แมลงได้มีดังนี้ 1. หนอนตายยาก - มีฤทธิ์ในการฆ่าหนอนหลายชนิด ,ฆ่าไส้เดือนฝอย 2. เมล็ดสะเดา - มีสารอะซาดีน แร๊กติน มีฤทธิ์ทาให้แมลง ด้วงหมัดผัก เบื่ออาหาร ผีเสื้อ ฆ่าเพลี้ย , ไร 3. ตะไคร้หอม - มีกลิ่นในการขับไล่แมลงทุกชนิด 4. ใบยาสูบ - มีสารที่กาจัดพวกทาก หรือเพลี้ยบางชนิด ,หนอนชอนใบ 5. ขมิ้นชัน - มีฤทธิ์ในการกาจัดเชื้อรา 6. ไพล (ปูเลย) - มีฤทธิ์ในการทาลายแบคทีเรีย ,ไวรัส บางชนิด 7. ข่าแก่ - มีสารออกฤทธิ์ใน ด้วง ,เชื้อรา ,แมลงจั๊กจั่น บางชนิด 8. ใบและดอกดาวเรือง - แมลงหวีขาว ,ไส้เดือนฝอย ,ด้วงปีกแข็ง , เพลี้ยกระโดด 9. บอระเพ็ด - ทาลายเพลี้ยกระโดดมีน้าตาล ,หนอนกอข้าว 10. ฟ้าทะลายโจร - มีรสขม กาจัดเชื้อแบคทีเรีย ,ไวรัส 11. สาบเสือ - เพลี้ยจั๊กจั่น ,เพลี้ยหอย, เพลี้ยอ่อน ,หนอนใยผัก 12. สาระแหน่ - มีน้ามันในใบขับไล่แมลง 13. กระเพราดา - กาจัดเชื้อราบางชนิด 14. หางไหล (โล่ติ๊น) - มีสารโรติโนน ทาให้แมลงหายใจลาบาก 15. ผกากรอง - มีสารแลนดาดีน มีผลต่อระบบประสาทของแมลง เพาะปลูก ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และนครพนม  ใบยาเบอร์เลย์ (Burley) – ลักษณะของใบยาจะเป็นสีน้าตาลอ่อนถึงสีน้าตาลแก่ มีปริมาณนิโคตินสูง มี น้าตาลน้อยมาก เป็นใบยาที่มีคุณภาพดีมีกลิ่นหอมคล้ายโกโก้ มีน้าหนักเบา คุณภาพในการบรรจุมวนดี โครงสร้างโปร่งดูดซึมน้าหอมน้าปรุงได้ดี แหล่งเพาะปลูก ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ สุโขทัย หนองคาย และนครพนม ส่วนที่ใช้ ใบอ่อน ใบแก่ สารสาคัญ ในใบมีอัลคาลอยด์ นิโคติน (nicotine) C10 H14 N2 อยู่ 0.6-9% เป็นอัลคาลอยด์ พวก Pyridine มีลักษณะเป็น oily, volatile liquid ไม่มีสีจนถึงมีสีเหลือง ถ้าถูกอากาศอาจเปลี่ยนเป็นสีน้า ตาล มีกลิ่นเผ็ดร้อน และกัดเนื้อเยื่อจมูกถ้าสูดดม มีสารที่จะทาให้เกิดมีกลิ่นหอม มีชื่อว่า “nicotianin” หรือ “tobacco camphor” จะเกิดสารตัวนี้ขึ้นเมื่อนาใบยาไปบ่ม ประโยชน์ทางยา ในยาแผนโบราณ ใช้ยาตั้งผสมกับน้ามันก๊าดใส่ผมที่เป็นเหา ทิ้งไว้ครึ่งชั่วโมง สระ ออกให้ทาวันละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 2-3 วัน ตัวเหาจะตายไข่จะฝ่อหมด ระวังอย่าให้เข้าตาจะทาให้ตา อักเสบ อื่นๆ ใบอ่อนใช้ทาซิการ์ ใบแก่ทายาเส้น ยาตั้ง หรือยาฉุน ใบที่ไม่อ่อนและไม่แก่เกินไปใช้มวนบุหรี่ ยา เส้นใช้ผสมในยานัตถุ์ ผงของใบยา ใช้เป็นสารฆ่าแมลงพวกเพลี้ยได้ผลดี โดยเตรียมน้ายาให้เป็นด่าง จะมีฤทธิ์ในการฆ่าแมลง ดีขึ้น ชาวบ้านใช้ใส่น้าสบู่ลงไป ปัจจุบันการใช้เป็นสารฆ่าแมลงลดลง เนื่องจากมีสารสังเคราะห์ซึ่งมีฤทธิ์ ในการฆ่าแมลงได้ดี แต่มีสารพิษตกค้างอยู่ทาให้เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค การใช้ใบยาสูบสกัดให้ได้ 40 เปอร์เซ็นต์ของนิโคตินใช้เป็นสารฆ่าแมลงที่ให้ผลดี 3.สารกาจัดศัตรูพืชที่มาจากธรรมชาติ
