SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรควิตกกังวล
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว ทิพย์อาภา เกิดกุญชร เลขที่ 23 ชั้น 6 ห้อง 5
ชื่อ นางสาว ฮาม ขันแก้ว เลขที่ 35 ชั้น 6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 1
1. นางสาวทิพย์อาภา เกิดกุญชร เลขที่ 23
2. นางสาวฮาม ขันแก้ว เลขที่ 35
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรควิตกกังวล
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
anxiety
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการสื่อสาร
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวทิพย์อาภา เกิดกุญชร
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ความกังวลและความเครียดเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งในการใช้ชีวิตของคนในยุคปัจจุบันการก้าวเข้าสู่
วัยรุ่นนับเป็นช่วงเวลาที่รู้สึกลาบากใจต้องแบกรับความรับผิดชอบทั้งในเรื่องเป้าหมายในอนาคต ผลการเรียน การ
ยอมรับจากคนรอบตัวและความคาดหวังอื่นที่เพิ่มขึ้นมาจนวิตกกังวลเหลือเกินว่าจะดาเนินชีวิตไปให้ตลอดรอดฝั่งได้
อย่างไร และในฐานะที่ผู้จัดทาโครงงานอยู่ในช่วงวัยเรียนวัยรุ่น ที่ต้องพบเจอปัญหาที่คล้ายคลึงกันนี้จึงเกิดเป็น
แนวคิดที่ว่าเราจะสามารถดาเนินชีวิตโดยที่ตัวเราไม่เครียด สนุกสนานและพัฒนาการวางแผนความคิดพัฒนาทักษะ
ของสมองไปในตัวได้อย่างไร และผู้จัดทาโครงงานก็ได้ศึกษาและพบว่า เราสามารถค้นพบการแก้ปัญหาโดยค้นหา
สาเหตุอันแน่ชัดของโรคนี้เราจะได้ศึกษาความเป็นมาและค้นพบแนวทางการแก้ปัญหา ซึ่งจะทาให้สังคมของเรามี
อัตราของคนที่เป็นโรคนี้ลดลง ทั้งหมดที่กล่าวมา จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้ เพราะไม่
เพียงแต่ผู้จัดทาจะได้รับความรู้เท่านั้น แต่ผู้จัดทายังสามารถเผยแพร่ความรู้นี้ต่อผู้ที่ศึกษาคนอื่นให้ได้วิธีการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพแบบนี้อีกด้วยเช่นกัน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาสาเหตุที่ทาให้เกิดโรค
2.เพื่อศึกษาภาวะทางอารมณ์ของมนุษย์
3.เพื่อวางแผนพัฒนาปรับปรุงกระบวนการการใช้ชีวิตประจาวันเพื่อลดความวิตกกังวล
4.เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับโรควิตกกังวล
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.ข้อมูลที่เชื่อถือได้และมีเครดิต
2.กลุ่มวัยรุ่นวัยเรียนในปัจจุบัน
3.ข้อมูลที่มาจากทางอินเตอร์เน็ต
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ความวิตกกังวล (Anxiety) มักเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ไม่คุ้นเคยหรือมีแนวโน้มที่จะทาให้เกิดผลลบ
ต่อร่างกายและจิตใจ ยกตัวอย่างเช่น ความวิตกกังวลก่อนการพูดหน้าชั้น หรือความวิตกกังวลเมื่อมองเห็นสุนัขเห่า
และกาลังเดินเข้ามาหา ดังนั้นความวิตกกังวลที่อยู่ในระดับปกติจะเป็นหนึ่งในกลไกเพื่อการปรับตัว (adaptive
response) ให้เตรียมตัวหาทางตอบสนองกับสิ่งเร้าหรือปัญหาได้ดีขึ้น และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาตนเอง ซึ่งหาก
ยกตัวอย่างจากกรณีข้างต้นก็จะได้แก่การเตรียมตัวพูดหน้าชั้นให้ดี และการเพิ่มความระมัดระวังเพื่อไม่ให้สุนัขเข้ามา
กัด เป็นต้น
ประเภทของโรควิตกกังวล
โรควิตกกังวลสามารถแบ่งได้เป็นหลายประเภท ดังนี้
 โรควิตกกังวล (Generalized anxiety disorder: GAD) ผู้ที่เป็นโรคนี้มักมีความกังวลที่ส่งผลกระทบต่อ
ชีวิตประจาวันอย่างเรื้อรัง
 โรคแพนิคหรือโรคตื่นกลัว (Panic disorder) ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมีอาการตื่นตระหนกต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยไม่มี
เหตุผล
 โรคกลัว (Phobias) เป็นโรคที่เกิดความกลัวอย่างรุนแรงต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่ปกติ
มักไม่ทาให้เกิดอันตราย
 โรคกลัวหรือกังวลต่อการเข้าสังคม (Social anxiety disorder หรือ Social phobia) ผู้ป่วยจะมีความรู้สึกไม่
สบายใจอย่างรุนแรงเมื่อต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสังคม ทาให้เกิดการหลีกเลี่ยงการเข้าสังคมตามมา
 Separation anxiety disorder เป็นความกลัวต่อการต้องแยกจากบุคคลใดบุคคลหนึ่งอย่างรุนแรง เช่น พ่อ
แม่
 Post-traumatic stress disorder โรคนี้ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มโรควิตกกังวลจากการจัดประเภทของสมาคม
จิตแพทย์แห่งสหรัฐอเมริกา (American Psychiatric Association) อีกต่อไปแล้ว แม้ว่าจะเกี่ยวข้องกับ
ความวิตกกังวลหรือความกลัวหลังจากเหตุการณ์ที่ส่งผลต่อจิตใจหรือร่างกายอย่างรุนแรงก็ตาม
เป็นอารมณ์ที่ไม่สบายและเป็นความรู้สึกส่วนบุคคลที่บรรยายไม่ได้ชัดเจน เกิดขึ้นต่อสิ่งที่มาคุกคาม ไม่ว่าจะ
เห็นได้ชัดเจนหรือไม่ก็ตาม โดยอาจแสดงออกมากเกินไปหรือไม่เหมาะสม (Lader MH, ค.ศ.1980)
สภาวะทางอารมณ์ที่ซับซ้อนประกอบด้วยความรู้สึกหวาดกลัวและวิตกกังวล โดยไม่ได้สัดส่วนกับสิ่งเร้าหรือ
เหตุที่ทาให้เกิดความรู้สึกดังกล่าว และยังมีอาการทางสรีรวิทยาของร่างกายเกิดร่วมอีกด้วย เช่น ใจสั่น, มือสั่น, เหงื่อ
ออก, นอนไม่หลับ (พยอม อิงคตานุวัฒน์, พ.ศ.2525)
ลักษณะของคนไข้ที่พบบ่อย
◦ Present with physical symptoms
◦ May not discuss psychic complaints
◦ Have clusters of symptoms
4
สาเหตุของโรควิตกกังวล ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด อธิบายตามปัจจัยด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.ปัจจัยทางชีวภาพ (Biological factors) ที่มีความสัมพันธ์กับโรควิตกกังวล
ได้แก่
1.1. ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic nervous system: ANS) ท างานสูงเกินไปเมื่อมีการปรับตัวต่อ
การเผชิญสิ่งเร้า และไม่สงบลงเมื่อสิ่งเร้าหายไป
1.2. สารสื่อประสาท (Neurotransmitter) ที่มีความผิดปกติและเกี่ยวข้องกับโรควิตกกังวล ปัจจุบันพบสาร
สื่อประสารทหลักที่เกี่ยวข้อง 3 ชนิด ได้แก่
1.ระดับของ norepinephrine ที่เพิ่มขึ้นในขณะที่มีอาการวิตกกังวล
2.ระดับการท างานที่ลดลงของ serotonin
3.ระดับของ gamma-aminobutyric acid (GABA) ที่ลดลง
1.3. ระดับการท างานผิดปกติในสมองส่วน limbic system (hippocampus และ amygdala),
frontallobe และ temporal cortex
1.4. ปัจจัยทางพันธุกรรม พบว่าในแฝดชนิด monozygotic twins หากคนหนึ่งเป็นโรควิตกกังวลชนิดใด ๆ
อีกคนหนึ่งจะมีโอกาสเป็นโรควิตกกังวลราวร้อยละ 12-26 ในขณะที่ dizygotic twins ราวร้อยละ 4-15 หากมีญาติ
สายตรงเป็นโรควิตกกังวลใด ๆ ก็จะเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรควิตกกังวลราว 4-6 เท่าของประชากรทั่วไป
5
2. ปัจจัยทางจิตวิทยา (Psychological factors) ซึ่งทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory) Sigmund
Freud กล่าวถึงความวิตกกังวลว่าเกิดในระดับจิตไร้สานึก (unconscious) และเกิดจากปมขัดแย้งในจิตใจ
(psychological conflict) ระหว่าง unconscious และ superego ทาให้ ego ต้องใช้กลไกทางจิต (defense
mechanism) ชนิด repression เพื่อกดเก็บปมขัดแย้งไว้ แต่เมื่อปมขัดแย้งมีมากขึ้นและกดเก็บไว้ไม่อยู่ ความวิตก
กังวลนั้นก็ถูกดันขึ้นสู่ระดับจิตสานึก (conscious) หาก ego ไม่ใช้กลไกทางจิตที่ 2 เข้ามาจัดการก็จะเกิดอาการวิตก
กังวลไปทั่ว (generalized anxiety) แต่หาก ego ใช้กลไกทางจิตชนิดอื่นเข้ามาจัดการ รูปแบบความวิตกกังวลก็จะ
เปลี่ยนไป เช่น หาก ego ใช้ somatization, externalization อาการจะเกิดในรูปแบบของ panic attacks
การวินิจฉัย Panic disorder ตาม DSM-5
A. มีอาการแพนิค (panic attack) ที่เกิดอาการโดยไม่คาดคิดและเป็นซ้า ๆ อาการรุนแรงจนถึงจุดที่มีอาการ
รุนแรงที่สุดในเวลาไม่กี่นาที ซึ่ง panic attack หมายถึง อาการกลัวหรือไม่สุขสบายอย่างมาก โดยต้องมีอาการ
ดังต่อไปนี้อย่างน้อย 4 อาการ
 ใจสั่น ใจเต้นแรงหรือเร็ว (palpitations, pounding, accelerated heart rate)
 เจ็บแน่นหน้าอกหรือรู้สึกไม่สบาย (chest pain or discomfort)
 เหงื่อแตก (sweating)
 รู้สึกสั่นหรือสั่นทั้งตัว (trembling, shaking)
 รู้สึกหายใจไม่อิ่ม หายใจไม่สะดวก (shortness of breath, smothering sensation)
 รู้สึกเหมือนขาดอากาศหายใจหรือสาลัก (feelings of choking)
 คลื่นไส้ ไม่สบายท้อง (Nausea or abdominal distress)
 รู้สึกมึน โคลงเคลง โหวงเหวงคล้ายจะเป็นลม (feeling dizzy, unsteady, light-headed, faint)
 รู้สึกร้อนๆ หนาวๆ (Chills or heat sensations)
 ชา หรือรู้สึกเหมือนมีอะไรไต่ตามตัว (numbness or tingling sensations)
 รู้สึกเหมือนว่าสิ่งรอบตัวเหมือนไม่จริง (derealization) หรือรู้สึกเหมือนไม่ใช่ตัวเอง (depersonalization)
6
 กลัวจะเสียการควบคุมตัวเอง กลัวเสียสติ (fear of losing control, going crazy)
 กลัวว่าตนจะตาย (fear of dying)
B. หลังจากเกิด panic attack ครั้งแรกแล้ว จะต้องมีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อยหนึ่งข้อตามมาเป็นเวลาอย่างน้อย
1 เดือน
1. กังวลอยู่ตลอดเวลาว่าจะมีอาการเกิดขึ้นมาอีก หรือกลัวผลที่ตามมาของ panic attack เช่น ควบคุม
ตัวเองไม่ได้ เป็นโรคหัวใจ เป็นบ้า
2. มีพฤติกรรมจัดการกับ panic attack ที่ไม่เหมาะสม เช่น หลีกเลี่ยงการออกก าลังกาย การไป
สถานที่ที่ไม่คุ้นเคย การย้ายที่อยู่ ลาออกจากงานโดยยอมเสียผลประโยชน์
C. ความผิดปกติที่เกิดขึ้นไม่ได้เป็นผลจากการใช้ยา สาร หรือจากภาวะทางกายอื่น ๆ
D. อาการที่เกิดขึ้นไม่สามารถอธิบายได้จากโรคทางจิตเวชอื่น เช่น อาการกลัวอย่างท่วมท้น panic attack
หลังจากการเผชิญกับสิ่งเร้าที่กระตุ้น phobia ในผู้ป่วย specific phobia หรืออาการกลัวอย่างท่วมท้นเมื่อผู้ป่วย
social anxiety disorder ต้องพูดหน้าชั้น เป็นต้น
การรักษาโรควิตกกังวล
การรักษาด้วยยาและจิตบาบัดแบบ Cognitive behavioral therapy (CBT) เป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพ
ดีที่สุด โดยอาจใช้การรักษาด้วยครอบครัวบาบัดและจิตบาบัดแบบกลุ่มร่วมด้วยได้
1. การรักษาด้วยยา ยาที่เหมาะสมได้แก่ กลุ่ม Selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs) เช่น
Fluoxetine, Sertraline, Escitalopram, Paroxetine และ Fluvoxamine และยาต้านเศร้ากลุ่ม Tricyclic
antidepressants (TCAs) เช่น Clomipramine และ Imipramine เพื่อควบคุมอาการในระยะยาว แต่
เนื่องจากผู้ป่วย panic disorder มักไวต่อผลข้างเคียงของยา ซึ่งเป็นสาเหตุของการหยุดใช้ยาก่อนกาหนด จึง
ควรเริ่มให้ยาในขนาดต่ากว่าที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้า นอกจากนี้ นิยมให้ยากลุ่มbenzodiazepine เช่น
alprazolam, lorazepam,clonazepam, diazepam หรือ clorazepate ร่วมด้วย ในระยะสั้น ๆ (2-4
สัปดาห์) เนื่องจากผู้ป่วยอาจมีภาวะติดยา
2. การรักษาทางจิตสังคม
2.1 การให้คาอธิบายแก่ผู้ป่วย เป็นสิ่งที่มีความสาคัญพอๆ กับการให้ยา โดยเฉพาะในระยะแรกของการรักษา
ขั้นตอนการอธิบายโดยสังเขปมีดังนี้ (สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากวิดีโอจาลองการให้คาอธิบายผู้ป่วยที่เป็นโรค panic
disorder)
- อย่าบอกผู้ป่วยสั้นๆ ว่าไม่เป็นอะไร ให้บอกชื่อโรคที่เฉพาะเจาะจง หากยังไม่แน่ชัดแต่คิดว่าเป็นโรคกลุ่มนี้
ก็ให้บอว่าเป็นโรควิตกกังวล อย่าบอกว่าเป็นโรคเครียด เพราะบางครั้ง ผู้ป่วยไม่ได้เครียด แต่อาการก็เกิดขึ้นเอง
- ให้อธิบายว่าโรคนี้เกิดขึ้นเอง โดยมีปัจจัยทางชีวภาพเป็นปัจจัยสาคัญ ส่วนปัจจัยทางด้านจิตใจและสังคมที่
เป็นปัจจัยร่วมนั้นอาจยังไม่กล่าวถึงในครั้งแรก หรือไว้ตอบเมื่อผู้ป่วยซักถาม ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการ
รักษาที่จะให้ยาควบคู่ไปด้วย
7
- อธิบายให้ผู้ป่วยได้ทราบและเข้าใจถึงธรรมชาติของการดาเนินโรค
- ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยว่าเป็นโรคที่รักษาได้ ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิตหรือพิการ
- แนะนาวิธีปฏิบัติตัวเพื่อทาให้อาการดีขึ้น
- ควรเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถาม
2.2 Cognitive behavioral therapy เป็นการทาให้ผู้ป่วยทาความเข้าใจเกี่ยวกับความเชื่อที่ผิด (false
beliefs) ในการรับรู้สัญญาณของร่างกายว่าเป็นสัญญาณของภยันตรายหรือความตาย และการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการ
เกิด panic attacks ว่าสามารถหายเองได้และไม่ทาให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต
2.3 ใช้วิธีบาบัดอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น การฝึกหายใจในผู้ป่วยที่มีอาการหายใจไม่อิ่ม การฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดศีรษะหรือปวดตึงกล้ามเนื้อ (Relaxation strategies) การฝึกจินตนาการ การฝึกสมาธิ การฝึก
คิดในทางบวก
โรค panic disorder เป็นโรคที่พบบ่อย โดยพบในเพศหญิงบ่อยกว่าเพศชาย มักสัมพันธ์กับระบบการทางาน
ประสาทอัตโนมัติ ระบบต่อมไร้ท่อและระบบสารสื่อประสาทในสมองที่สูงผิดปกติ รวมทั้งมีปัจจัยทางด้านจิตใจที่
เกี่ยวข้องร่วมด้วย พยากรณ์โรคมักเรื้อรัง เป็น ๆ หาย ๆ โรคร่วมที่มักพบคือโรคซึมเศร้า การรักษาประกอบด้วยการใช้
ยาเพื่อลดอาการร่วมกับการรักษาด้านจิตใจ เพื่อให้ผู้ป่วยควบคุมอาการได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ความวิตกกังวลเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดที่มีประโยชน์ในบางสถานการณ์เพราะช่วยให้เราตื่นตัว
และพร้อมรับมือกับปัญหาหรือเหตุการณ์ต่างๆที่จะเกิดขึ้น อย่างไรก็ตามโรควิตกกังวลมีความแตกต่างจากความรู้สึก
วิตกกังวลทั่วๆไป คนที่เป็นโรควิตกกังวลจะรู้สึกวิตกกังวลและกลัวอย่างเกินเหตุ จนมีผลทางลบต่อการดาเนิน
ชีวิตประจาวันดังกฎของ Yerkes-Dodson กล่าวว่า “ประสิทธิภาพจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้า แต่จะเพิ่มขึ้นจนถึงระดับ
หนึ่งเท่านั้น เมื่อมีสิ่งเร้ามากเกินไปกลับจะทาให้ประสิทธิภาพลดลง”
การป้องกัน
โรควิตกกังวลสามารถป้องกันได้โดยการใช้ชีวิตอย่างมีสุขภาพ ด้วยการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกาลังกาย
อย่างสม่าเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอกับที่ร่างกายต้องการ หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ ทากิจกรรมที่ผ่อนคลาย
นอกจากนี้ควรฝึกสติเพื่อรู้ทันอารมณ์ของตัวเองว่าความเครียดว่ามีมากเกินไปหรือไม่ รวมถึงการทาสมาธิเพื่อให้จิตใจ
สงบอยู่กับปัจจุบันและให้สมองได้ผ่อนคลาย
8
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- เลือกหัวข้อที่สนใจ
- ศึกษารวบรวมข้อมูล
- นาเสนอครู
- ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- อินเตอร์เน็ต
- หนังสือที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ศึกษา
- เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ
งบประมาณ
ไม่มี
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
2. สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้กับเพื่อนๆหรือคนรอบตัวได้
3. สามารถนาไปปรับการจัดการด้านต่างๆในชีวิตประจาวันได้
สถานที่ดาเนินการ
1. ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2. ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2. กลุ่มพัฒนาผู้เรียน
3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมและศาสนาและวัฒนธรรม
4. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
9
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://meded.psu.ac.th/binla/class04/388_421/Panic_disorder/index.html
https://www.honestdocs.co/anxiety
https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=28235
https://www.bumrungrad.com/th/conditions/anxiety-disorder
https://www.verywellmind.com/the-id-ego-and-superego-2795951

More Related Content

What's hot

แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมAkanit Srilaruk
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1bernfai_baifern
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1mewsanit
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyaratthunyaratnatai
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานssuseraff7e6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้Phongsak Kongkham
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 

What's hot (20)

2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to 2562 final-project

แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ pimrapat_55
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610ssuser015151
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020PapimolChotechob
 
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 

Similar to 2562 final-project (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
2562 final-project panic1
2562 final-project panic12562 final-project panic1
2562 final-project panic1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project panic
2562 final-project panic2562 final-project panic
2562 final-project panic
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020
 
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 

2562 final-project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรควิตกกังวล ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว ทิพย์อาภา เกิดกุญชร เลขที่ 23 ชั้น 6 ห้อง 5 ชื่อ นางสาว ฮาม ขันแก้ว เลขที่ 35 ชั้น 6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 1. นางสาวทิพย์อาภา เกิดกุญชร เลขที่ 23 2. นางสาวฮาม ขันแก้ว เลขที่ 35 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรควิตกกังวล ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) anxiety ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการสื่อสาร ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวทิพย์อาภา เกิดกุญชร ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ความกังวลและความเครียดเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งในการใช้ชีวิตของคนในยุคปัจจุบันการก้าวเข้าสู่ วัยรุ่นนับเป็นช่วงเวลาที่รู้สึกลาบากใจต้องแบกรับความรับผิดชอบทั้งในเรื่องเป้าหมายในอนาคต ผลการเรียน การ ยอมรับจากคนรอบตัวและความคาดหวังอื่นที่เพิ่มขึ้นมาจนวิตกกังวลเหลือเกินว่าจะดาเนินชีวิตไปให้ตลอดรอดฝั่งได้ อย่างไร และในฐานะที่ผู้จัดทาโครงงานอยู่ในช่วงวัยเรียนวัยรุ่น ที่ต้องพบเจอปัญหาที่คล้ายคลึงกันนี้จึงเกิดเป็น แนวคิดที่ว่าเราจะสามารถดาเนินชีวิตโดยที่ตัวเราไม่เครียด สนุกสนานและพัฒนาการวางแผนความคิดพัฒนาทักษะ ของสมองไปในตัวได้อย่างไร และผู้จัดทาโครงงานก็ได้ศึกษาและพบว่า เราสามารถค้นพบการแก้ปัญหาโดยค้นหา สาเหตุอันแน่ชัดของโรคนี้เราจะได้ศึกษาความเป็นมาและค้นพบแนวทางการแก้ปัญหา ซึ่งจะทาให้สังคมของเรามี อัตราของคนที่เป็นโรคนี้ลดลง ทั้งหมดที่กล่าวมา จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้ เพราะไม่ เพียงแต่ผู้จัดทาจะได้รับความรู้เท่านั้น แต่ผู้จัดทายังสามารถเผยแพร่ความรู้นี้ต่อผู้ที่ศึกษาคนอื่นให้ได้วิธีการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพแบบนี้อีกด้วยเช่นกัน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาสาเหตุที่ทาให้เกิดโรค 2.เพื่อศึกษาภาวะทางอารมณ์ของมนุษย์ 3.เพื่อวางแผนพัฒนาปรับปรุงกระบวนการการใช้ชีวิตประจาวันเพื่อลดความวิตกกังวล 4.เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับโรควิตกกังวล
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.ข้อมูลที่เชื่อถือได้และมีเครดิต 2.กลุ่มวัยรุ่นวัยเรียนในปัจจุบัน 3.ข้อมูลที่มาจากทางอินเตอร์เน็ต หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ความวิตกกังวล (Anxiety) มักเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ไม่คุ้นเคยหรือมีแนวโน้มที่จะทาให้เกิดผลลบ ต่อร่างกายและจิตใจ ยกตัวอย่างเช่น ความวิตกกังวลก่อนการพูดหน้าชั้น หรือความวิตกกังวลเมื่อมองเห็นสุนัขเห่า และกาลังเดินเข้ามาหา ดังนั้นความวิตกกังวลที่อยู่ในระดับปกติจะเป็นหนึ่งในกลไกเพื่อการปรับตัว (adaptive response) ให้เตรียมตัวหาทางตอบสนองกับสิ่งเร้าหรือปัญหาได้ดีขึ้น และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาตนเอง ซึ่งหาก ยกตัวอย่างจากกรณีข้างต้นก็จะได้แก่การเตรียมตัวพูดหน้าชั้นให้ดี และการเพิ่มความระมัดระวังเพื่อไม่ให้สุนัขเข้ามา กัด เป็นต้น ประเภทของโรควิตกกังวล โรควิตกกังวลสามารถแบ่งได้เป็นหลายประเภท ดังนี้  โรควิตกกังวล (Generalized anxiety disorder: GAD) ผู้ที่เป็นโรคนี้มักมีความกังวลที่ส่งผลกระทบต่อ ชีวิตประจาวันอย่างเรื้อรัง  โรคแพนิคหรือโรคตื่นกลัว (Panic disorder) ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมีอาการตื่นตระหนกต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยไม่มี เหตุผล  โรคกลัว (Phobias) เป็นโรคที่เกิดความกลัวอย่างรุนแรงต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่ปกติ มักไม่ทาให้เกิดอันตราย  โรคกลัวหรือกังวลต่อการเข้าสังคม (Social anxiety disorder หรือ Social phobia) ผู้ป่วยจะมีความรู้สึกไม่ สบายใจอย่างรุนแรงเมื่อต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสังคม ทาให้เกิดการหลีกเลี่ยงการเข้าสังคมตามมา  Separation anxiety disorder เป็นความกลัวต่อการต้องแยกจากบุคคลใดบุคคลหนึ่งอย่างรุนแรง เช่น พ่อ แม่  Post-traumatic stress disorder โรคนี้ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มโรควิตกกังวลจากการจัดประเภทของสมาคม จิตแพทย์แห่งสหรัฐอเมริกา (American Psychiatric Association) อีกต่อไปแล้ว แม้ว่าจะเกี่ยวข้องกับ ความวิตกกังวลหรือความกลัวหลังจากเหตุการณ์ที่ส่งผลต่อจิตใจหรือร่างกายอย่างรุนแรงก็ตาม เป็นอารมณ์ที่ไม่สบายและเป็นความรู้สึกส่วนบุคคลที่บรรยายไม่ได้ชัดเจน เกิดขึ้นต่อสิ่งที่มาคุกคาม ไม่ว่าจะ เห็นได้ชัดเจนหรือไม่ก็ตาม โดยอาจแสดงออกมากเกินไปหรือไม่เหมาะสม (Lader MH, ค.ศ.1980) สภาวะทางอารมณ์ที่ซับซ้อนประกอบด้วยความรู้สึกหวาดกลัวและวิตกกังวล โดยไม่ได้สัดส่วนกับสิ่งเร้าหรือ เหตุที่ทาให้เกิดความรู้สึกดังกล่าว และยังมีอาการทางสรีรวิทยาของร่างกายเกิดร่วมอีกด้วย เช่น ใจสั่น, มือสั่น, เหงื่อ ออก, นอนไม่หลับ (พยอม อิงคตานุวัฒน์, พ.ศ.2525) ลักษณะของคนไข้ที่พบบ่อย ◦ Present with physical symptoms ◦ May not discuss psychic complaints ◦ Have clusters of symptoms
  • 4. 4 สาเหตุของโรควิตกกังวล ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด อธิบายตามปัจจัยด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ปัจจัยทางชีวภาพ (Biological factors) ที่มีความสัมพันธ์กับโรควิตกกังวล ได้แก่ 1.1. ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic nervous system: ANS) ท างานสูงเกินไปเมื่อมีการปรับตัวต่อ การเผชิญสิ่งเร้า และไม่สงบลงเมื่อสิ่งเร้าหายไป 1.2. สารสื่อประสาท (Neurotransmitter) ที่มีความผิดปกติและเกี่ยวข้องกับโรควิตกกังวล ปัจจุบันพบสาร สื่อประสารทหลักที่เกี่ยวข้อง 3 ชนิด ได้แก่ 1.ระดับของ norepinephrine ที่เพิ่มขึ้นในขณะที่มีอาการวิตกกังวล 2.ระดับการท างานที่ลดลงของ serotonin 3.ระดับของ gamma-aminobutyric acid (GABA) ที่ลดลง 1.3. ระดับการท างานผิดปกติในสมองส่วน limbic system (hippocampus และ amygdala), frontallobe และ temporal cortex 1.4. ปัจจัยทางพันธุกรรม พบว่าในแฝดชนิด monozygotic twins หากคนหนึ่งเป็นโรควิตกกังวลชนิดใด ๆ อีกคนหนึ่งจะมีโอกาสเป็นโรควิตกกังวลราวร้อยละ 12-26 ในขณะที่ dizygotic twins ราวร้อยละ 4-15 หากมีญาติ สายตรงเป็นโรควิตกกังวลใด ๆ ก็จะเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรควิตกกังวลราว 4-6 เท่าของประชากรทั่วไป
  • 5. 5 2. ปัจจัยทางจิตวิทยา (Psychological factors) ซึ่งทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory) Sigmund Freud กล่าวถึงความวิตกกังวลว่าเกิดในระดับจิตไร้สานึก (unconscious) และเกิดจากปมขัดแย้งในจิตใจ (psychological conflict) ระหว่าง unconscious และ superego ทาให้ ego ต้องใช้กลไกทางจิต (defense mechanism) ชนิด repression เพื่อกดเก็บปมขัดแย้งไว้ แต่เมื่อปมขัดแย้งมีมากขึ้นและกดเก็บไว้ไม่อยู่ ความวิตก กังวลนั้นก็ถูกดันขึ้นสู่ระดับจิตสานึก (conscious) หาก ego ไม่ใช้กลไกทางจิตที่ 2 เข้ามาจัดการก็จะเกิดอาการวิตก กังวลไปทั่ว (generalized anxiety) แต่หาก ego ใช้กลไกทางจิตชนิดอื่นเข้ามาจัดการ รูปแบบความวิตกกังวลก็จะ เปลี่ยนไป เช่น หาก ego ใช้ somatization, externalization อาการจะเกิดในรูปแบบของ panic attacks การวินิจฉัย Panic disorder ตาม DSM-5 A. มีอาการแพนิค (panic attack) ที่เกิดอาการโดยไม่คาดคิดและเป็นซ้า ๆ อาการรุนแรงจนถึงจุดที่มีอาการ รุนแรงที่สุดในเวลาไม่กี่นาที ซึ่ง panic attack หมายถึง อาการกลัวหรือไม่สุขสบายอย่างมาก โดยต้องมีอาการ ดังต่อไปนี้อย่างน้อย 4 อาการ  ใจสั่น ใจเต้นแรงหรือเร็ว (palpitations, pounding, accelerated heart rate)  เจ็บแน่นหน้าอกหรือรู้สึกไม่สบาย (chest pain or discomfort)  เหงื่อแตก (sweating)  รู้สึกสั่นหรือสั่นทั้งตัว (trembling, shaking)  รู้สึกหายใจไม่อิ่ม หายใจไม่สะดวก (shortness of breath, smothering sensation)  รู้สึกเหมือนขาดอากาศหายใจหรือสาลัก (feelings of choking)  คลื่นไส้ ไม่สบายท้อง (Nausea or abdominal distress)  รู้สึกมึน โคลงเคลง โหวงเหวงคล้ายจะเป็นลม (feeling dizzy, unsteady, light-headed, faint)  รู้สึกร้อนๆ หนาวๆ (Chills or heat sensations)  ชา หรือรู้สึกเหมือนมีอะไรไต่ตามตัว (numbness or tingling sensations)  รู้สึกเหมือนว่าสิ่งรอบตัวเหมือนไม่จริง (derealization) หรือรู้สึกเหมือนไม่ใช่ตัวเอง (depersonalization)
  • 6. 6  กลัวจะเสียการควบคุมตัวเอง กลัวเสียสติ (fear of losing control, going crazy)  กลัวว่าตนจะตาย (fear of dying) B. หลังจากเกิด panic attack ครั้งแรกแล้ว จะต้องมีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อยหนึ่งข้อตามมาเป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือน 1. กังวลอยู่ตลอดเวลาว่าจะมีอาการเกิดขึ้นมาอีก หรือกลัวผลที่ตามมาของ panic attack เช่น ควบคุม ตัวเองไม่ได้ เป็นโรคหัวใจ เป็นบ้า 2. มีพฤติกรรมจัดการกับ panic attack ที่ไม่เหมาะสม เช่น หลีกเลี่ยงการออกก าลังกาย การไป สถานที่ที่ไม่คุ้นเคย การย้ายที่อยู่ ลาออกจากงานโดยยอมเสียผลประโยชน์ C. ความผิดปกติที่เกิดขึ้นไม่ได้เป็นผลจากการใช้ยา สาร หรือจากภาวะทางกายอื่น ๆ D. อาการที่เกิดขึ้นไม่สามารถอธิบายได้จากโรคทางจิตเวชอื่น เช่น อาการกลัวอย่างท่วมท้น panic attack หลังจากการเผชิญกับสิ่งเร้าที่กระตุ้น phobia ในผู้ป่วย specific phobia หรืออาการกลัวอย่างท่วมท้นเมื่อผู้ป่วย social anxiety disorder ต้องพูดหน้าชั้น เป็นต้น การรักษาโรควิตกกังวล การรักษาด้วยยาและจิตบาบัดแบบ Cognitive behavioral therapy (CBT) เป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพ ดีที่สุด โดยอาจใช้การรักษาด้วยครอบครัวบาบัดและจิตบาบัดแบบกลุ่มร่วมด้วยได้ 1. การรักษาด้วยยา ยาที่เหมาะสมได้แก่ กลุ่ม Selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs) เช่น Fluoxetine, Sertraline, Escitalopram, Paroxetine และ Fluvoxamine และยาต้านเศร้ากลุ่ม Tricyclic antidepressants (TCAs) เช่น Clomipramine และ Imipramine เพื่อควบคุมอาการในระยะยาว แต่ เนื่องจากผู้ป่วย panic disorder มักไวต่อผลข้างเคียงของยา ซึ่งเป็นสาเหตุของการหยุดใช้ยาก่อนกาหนด จึง ควรเริ่มให้ยาในขนาดต่ากว่าที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้า นอกจากนี้ นิยมให้ยากลุ่มbenzodiazepine เช่น alprazolam, lorazepam,clonazepam, diazepam หรือ clorazepate ร่วมด้วย ในระยะสั้น ๆ (2-4 สัปดาห์) เนื่องจากผู้ป่วยอาจมีภาวะติดยา 2. การรักษาทางจิตสังคม 2.1 การให้คาอธิบายแก่ผู้ป่วย เป็นสิ่งที่มีความสาคัญพอๆ กับการให้ยา โดยเฉพาะในระยะแรกของการรักษา ขั้นตอนการอธิบายโดยสังเขปมีดังนี้ (สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากวิดีโอจาลองการให้คาอธิบายผู้ป่วยที่เป็นโรค panic disorder) - อย่าบอกผู้ป่วยสั้นๆ ว่าไม่เป็นอะไร ให้บอกชื่อโรคที่เฉพาะเจาะจง หากยังไม่แน่ชัดแต่คิดว่าเป็นโรคกลุ่มนี้ ก็ให้บอว่าเป็นโรควิตกกังวล อย่าบอกว่าเป็นโรคเครียด เพราะบางครั้ง ผู้ป่วยไม่ได้เครียด แต่อาการก็เกิดขึ้นเอง - ให้อธิบายว่าโรคนี้เกิดขึ้นเอง โดยมีปัจจัยทางชีวภาพเป็นปัจจัยสาคัญ ส่วนปัจจัยทางด้านจิตใจและสังคมที่ เป็นปัจจัยร่วมนั้นอาจยังไม่กล่าวถึงในครั้งแรก หรือไว้ตอบเมื่อผู้ป่วยซักถาม ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการ รักษาที่จะให้ยาควบคู่ไปด้วย
  • 7. 7 - อธิบายให้ผู้ป่วยได้ทราบและเข้าใจถึงธรรมชาติของการดาเนินโรค - ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยว่าเป็นโรคที่รักษาได้ ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิตหรือพิการ - แนะนาวิธีปฏิบัติตัวเพื่อทาให้อาการดีขึ้น - ควรเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถาม 2.2 Cognitive behavioral therapy เป็นการทาให้ผู้ป่วยทาความเข้าใจเกี่ยวกับความเชื่อที่ผิด (false beliefs) ในการรับรู้สัญญาณของร่างกายว่าเป็นสัญญาณของภยันตรายหรือความตาย และการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการ เกิด panic attacks ว่าสามารถหายเองได้และไม่ทาให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต 2.3 ใช้วิธีบาบัดอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น การฝึกหายใจในผู้ป่วยที่มีอาการหายใจไม่อิ่ม การฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดศีรษะหรือปวดตึงกล้ามเนื้อ (Relaxation strategies) การฝึกจินตนาการ การฝึกสมาธิ การฝึก คิดในทางบวก โรค panic disorder เป็นโรคที่พบบ่อย โดยพบในเพศหญิงบ่อยกว่าเพศชาย มักสัมพันธ์กับระบบการทางาน ประสาทอัตโนมัติ ระบบต่อมไร้ท่อและระบบสารสื่อประสาทในสมองที่สูงผิดปกติ รวมทั้งมีปัจจัยทางด้านจิตใจที่ เกี่ยวข้องร่วมด้วย พยากรณ์โรคมักเรื้อรัง เป็น ๆ หาย ๆ โรคร่วมที่มักพบคือโรคซึมเศร้า การรักษาประกอบด้วยการใช้ ยาเพื่อลดอาการร่วมกับการรักษาด้านจิตใจ เพื่อให้ผู้ป่วยควบคุมอาการได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ความวิตกกังวลเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดที่มีประโยชน์ในบางสถานการณ์เพราะช่วยให้เราตื่นตัว และพร้อมรับมือกับปัญหาหรือเหตุการณ์ต่างๆที่จะเกิดขึ้น อย่างไรก็ตามโรควิตกกังวลมีความแตกต่างจากความรู้สึก วิตกกังวลทั่วๆไป คนที่เป็นโรควิตกกังวลจะรู้สึกวิตกกังวลและกลัวอย่างเกินเหตุ จนมีผลทางลบต่อการดาเนิน ชีวิตประจาวันดังกฎของ Yerkes-Dodson กล่าวว่า “ประสิทธิภาพจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้า แต่จะเพิ่มขึ้นจนถึงระดับ หนึ่งเท่านั้น เมื่อมีสิ่งเร้ามากเกินไปกลับจะทาให้ประสิทธิภาพลดลง” การป้องกัน โรควิตกกังวลสามารถป้องกันได้โดยการใช้ชีวิตอย่างมีสุขภาพ ด้วยการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกาลังกาย อย่างสม่าเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอกับที่ร่างกายต้องการ หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ ทากิจกรรมที่ผ่อนคลาย นอกจากนี้ควรฝึกสติเพื่อรู้ทันอารมณ์ของตัวเองว่าความเครียดว่ามีมากเกินไปหรือไม่ รวมถึงการทาสมาธิเพื่อให้จิตใจ สงบอยู่กับปัจจุบันและให้สมองได้ผ่อนคลาย
  • 8. 8 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - เลือกหัวข้อที่สนใจ - ศึกษารวบรวมข้อมูล - นาเสนอครู - ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - อินเตอร์เน็ต - หนังสือที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ศึกษา - เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ งบประมาณ ไม่มี ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 2. สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้กับเพื่อนๆหรือคนรอบตัวได้ 3. สามารถนาไปปรับการจัดการด้านต่างๆในชีวิตประจาวันได้ สถานที่ดาเนินการ 1. ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2. ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2. กลุ่มพัฒนาผู้เรียน 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมและศาสนาและวัฒนธรรม 4. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 9. 9 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://meded.psu.ac.th/binla/class04/388_421/Panic_disorder/index.html https://www.honestdocs.co/anxiety https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=28235 https://www.bumrungrad.com/th/conditions/anxiety-disorder https://www.verywellmind.com/the-id-ego-and-superego-2795951