SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ซินเนสทีเซีย (Synesthesia)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว อารียา บัวลอย เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว อารียา บัวลอย เลขที่ 20
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคซินเนสทีเซีย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Synesthesia
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อารียา บัวลอย
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันโลกของเรายังมีความลับต่างๆมากมายที่รอการค้นพบ แต่บางสิ่งที่มนุษย์ได้ค้นพบแล้วนั้นมีทั้ง
สิ่งที่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย และสิ่งที่แทบไม่มีคนรู้จักเลยก็มี โรคภัยไข้เจ็บต่างๆก็เช่นกัน หากโรคนั้นสามารถ
พลากชีวิตของผู้คนได้รวดเร็ว โรคร้ายนั้นย่อมเป็นสิ่งที่น่ากลัวและเป็นที่รู้จัก แต่บางโรคก็ไม่ได้อันตรายจนถึงขั้น
เสียชีวิตได้ แต่ก็ยังส่งผลออกมาทางใดทางหนึ่งให้ผู้ป่วยทราบ ยังมีโรคอีกหลายโรคที่คนส่วนมากไม่รู้จักเราจึง
เรียกผู้ป่วยโรคนั้นว่าเป็นคนนพิเศษ
คนพิเศษในที่นี้ คือ ผู้ป่วยที่มีอาการมองตัวเลขหรือตัวหนังสือเป็นสี บางรายก็มีอาการชิมรสชาติ
อาหาร แต่กลับเห็นรูปร่างตามมาด้วย เป็นต้น คนพิเศษเหล่านี้ได้เป็นผู้ป่วยโรคหรืออาการ “ซินเนสทีเซีย”
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคซินเนสทีเซีย
2. ทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซินเนสทีเซีย
3. หาแนวทางแก้ปัญหา
4. สารวจจานวนผู้ป่วยในระดับชั้นม 6
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ซินเนสทีเซีย เป็นความสามารถในการรับรู้ของสมองพร้อมกัน หลายช่องทาง โดยชื่อเรียก
Synesthesia นั้นมาจากคาในภาษากรีกคือ Syn ที่แปลว่า ร่วมกัน และ Aisthesis ที่แปลว่า การรับรู้ ส่วนผู้ที่
เป็นซินเนสทีเซียนั้น เราเรียกว่า ซินเนสทิต (Synesthete) คือพรสวรรค์หรือความผิดปกติ ปัจจุบัน ในทาง
การแพทย์ไม่ถือว่าซินเนสทีเซียเป็นอาการผิดปกติ หากแต่เป็นความพิเศษ พรสวรรค์หรือของขวัญจาก
ธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้ด้วยสถิติ 1 ต่อ 25,000 คน ลักษณะพิเศษของซินเนสทีเซีย คือ เกิดขึ้น
อัตโนมัติ บอกตาแหน่งการเกิดได้ เป็นสัมผัสพื้นฐาน กระตุ้นความจาและความรู้สึก จากข้อมูลของนักวิจัย
หลายๆ คน พบสิ่งที่ตรงกันว่า ปรากฏการณ์ซินเนสทิเซียมักเกิดในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และเชื่อว่า
สามารถส่งต่อทางพันธุกรรมได้ผ่านโครโมโซม X นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะเป็นลูกชายหรือลูกสาวก็อาจได้รับ
ถ่ายทอดความพิเศษนี้ผ่านทางแม่ได้ สถิติผู้หญิงกับซินเนสทีเซีย ในสหรัฐอเมริกา ว่ากันว่าหากคนที่เป็นซินเนส
ทีเซียเดินมาพร้อมกัน 4 คน 3 ใน 4 คนนั้นจะเป็นผู้หญิง ส่วนในอังกฤษตัวเลขจะอยู่ที่ 8 ต่อ 9
ความลึกลับของสมองกับการรับรู้ที่มากกว่าปกติ
นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ซินเนสทีเซียคือผลลัพธ์จากการเชื่อมต่อเซลล์สมองตั้งแต่เรายังเล็กๆ เพราะ
เมื่อครั้งเราเป็นทารก ธรรมชาติได้ให้เซลล์สมองหลายล้านเซลล์แก่เราเพื่อรอพัฒนาเป็นสมองที่สมบูรณ์ยามเติบ
ใหญ่ ในคนปกติทั่วไป เซลล์สมองที่เชื่อมต่อกันยุ่งเหยิงนี้จะค่อยๆ เข้าที่เข้าทางและลดการเชื่อมต่อลงเมื่อเราโต
ขึ้น แต่ในชาวซินเนสทิต การเชื่อมต่อนี้จะยังคงอยู่ตลอดไป เป็นเหมือนทางด่วน ทางลัดในการรับส่งข้อมูล ทา
ให้คนเหล่านี้รับรู้หรือเห็นได้มากกว่าคนปกติ เช่น เวลาคนทั่วไปมองเห็นต้นไม้ สมองส่วนรับรู้การมองเห็นก็จะ
แปรสัญญาณเป็นภาพต้นไม้สีเขียว แต่ในคนที่เป็นซินเนสทีเซีย นอกจากสมองส่วนรับรู้การมองเห็นจะทางาน
ตามปกติแล้ว การเชื่อมต่อพิเศษที่อธิบายไม่ได้ยังอาจไปกระตุ้นให้สมองส่วนรับกลิ่นทางานไปพร้อมกันด้วย ทา
ให้คนคนนั้นมองเห็นต้นไม้สีเขียวพร้อมๆ กับการได้กลิ่น
แต่บางทฤษฎีก็เชื่อในทางตรงข้ามว่า สมองของชาวซินเนสทิตเกิดมาอย่างคนธรรมดา แต่มีบางสิ่งที่เป็น
ความพิเศษเกิดขึ้นทีหลัง โดยที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมต่อวงจรสมองแต่อย่างใด
ไม่ว่าทฤษฎีไหนจะถูกหรือผิด แต่ความจริงที่เรารู้ก็คือ ผู้ที่เป็นซินเนสทีเซียจะมีความสามารถรับรู้สิ่งพิเศษนี้
ไปตลอดชีวิต และส่วนใหญ่จะมีระดับไอคิวสูงกว่าหรือพอๆกับค่าเฉลี่ยคนทั่วไป
4
นอกจากนี้ชาวซินเนสทิตมักถนัดใช้มือซ้าย มีความจาเป็นเลิศ แต่มักหลงทิศทางและด้อยเรื่องการคานวณ
และเรายังสามารถพบชาวซินเนสทิตได้ในหมู่ศิลปิน นักเขียน กวี นักดนตรีและนักแต่งเพลง ซึ่งคาดว่าในคน
กลุ่มนี้จะมีชาวซินเนสทิตมากกว่าในสายงานอื่นๆถึง 7 เท่า
ซินเนสทีเซีย ไม่ใช่ความเจ็บป่วย?
นั่นเป็นความเข้าใจที่ถูกต้อง เพราะคนที่มีอาการซินเนสทีเซียไม่ใช่คนป่วย ไม่ใช่ผู้ที่มีความผิดปกติทางสมอง
ไม่จาเป็นต้องพบแพทย์เพื่อรักษา แต่ในบางครั้งปรากฏการณ์นี้ก็อาจบอกได้ว่าคุณกาลังมีความผิดปกติเกิด
ขึ้นกับสมอง
ในกรณีที่คุณไม่ได้มีภาวะซินเนสทีเซียมาตั้งแต่เด็ก แต่จู่ๆเพิ่งมามีตอนโตหรือเมื่ออายุมากแล้ว ก็อาจบ่งชี้ได้
ว่ามีความไม่ปกติเกิดขึ้น โดยเฉพาะหากมีอาการเจ็บป่วยทางกายอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น ความจาเสื่อม มือไม้
สั่น ปวดศีรษะ เป็นต้น เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณของโรคอัลไซเมอร์ พาร์คินสัน ลมชักหรือเนื้องอกในสมองได้
ถ้ามีอาการเหล่านี้อย่านิ่งนอนใจ ควรรีบไปพบแพทย์นะคะ
นอกจากพรสวรรค์ที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด หรือความผิดปกติทางสมองที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง ปรากฎการณ์ซิน
เนสทีเซียยังอาจเกิดจากการใช้ยาบางประเภทก็ได้ เช่น ยากดประสาทหรือยาเสพติดที่ทาให้เห็นภาพหลอน แต่
เราไม่เรียกสิ่งเหล่านี้ว่าซินเนสทีเซียที่แท้จริง เพราะเกิดจากสภาวะไม่ปกติทางกายจึงไม่นับเป็นความสามารถ
พิเศษหรือพรสวรรค์แต่อย่างใด
รูปแบบของซินเนสทีเซีย
เพราะซินเนสทีเซียเป็นสัมผัสที่ซับซ้อนมากกว่าปกติ จึงสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกผัสสะทั้ง ตา หู จมูก ลิ้น
กาย และใจ เชื่อมโยงกันไปเป็นลักษณะพิเศษของแต่ละคน รูปแบบการเกิดซินเนสทีเซียไม่มีความแน่นอน และ
ในคนคนเดียวยังอาจเกิดซินเนสทีเซียได้หลายรูปแบบด้วย
1. เพื่อให้การศึกษาซินเนสทีเซียเป็นเรื่องง่าย Dr. Ashok Jansari หัวหน้าทีมวิจัยจากสถาบันจิตเวชแห่ง
University of East London ได้กาหนดโครงสร้างรูปแบบการเกิดซินเนสทีเซียไว้ 4 กลุ่ม ดังนี้
2. Grapheme - colour synaesthesia คือ กลุ่มที่เห็นตัวหนังสือหรือตัวเลขเป็นสี
3. Taste–touch synaesthesia คือ กลุ่มที่เกิดความรู้สึกต่างๆจากการลิ้มรสชาติ
4. Sound–colour synaesthesia คือ กลุ่มที่เสียงเพลง เสียงดนตรีหรือตัวโน้ตทาให้เห็นเป็นสี
5. Word–taste synaesthesia คือ กลุ่มที่สัมผัสรสชาติได้จากตัวอักษร ตัวหนังสือ
รูปแบบซินเนสทีเซียที่พบได้บ่อยที่สุดคือแบบที่ 1 เห็นอักษรเป็นสี
ข้อดีของซินเนสทีเซีย
จากสถิติของผู้เป็นซินเนสทีเซียส่วนใหญ่พบว่ามีความจาดีกว่าคนทั่วไป นั่นอาจเป็นเพราะประสบการณ์การ
รับรู้พร้อมกันมากกว่าหนึ่งช่องทางในเวลาเดียว เมื่อรู้ตัวว่าเป็นซินเนสทิต อาจเป็นเรื่องง่ายที่จะจัดระบบ
ความจาให้ตัวเอง หรือใช้ทักษะพิเศษที่มีอยู่สร้างสรรค์จุดเด่นขึ้นมา เพื่อความเป็นเลิศของทักษะด้านต่างๆ ได้
เห็นตัวเลขเป็นสี ฟังดนตรีรู้สึกหวาน*
5
อาการดังกล่าวข้างต้น
มีชื่อเรียกว่า "โรคซินเนสเตเซีย"
อาการของซินเนสตีเซียนั้น
ได้ข้อสรุปออกมาคร่าวๆว่า เป็นการทางานของสมองที่ เชื่อมต่อกันผิดพลาดของ ส่วนที่รับรู้ รสชาติ กลิ่น เสียง
ทาให้ เวลาได้ยินจึงเห็นเป็นสี เวลาสัมผัสแล้วเห็นเป็นรูปสี่ต่างๆ เวลาเห็นแล้วนึกถึงเป็นรสชาติต่างๆ
กล่าวคือ เป็นโรคที่
จะเห็นตัวเลข ตัวอักษร เป็นสีๆกล่าวคือ หากชายหนึ่งเห็นตัวอักษร A เป็นสีชมพู เขาก็จะเห็นตัว A เป็นสีชมพู
ไปชั่วชีวิต
แต่ที่น่าสนใจยิ่งขึ้นไปอีกก็คือ คนที่เป็นซินเนสทีเซียอีกคน อาจจะเถียงว่า ตัว A เป็นสีฟ้า (หรือสีอื่น) ต่างหาก
และคนๆ นั้นก็จะเห็นเป็นสีฟ้าไปชั่วชีวิตเช่นกัน
คนที่มีประสบการณ์พิเศษเช่นนี้มักจะไม่บอกใคร เพราะเมื่อครั้งที่ยังเป็นเด็ก แล้วพูดกับเพื่อนๆ หรือคนรอบข้าง
ว่า “เสียงเพลงๆ นี้ สีสวยดีเนอะ” หรือ “ขนมนี้ รสชาติมันเหลี่ยมๆ คมๆ” ก็ย่อมจะทาให้เพื่อนๆ หรือคนรอบ
ข้างมองว่าเป็นตัวประหลาด
ประเภทต่อมาเป็นประเภทที่น่าสนใจมาก
กล่าวคือ เมื่อได้ยินเสียงดนตรี ใน คอร์ด ที่ต่างกัน จะเห็นออกมาเป็นสี หรือ รูปร่าง
จึงมีนักดนตรีไม่น้อยที่ประสบความสาเร็จทางด้านดนตรี จากการเป็นโรคนี้
อย่างเช่น น้องคนหนึ่ง เมื่อได้ยินคอร์ดต่างๆ แล้ว จะเห็นออกมาเป็นสีตามนี้ C D E F G A B
ตัวอย่างนักดนตรีที่ประสบความสาเร็จ เช่น
Franz Liszt - คีตกวีและนักเปียนโนฝีมือฉกาจชาวฮังการี ซึ่งมองเห็นสีเมื่อได้ยินเสียงโน้ตดนตรี
Tony DeCaprio - มือกีตาร์แจ๊ส
Amy Beach - นักเปียโนและนักแต่งเพลงช่าวอเมริกัน
Leonard Bernstein - นักแต่งเพลงและ conductor
เอลิซาเบ็ธ ซุลแซร์ วัย 29 ปี
"ซินเนสทีเซียหลอมรวมประสาทสัมผัสสามอย่างเข้าด้วยกันโดยไม่ได้เจตนา เช่น เห็นสีเมื่อได้ยินเสียง คือ
ประสาทรับ
เสียง ภาพ และรส โน้ตดนตรีก่อให้เกิดรูปทรงและสีสันต่าง ๆ ขึ้นในกรอบการมองเห็นตรงหน้า ขณะเดียวกัน
โน้ตต่าง ๆที่ผสมผสานกันก็ชักนาให้เกิดรสชาติต่าง ๆ ขึ้นบนลิ้นของเธอ และโน้ตเพลงเดียวกันหรือส่วนผสม
ของโน้ต
ชุดเดียวกันก็จะชักนาให้เกิดสีสัน รูปทรง หรือรส ชาติแบบเดียวกันขึ้นแบบที่เอลิซาเบ็ธเป็นนั้นพิเศษมาก
เพราะเท่าที่
ทราบเธอเป็นคนเดียวในโลกที่มีความสามารถแบบนี้ เธอแสดงดนตรีเป็นอาชีพในคอนเสิร์ต ต่าง ๆ ทั่ว
สวิตเซอร์แลนด์
6
และใช้อาการซินเนสทีเซียของเธอเพื่อให้ได้ตัวโน้ตที่สมบูรณ์ และจดจาโน้ตเพลงได้หลังจากดูแค่รอบเดียว"
นักวาดภาพ จิตกร หลายคนก็ประสบความสาเร็จเช่นกัน
เพราะเมื่อเขาฟังเพลง ก็จะเห็นเป็นภาพสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยมต่างๆ หรือสีต่างๆ ออกมาเต็มไปหมด
เช่น
Wassily Kandinsky จิตรกรผู้บุกเบิกงานศิลปะนามธรรมเชื้อสายรัสเซีย ก็มองเห็นสีเมื่อได้ยินเสียงดนตรี
- คนบางคนมองเห็นแนวคิดเชิงนามธรรมบางอย่างมีรูปร่าง (หรือโครงสร้าง) ได้ เช่น เห็นเดือนทั้ง 12 เดือน ใน
1 ปี เหมือนกับตู้ที่นั่งของชิงช้าสวรรค์ โดยมีเดือนธันวาคมอยู่ด้านล่าง และเดือนกรกฎาคมอยู่ด้านบน
- บางคนก็อาจจะเห็นกระบวนการคานวณทางคณิตศาสตร์ (math operation) เป็นรูปเป็นร่างได้
ลองมาดูคาพูดของคนที่เป็นโรคนี้กัน
"ส่วนตัวหนูเองเนี่ยก็จะเป็นแบบเห็นตัวเลขและคาเป็นสีๆค่ะ แล้วก็เห็นคนเป็นสิ่งของหรือเห็นคนแล้วไปนึกถึง
ของอะไรแบบนี้ เช่นเห็นเพื่อนคนนี้ รู้สึกมานานแล้วว่าทาไมเหมือนลูกครึ่งพะยูนกับปลาโลมาจังเลย ทั้งๆที่เค้า
ก้อไม่ได้อ้วนนะคะ บางคนเห็นก็รุสึกเหมือนกาวแท่งยู้ฮูกลิ่นแครอทยังไงไม่รู้ แต่ก็ดีนะคะ จะได้จางายๆ และเพิ่ง
รู้ว่าการเรียนที่ใช้ความจาเยอะๆเนี่ย การเป็นซินเนสเตเซียก็มีประโยชน์แบที่ไม่รู้ตัว โดยที่เราจะคิดจะจาอะไร
มันก้อเป็นคาสีๆลอยไปลอยมาอยูในหัวเลยค่ะ"
"เรื่องการมองเดือนเป็นชิงช้าสวรรค์นั้นแล้วตกใจกว่า เพราะว่า ถ้าคิดถึงเดือนนั้น ก็จะเห็นเป็นวงกลม
เหมือนกัน(บางทีรู้สึกเห็นเป็นชิงช้าด้วยค่ะ-- รู้สึก อายจัง กลัวคนอื่นคิดว่า ฝ้ายโม้อ่ะคะ) โดยมกราคมจะอยู่ที่
เลขระหว่าง 11 กับ 12 ถ้าเป็นนาฬิกาอ่ะนะคะ แล้วกุมภาก็ วนทวนเข็มนาฬิกาลงมาสุดท้ายธันวา ก็จะอยู่ที่
เลขระหว่าง 1 กับ12 โดยถ้าคิดว่าตอนนี้เดือนตุลา ก็จะเห็นว่าตัวเองกาลังอยู่ที่ด้านล่างเอียงมาทางขวามือของ
วงกลม เป็นอย่างนี้มาตลอดตั้งแต่เด็กๆ"
"คือไม่ได้เห็นเลข 7 แล้วนึก"ถึง"สีส้มนะคะ
แต่จะเห็นเลข7เปนสีส้ม คือไม่ใช่แบบตาบอดสีนะคะ สมมติว่าเลข7ถูกเขียนด้วยสีดาเราก็รู้ว่ามันเปนสีดา แต่
เราคิด เอ่อ รู้สึก (ประมานนี้)วว่ามันควรจะเป็น (และมันเปน)สีส้มอะค่ะ
แต่เห็นสีส้มไม่ได้นึกถึงเลข7ค่ะ เห็นสีส้มทีไรแล้วมันจะเปรี้ยวๆในปากอะค่ะ
โรคเซนนิสเตเซียแบบนี้ก็มีค่ะ
กล่าวคือ คนที่เป็นชนิดนี้ เวลาเห็นคนก็จะเห็นมีแสงออร่า เปล่งออกมา เป็นสีๆ รัศมีต่างๆ
ว่าคนเหล่านั้น จิตใจเป็นอย่างไร กาลังรู้สึกอะไรอยู่
เช่น เมื่อเห็นคนเศร้า ก็จะเป็นแสงเทาๆ มืดมนออกมา
7
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. เลือกหัวข้อที่สนใจ
2. นาเสนอหัวข้อที่สนใจกับครูที่ปรึกษา
3. ศึกษาข้อมูลและรวบรวมข้อมูล
4. จัดทารายงานโครงงาน
5. นาเสนอแก่ครูที่ปรึกษา
6. ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ผู้คนเข้าใจผู้ที่มีอาการของโรคนี้
2. อาการซินเนสทีเซียมีคนรู้จักเพิ่มมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สุขศึกษา
8
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
 http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=tomz&month=08-01-
2010&group=2&gblog=46
 http://www.oknation.net/blog/print.php?id=202159

More Related Content

What's hot

EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...LoRy7
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยLeoBlack1017
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5Khunnawang Khunnawang
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)Chamada Rinzine
 
เรื่องที่ 8 การวิพากษ์ปัญหาสังคม
เรื่องที่ 8 การวิพากษ์ปัญหาสังคมเรื่องที่ 8 การวิพากษ์ปัญหาสังคม
เรื่องที่ 8 การวิพากษ์ปัญหาสังคมMarg Kok
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559palinee kotsomnuan
 
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลแบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลphotnew
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5Khunnawang Khunnawang
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม khanidthakpt
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Rossarin Nhoo-ied
 
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Rossarin Nhoo-ied
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 

What's hot (20)

EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
เรื่องที่ 8 การวิพากษ์ปัญหาสังคม
เรื่องที่ 8 การวิพากษ์ปัญหาสังคมเรื่องที่ 8 การวิพากษ์ปัญหาสังคม
เรื่องที่ 8 การวิพากษ์ปัญหาสังคม
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
Rpg thesis
Rpg thesisRpg thesis
Rpg thesis
 
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลปีการศึกษา2559
 
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลแบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
 
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
W.1
W.1W.1
W.1
 

Similar to 2562 final-project 20-areeya

2562 final-project 605-43
2562 final-project 605-432562 final-project 605-43
2562 final-project 605-43PailinBoonthong
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค PhobiaDduang07
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีBam Hattamanee
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610ssuser015151
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีมeyecosmomo
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)arisa promlar
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นKritsadin Khemtong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์wasavaros
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7mrpainaty
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7mrpainaty
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5T000 Ter
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project T000 Ter
 

Similar to 2562 final-project 20-areeya (20)

2562 final-project 605-43
2562 final-project 605-432562 final-project 605-43
2562 final-project 605-43
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค Phobia
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสี
 
2560 project -1.doc1
2560 project -1.doc12560 project -1.doc1
2560 project -1.doc1
 
Aunchalee norfa no.16
Aunchalee norfa no.16Aunchalee norfa no.16
Aunchalee norfa no.16
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
1
11
1
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

2562 final-project 20-areeya

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ซินเนสทีเซีย (Synesthesia) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว อารียา บัวลอย เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว อารียา บัวลอย เลขที่ 20 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคซินเนสทีเซีย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Synesthesia ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อารียา บัวลอย ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันโลกของเรายังมีความลับต่างๆมากมายที่รอการค้นพบ แต่บางสิ่งที่มนุษย์ได้ค้นพบแล้วนั้นมีทั้ง สิ่งที่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย และสิ่งที่แทบไม่มีคนรู้จักเลยก็มี โรคภัยไข้เจ็บต่างๆก็เช่นกัน หากโรคนั้นสามารถ พลากชีวิตของผู้คนได้รวดเร็ว โรคร้ายนั้นย่อมเป็นสิ่งที่น่ากลัวและเป็นที่รู้จัก แต่บางโรคก็ไม่ได้อันตรายจนถึงขั้น เสียชีวิตได้ แต่ก็ยังส่งผลออกมาทางใดทางหนึ่งให้ผู้ป่วยทราบ ยังมีโรคอีกหลายโรคที่คนส่วนมากไม่รู้จักเราจึง เรียกผู้ป่วยโรคนั้นว่าเป็นคนนพิเศษ คนพิเศษในที่นี้ คือ ผู้ป่วยที่มีอาการมองตัวเลขหรือตัวหนังสือเป็นสี บางรายก็มีอาการชิมรสชาติ อาหาร แต่กลับเห็นรูปร่างตามมาด้วย เป็นต้น คนพิเศษเหล่านี้ได้เป็นผู้ป่วยโรคหรืออาการ “ซินเนสทีเซีย”
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคซินเนสทีเซีย 2. ทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซินเนสทีเซีย 3. หาแนวทางแก้ปัญหา 4. สารวจจานวนผู้ป่วยในระดับชั้นม 6 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ซินเนสทีเซีย เป็นความสามารถในการรับรู้ของสมองพร้อมกัน หลายช่องทาง โดยชื่อเรียก Synesthesia นั้นมาจากคาในภาษากรีกคือ Syn ที่แปลว่า ร่วมกัน และ Aisthesis ที่แปลว่า การรับรู้ ส่วนผู้ที่ เป็นซินเนสทีเซียนั้น เราเรียกว่า ซินเนสทิต (Synesthete) คือพรสวรรค์หรือความผิดปกติ ปัจจุบัน ในทาง การแพทย์ไม่ถือว่าซินเนสทีเซียเป็นอาการผิดปกติ หากแต่เป็นความพิเศษ พรสวรรค์หรือของขวัญจาก ธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้ด้วยสถิติ 1 ต่อ 25,000 คน ลักษณะพิเศษของซินเนสทีเซีย คือ เกิดขึ้น อัตโนมัติ บอกตาแหน่งการเกิดได้ เป็นสัมผัสพื้นฐาน กระตุ้นความจาและความรู้สึก จากข้อมูลของนักวิจัย หลายๆ คน พบสิ่งที่ตรงกันว่า ปรากฏการณ์ซินเนสทิเซียมักเกิดในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และเชื่อว่า สามารถส่งต่อทางพันธุกรรมได้ผ่านโครโมโซม X นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะเป็นลูกชายหรือลูกสาวก็อาจได้รับ ถ่ายทอดความพิเศษนี้ผ่านทางแม่ได้ สถิติผู้หญิงกับซินเนสทีเซีย ในสหรัฐอเมริกา ว่ากันว่าหากคนที่เป็นซินเนส ทีเซียเดินมาพร้อมกัน 4 คน 3 ใน 4 คนนั้นจะเป็นผู้หญิง ส่วนในอังกฤษตัวเลขจะอยู่ที่ 8 ต่อ 9 ความลึกลับของสมองกับการรับรู้ที่มากกว่าปกติ นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ซินเนสทีเซียคือผลลัพธ์จากการเชื่อมต่อเซลล์สมองตั้งแต่เรายังเล็กๆ เพราะ เมื่อครั้งเราเป็นทารก ธรรมชาติได้ให้เซลล์สมองหลายล้านเซลล์แก่เราเพื่อรอพัฒนาเป็นสมองที่สมบูรณ์ยามเติบ ใหญ่ ในคนปกติทั่วไป เซลล์สมองที่เชื่อมต่อกันยุ่งเหยิงนี้จะค่อยๆ เข้าที่เข้าทางและลดการเชื่อมต่อลงเมื่อเราโต ขึ้น แต่ในชาวซินเนสทิต การเชื่อมต่อนี้จะยังคงอยู่ตลอดไป เป็นเหมือนทางด่วน ทางลัดในการรับส่งข้อมูล ทา ให้คนเหล่านี้รับรู้หรือเห็นได้มากกว่าคนปกติ เช่น เวลาคนทั่วไปมองเห็นต้นไม้ สมองส่วนรับรู้การมองเห็นก็จะ แปรสัญญาณเป็นภาพต้นไม้สีเขียว แต่ในคนที่เป็นซินเนสทีเซีย นอกจากสมองส่วนรับรู้การมองเห็นจะทางาน ตามปกติแล้ว การเชื่อมต่อพิเศษที่อธิบายไม่ได้ยังอาจไปกระตุ้นให้สมองส่วนรับกลิ่นทางานไปพร้อมกันด้วย ทา ให้คนคนนั้นมองเห็นต้นไม้สีเขียวพร้อมๆ กับการได้กลิ่น แต่บางทฤษฎีก็เชื่อในทางตรงข้ามว่า สมองของชาวซินเนสทิตเกิดมาอย่างคนธรรมดา แต่มีบางสิ่งที่เป็น ความพิเศษเกิดขึ้นทีหลัง โดยที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมต่อวงจรสมองแต่อย่างใด ไม่ว่าทฤษฎีไหนจะถูกหรือผิด แต่ความจริงที่เรารู้ก็คือ ผู้ที่เป็นซินเนสทีเซียจะมีความสามารถรับรู้สิ่งพิเศษนี้ ไปตลอดชีวิต และส่วนใหญ่จะมีระดับไอคิวสูงกว่าหรือพอๆกับค่าเฉลี่ยคนทั่วไป
  • 4. 4 นอกจากนี้ชาวซินเนสทิตมักถนัดใช้มือซ้าย มีความจาเป็นเลิศ แต่มักหลงทิศทางและด้อยเรื่องการคานวณ และเรายังสามารถพบชาวซินเนสทิตได้ในหมู่ศิลปิน นักเขียน กวี นักดนตรีและนักแต่งเพลง ซึ่งคาดว่าในคน กลุ่มนี้จะมีชาวซินเนสทิตมากกว่าในสายงานอื่นๆถึง 7 เท่า ซินเนสทีเซีย ไม่ใช่ความเจ็บป่วย? นั่นเป็นความเข้าใจที่ถูกต้อง เพราะคนที่มีอาการซินเนสทีเซียไม่ใช่คนป่วย ไม่ใช่ผู้ที่มีความผิดปกติทางสมอง ไม่จาเป็นต้องพบแพทย์เพื่อรักษา แต่ในบางครั้งปรากฏการณ์นี้ก็อาจบอกได้ว่าคุณกาลังมีความผิดปกติเกิด ขึ้นกับสมอง ในกรณีที่คุณไม่ได้มีภาวะซินเนสทีเซียมาตั้งแต่เด็ก แต่จู่ๆเพิ่งมามีตอนโตหรือเมื่ออายุมากแล้ว ก็อาจบ่งชี้ได้ ว่ามีความไม่ปกติเกิดขึ้น โดยเฉพาะหากมีอาการเจ็บป่วยทางกายอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น ความจาเสื่อม มือไม้ สั่น ปวดศีรษะ เป็นต้น เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณของโรคอัลไซเมอร์ พาร์คินสัน ลมชักหรือเนื้องอกในสมองได้ ถ้ามีอาการเหล่านี้อย่านิ่งนอนใจ ควรรีบไปพบแพทย์นะคะ นอกจากพรสวรรค์ที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด หรือความผิดปกติทางสมองที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง ปรากฎการณ์ซิน เนสทีเซียยังอาจเกิดจากการใช้ยาบางประเภทก็ได้ เช่น ยากดประสาทหรือยาเสพติดที่ทาให้เห็นภาพหลอน แต่ เราไม่เรียกสิ่งเหล่านี้ว่าซินเนสทีเซียที่แท้จริง เพราะเกิดจากสภาวะไม่ปกติทางกายจึงไม่นับเป็นความสามารถ พิเศษหรือพรสวรรค์แต่อย่างใด รูปแบบของซินเนสทีเซีย เพราะซินเนสทีเซียเป็นสัมผัสที่ซับซ้อนมากกว่าปกติ จึงสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกผัสสะทั้ง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เชื่อมโยงกันไปเป็นลักษณะพิเศษของแต่ละคน รูปแบบการเกิดซินเนสทีเซียไม่มีความแน่นอน และ ในคนคนเดียวยังอาจเกิดซินเนสทีเซียได้หลายรูปแบบด้วย 1. เพื่อให้การศึกษาซินเนสทีเซียเป็นเรื่องง่าย Dr. Ashok Jansari หัวหน้าทีมวิจัยจากสถาบันจิตเวชแห่ง University of East London ได้กาหนดโครงสร้างรูปแบบการเกิดซินเนสทีเซียไว้ 4 กลุ่ม ดังนี้ 2. Grapheme - colour synaesthesia คือ กลุ่มที่เห็นตัวหนังสือหรือตัวเลขเป็นสี 3. Taste–touch synaesthesia คือ กลุ่มที่เกิดความรู้สึกต่างๆจากการลิ้มรสชาติ 4. Sound–colour synaesthesia คือ กลุ่มที่เสียงเพลง เสียงดนตรีหรือตัวโน้ตทาให้เห็นเป็นสี 5. Word–taste synaesthesia คือ กลุ่มที่สัมผัสรสชาติได้จากตัวอักษร ตัวหนังสือ รูปแบบซินเนสทีเซียที่พบได้บ่อยที่สุดคือแบบที่ 1 เห็นอักษรเป็นสี ข้อดีของซินเนสทีเซีย จากสถิติของผู้เป็นซินเนสทีเซียส่วนใหญ่พบว่ามีความจาดีกว่าคนทั่วไป นั่นอาจเป็นเพราะประสบการณ์การ รับรู้พร้อมกันมากกว่าหนึ่งช่องทางในเวลาเดียว เมื่อรู้ตัวว่าเป็นซินเนสทิต อาจเป็นเรื่องง่ายที่จะจัดระบบ ความจาให้ตัวเอง หรือใช้ทักษะพิเศษที่มีอยู่สร้างสรรค์จุดเด่นขึ้นมา เพื่อความเป็นเลิศของทักษะด้านต่างๆ ได้ เห็นตัวเลขเป็นสี ฟังดนตรีรู้สึกหวาน*
  • 5. 5 อาการดังกล่าวข้างต้น มีชื่อเรียกว่า "โรคซินเนสเตเซีย" อาการของซินเนสตีเซียนั้น ได้ข้อสรุปออกมาคร่าวๆว่า เป็นการทางานของสมองที่ เชื่อมต่อกันผิดพลาดของ ส่วนที่รับรู้ รสชาติ กลิ่น เสียง ทาให้ เวลาได้ยินจึงเห็นเป็นสี เวลาสัมผัสแล้วเห็นเป็นรูปสี่ต่างๆ เวลาเห็นแล้วนึกถึงเป็นรสชาติต่างๆ กล่าวคือ เป็นโรคที่ จะเห็นตัวเลข ตัวอักษร เป็นสีๆกล่าวคือ หากชายหนึ่งเห็นตัวอักษร A เป็นสีชมพู เขาก็จะเห็นตัว A เป็นสีชมพู ไปชั่วชีวิต แต่ที่น่าสนใจยิ่งขึ้นไปอีกก็คือ คนที่เป็นซินเนสทีเซียอีกคน อาจจะเถียงว่า ตัว A เป็นสีฟ้า (หรือสีอื่น) ต่างหาก และคนๆ นั้นก็จะเห็นเป็นสีฟ้าไปชั่วชีวิตเช่นกัน คนที่มีประสบการณ์พิเศษเช่นนี้มักจะไม่บอกใคร เพราะเมื่อครั้งที่ยังเป็นเด็ก แล้วพูดกับเพื่อนๆ หรือคนรอบข้าง ว่า “เสียงเพลงๆ นี้ สีสวยดีเนอะ” หรือ “ขนมนี้ รสชาติมันเหลี่ยมๆ คมๆ” ก็ย่อมจะทาให้เพื่อนๆ หรือคนรอบ ข้างมองว่าเป็นตัวประหลาด ประเภทต่อมาเป็นประเภทที่น่าสนใจมาก กล่าวคือ เมื่อได้ยินเสียงดนตรี ใน คอร์ด ที่ต่างกัน จะเห็นออกมาเป็นสี หรือ รูปร่าง จึงมีนักดนตรีไม่น้อยที่ประสบความสาเร็จทางด้านดนตรี จากการเป็นโรคนี้ อย่างเช่น น้องคนหนึ่ง เมื่อได้ยินคอร์ดต่างๆ แล้ว จะเห็นออกมาเป็นสีตามนี้ C D E F G A B ตัวอย่างนักดนตรีที่ประสบความสาเร็จ เช่น Franz Liszt - คีตกวีและนักเปียนโนฝีมือฉกาจชาวฮังการี ซึ่งมองเห็นสีเมื่อได้ยินเสียงโน้ตดนตรี Tony DeCaprio - มือกีตาร์แจ๊ส Amy Beach - นักเปียโนและนักแต่งเพลงช่าวอเมริกัน Leonard Bernstein - นักแต่งเพลงและ conductor เอลิซาเบ็ธ ซุลแซร์ วัย 29 ปี "ซินเนสทีเซียหลอมรวมประสาทสัมผัสสามอย่างเข้าด้วยกันโดยไม่ได้เจตนา เช่น เห็นสีเมื่อได้ยินเสียง คือ ประสาทรับ เสียง ภาพ และรส โน้ตดนตรีก่อให้เกิดรูปทรงและสีสันต่าง ๆ ขึ้นในกรอบการมองเห็นตรงหน้า ขณะเดียวกัน โน้ตต่าง ๆที่ผสมผสานกันก็ชักนาให้เกิดรสชาติต่าง ๆ ขึ้นบนลิ้นของเธอ และโน้ตเพลงเดียวกันหรือส่วนผสม ของโน้ต ชุดเดียวกันก็จะชักนาให้เกิดสีสัน รูปทรง หรือรส ชาติแบบเดียวกันขึ้นแบบที่เอลิซาเบ็ธเป็นนั้นพิเศษมาก เพราะเท่าที่ ทราบเธอเป็นคนเดียวในโลกที่มีความสามารถแบบนี้ เธอแสดงดนตรีเป็นอาชีพในคอนเสิร์ต ต่าง ๆ ทั่ว สวิตเซอร์แลนด์
  • 6. 6 และใช้อาการซินเนสทีเซียของเธอเพื่อให้ได้ตัวโน้ตที่สมบูรณ์ และจดจาโน้ตเพลงได้หลังจากดูแค่รอบเดียว" นักวาดภาพ จิตกร หลายคนก็ประสบความสาเร็จเช่นกัน เพราะเมื่อเขาฟังเพลง ก็จะเห็นเป็นภาพสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยมต่างๆ หรือสีต่างๆ ออกมาเต็มไปหมด เช่น Wassily Kandinsky จิตรกรผู้บุกเบิกงานศิลปะนามธรรมเชื้อสายรัสเซีย ก็มองเห็นสีเมื่อได้ยินเสียงดนตรี - คนบางคนมองเห็นแนวคิดเชิงนามธรรมบางอย่างมีรูปร่าง (หรือโครงสร้าง) ได้ เช่น เห็นเดือนทั้ง 12 เดือน ใน 1 ปี เหมือนกับตู้ที่นั่งของชิงช้าสวรรค์ โดยมีเดือนธันวาคมอยู่ด้านล่าง และเดือนกรกฎาคมอยู่ด้านบน - บางคนก็อาจจะเห็นกระบวนการคานวณทางคณิตศาสตร์ (math operation) เป็นรูปเป็นร่างได้ ลองมาดูคาพูดของคนที่เป็นโรคนี้กัน "ส่วนตัวหนูเองเนี่ยก็จะเป็นแบบเห็นตัวเลขและคาเป็นสีๆค่ะ แล้วก็เห็นคนเป็นสิ่งของหรือเห็นคนแล้วไปนึกถึง ของอะไรแบบนี้ เช่นเห็นเพื่อนคนนี้ รู้สึกมานานแล้วว่าทาไมเหมือนลูกครึ่งพะยูนกับปลาโลมาจังเลย ทั้งๆที่เค้า ก้อไม่ได้อ้วนนะคะ บางคนเห็นก็รุสึกเหมือนกาวแท่งยู้ฮูกลิ่นแครอทยังไงไม่รู้ แต่ก็ดีนะคะ จะได้จางายๆ และเพิ่ง รู้ว่าการเรียนที่ใช้ความจาเยอะๆเนี่ย การเป็นซินเนสเตเซียก็มีประโยชน์แบที่ไม่รู้ตัว โดยที่เราจะคิดจะจาอะไร มันก้อเป็นคาสีๆลอยไปลอยมาอยูในหัวเลยค่ะ" "เรื่องการมองเดือนเป็นชิงช้าสวรรค์นั้นแล้วตกใจกว่า เพราะว่า ถ้าคิดถึงเดือนนั้น ก็จะเห็นเป็นวงกลม เหมือนกัน(บางทีรู้สึกเห็นเป็นชิงช้าด้วยค่ะ-- รู้สึก อายจัง กลัวคนอื่นคิดว่า ฝ้ายโม้อ่ะคะ) โดยมกราคมจะอยู่ที่ เลขระหว่าง 11 กับ 12 ถ้าเป็นนาฬิกาอ่ะนะคะ แล้วกุมภาก็ วนทวนเข็มนาฬิกาลงมาสุดท้ายธันวา ก็จะอยู่ที่ เลขระหว่าง 1 กับ12 โดยถ้าคิดว่าตอนนี้เดือนตุลา ก็จะเห็นว่าตัวเองกาลังอยู่ที่ด้านล่างเอียงมาทางขวามือของ วงกลม เป็นอย่างนี้มาตลอดตั้งแต่เด็กๆ" "คือไม่ได้เห็นเลข 7 แล้วนึก"ถึง"สีส้มนะคะ แต่จะเห็นเลข7เปนสีส้ม คือไม่ใช่แบบตาบอดสีนะคะ สมมติว่าเลข7ถูกเขียนด้วยสีดาเราก็รู้ว่ามันเปนสีดา แต่ เราคิด เอ่อ รู้สึก (ประมานนี้)วว่ามันควรจะเป็น (และมันเปน)สีส้มอะค่ะ แต่เห็นสีส้มไม่ได้นึกถึงเลข7ค่ะ เห็นสีส้มทีไรแล้วมันจะเปรี้ยวๆในปากอะค่ะ โรคเซนนิสเตเซียแบบนี้ก็มีค่ะ กล่าวคือ คนที่เป็นชนิดนี้ เวลาเห็นคนก็จะเห็นมีแสงออร่า เปล่งออกมา เป็นสีๆ รัศมีต่างๆ ว่าคนเหล่านั้น จิตใจเป็นอย่างไร กาลังรู้สึกอะไรอยู่ เช่น เมื่อเห็นคนเศร้า ก็จะเป็นแสงเทาๆ มืดมนออกมา
  • 7. 7 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. เลือกหัวข้อที่สนใจ 2. นาเสนอหัวข้อที่สนใจกับครูที่ปรึกษา 3. ศึกษาข้อมูลและรวบรวมข้อมูล 4. จัดทารายงานโครงงาน 5. นาเสนอแก่ครูที่ปรึกษา 6. ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ 2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ผู้คนเข้าใจผู้ที่มีอาการของโรคนี้ 2. อาการซินเนสทีเซียมีคนรู้จักเพิ่มมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สุขศึกษา
  • 8. 8 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)  http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=tomz&month=08-01- 2010&group=2&gblog=46  http://www.oknation.net/blog/print.php?id=202159