  • 8. 8 16. ว่านน้า - ป้องกันและกาจัดแมลงผีเสื้อในข้าว 17. ดีปลี - กาจัดแมลงศัตรูข้าว .เพลี้ยบางชนิด 18. มะเขือเทศ - ใช้ใบกาจัดด้วงหมัดผัก , ด้วงหน่อไม้ฝรั่ง , ไรแดง , หนอนใยผัก 19. ใบน้อยหน่า - กาจัดเพลี้ยอ่อน ,หนอนใยผัก 20. กอมขม - กาจัดแมลงวันหัวเขียว , แมลงวันทอง 4.ข่า ข่า เป็นไม้ล้มลุกที่มีอายุยืนนานหลายปี ลาต้นลงหัวอยู่ใต้ดิน ลักษณะภายนอกของลาต้นมีข้อ และปล้องเห็นได้ชัดเจน อยู่ใต้ดินส่วนที่เหนือดินจะเป็นก้านและใบ สูงประมาณ 1-2 เมตร พืชชนิดนี้จะเป็นที่รู้จักกัน เป็นอย่างดี เพราะได้มี การนามาใช้ประโยชน์ในการปรุงอาหารรับประทาน ชื่อสามัญ Galanga ชื่อวิทยาศาสตร์ Alpinia galanga SW. วงศ์ Zingiberraceae ชื่ออื่น ชื่อท้องถิ่น ข่าตาแดง /ข่าหยวก (เหนือ) /ข่าหลวง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุก สูง 1.5-2 เมตร เหง้ามีข้อและปล้อง ชัดเจน ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอก รูปวงรีหรือเกือบขอบขนาน กว้าง 7-9 ซม. ยาว 20-40 ซม. ดอก ช่อ ออกที่ยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสีขาว โคนติดกันเป็นหลอดสั้นๆ ปลายแยกเป็น 3 กลีบ กลีบใหญ่ที่สุดมีริ้วสีแดง ใบ ประดับรูปไข่ ผล เป็นผลแห้งแตกได้ รูปกลม สารสาคัญที่พบ เหง้าสดมีน้ามันหอมระเหย (Volatile oil) ซึ่งประกอบด้วยสาร เมททิล-ซินนาเมต (Methyl-cinnamate) ซีนิออล (Cineol)การบูร (Camphor) และยูจีนอล (Eugenol วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ปรึกษาเลือกหัวข้อ 2.นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน 3.ศึกษารวบรวม 4.จัดทารายงาน 5.นาเสนอครู 6.ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -คอมพิวเตอร์ -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -โทรศัพท์ -อินเทอร์เน็ต งบประมาณ ประมาณ 50 บาท
  • 9. 9 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้จัดทามีความรู้และเข้าใจในหัวข้อโครงงานมากยิ่งขึ้น 2.สามารถนาความรู้ที่ได้ไปทาเพื่อใช้เองที่บ้าน 3.สร้างรายได้ให้แก่ผู้ที่สนใจทาและนาไปจาหน่าย สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 3.บ้านของผู้จัดทา กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี(เกษตร) แหล่งอ้างอิง ข่า. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2561. https://th.wikipedia.org(ออนไลน์). ใบยาสูบ. สืบค้นวันที่ 26 พฤศจิกายน 2561. http://www3.rdi.ku.ac.th/exhibition/52/04- plant/udomsak/plant_00.html(ออนไลน์). ลักษณะใบยาสูบ. สืบค้นวันที่ 3 ธันวาคม 2561. https://medthai.com(ออนไลน์) สารกาจัดศัตรูพืชที่มาจากธรรมชาติ. สืบค้นวันที่ 26 พฤศจิกายน 2561. https://www.kroobannok.com/46904 ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน