SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ปัญหาทางสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในวัยรุ่น
ชื่อผู้ทําโครงงาน
1.นางสาวณราวดี แจ่มศรี เลขที่ 44 ชั้น 6 ห้อง 11
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทําข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวณราวดี แจ่มศรี เลขที่ 44 ชั้น 6 ห้อง 11
คําชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาทางสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในวัยรุ่น
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Common health problems in teenager
ประเภทโครงงาน
เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทําโครงงาน
นางสาวณราวดี แจ่มศรี เลขที่ 44 ชั้น 6 ห้อง 11
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดําเนินงาน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทําโครงงาน)
ในปัจจุบันนี้มีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเป็นจานวนมากทั่วโลกและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี โรคซึมเศร้าเกิดขึ้นได้
กับคนทุกเพศทุกวัย สาเหตุปัจจัยเกิดจากสภาพแวดล้อมที่ทาให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล ต่างๆ ผู้ป่วยโรค
ซึมเศร้าบางรายเสี่ยงต่อการทาร้ายตนเอง หรือฆ่าตัวตายสูง จากผลสารวจในปี 2557 กรมสุขภาพจิตของไทยได้คัด
กรองกลุ่มเสี่ยงจานวน 12 ล้านคน ในจานวนนี้มีแนวโน้มป่วยโรคซึมเศร้า 6 ล้านคน ได้รับการวินิจฉัยแล้วว่าเป็น
โรคซึมเศร้า 5 แสนคน มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตาย 6 แสนคน และคาดว่าคนไทยน่าจะมีภาวะซึมเศร้าถึงประมาณ 1.2
ล้านคน โรคซึมเศร้านั้นเป็นโรคที่อันตรายไม่ใช่แค่ต่อร่างกายตนเอง แต่อาจจะกระทบต่อคนรอบข้างที่ห่วงใย
กระทบต่อหน้าที่การงาน ชีวิต ดังนั้นจึงไม่ควรมองข้าม หากรู้จักโรคซึมเศร้า รู้อาการของโรค วิธีการดูแลรักษา ซึ่ง
จะเป็นประโยชน์ต่อตนเองและคนรอบข้าง ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ผู้จัดทาจึงทาโครงงานเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าให้แก่ผู้
ที่เข้าศึกษาได้เข้าใจโรคซึมเศร้า ห่างไกลจากโรคซึมเศร้าได้อย่างถูกต้องและเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษา
ความรู้ได้
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทําโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อการศึกษาข้อมูลของโรคซึมเศร้า
2. เพื่อผู้ที่ศึกษาได้เข้าใจข้อมูลอย่างถูกต้อง
3. เพื่อสามารถนาความรู้ที่ได้ศึกษาไปใช้ในชีวิตประจําวัน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจํากัดของการทําโครงงาน)
1. วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
2. รูปแบบการนาเสนอที่ถูกต้อง
3. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทําโครงงาน)
โรคซึมเศร้า เป็นภาวะความผิดปกติทางอารมณ์ที่ผู้ป่วยอาจรู้สึกเศร้า สิ้นหวัง ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้หรือ รู้สึกว่าตน
ด้อยค่า แม้ความรู้สึกและอารมณ์เหล่านี้จะเกิดขึ้นได้กับทุกคนเป็นครั้งคราว แต่อาการของภาวะซึมเศร้า นั้นมีความ
รุนแรงและยาวนานกว่ามากจนถึงขั้นส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ของผู้ป่วย โรคซึมเศร้าสามารถแบ่ง
ออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ 1. โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรง (Major Depression) เป็นอาการซึมเศร้าอย่างที่ส่งผล
กระทบถึงชีวิตการทางานหรือ การเรียน รวมไปถึงการนอนหลับและการกินอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุขอย่างรุนแรง 2.
โรคซึมเศร้าเรื้อรัง (Persistent Depressive Disorder) แม้จะมีอาการและความรุนแรงของอาการน้อยกว่า แต่ ภาวะ
ซึมเศร้าชนิดนี้จะคงอยู่กับผู้ป่วยยาวนานกว่ามาก เป็นเวลาอย่างน้อยตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็น โรคซึมเศร้า
เรื้อรังก็อาจมีบางช่วงเวลาที่ต้องเผชิญภาวะซึมเศร้าชนิดรุนแรงร่วมด้วย
สาเหตุของ โรคซึมเศร้า
 การทางานของสมอง โรคซึมเศร้าอาจมีสาเหตุหนึ่งมาจากการทางานของสมองที่ผิดปกติ เนื่องจากสารสื่อ
ประสาทในสมอง (neurotransmitters) ที่ไม่สมดุลกัน โดยมีปริมาณมากหรือน้อยเกินไป ซึ่งสาเหตุการเกิดโรค
ซึมเศร้านั้นซับซ้อนมากกว่าความผิดปกติของสารเคมีในสมอง โดยสันนิษฐานว่าเป็นการเชื่อมต่อ การ เจริญเติบโต
ของเซลล์ประสาท
 พันธุกรรม พันธุกรรมที่ทาหน้าที่คอยควบคุมส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและสมอง อาจถ่ายทอดภาวะซึมเศร้าจาก
รุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้การทางานของพันธุกรรมที่ผิดแปลกไป จึงให้ชีววิทยาในร่างกายเปลี่ยนไป ซึ่ง นาไปสู่
ภาวะไม่เสถียรทางอารมณ์หรือพัฒนาไปเป็นภาวะซึมเศร้าได้ในที่สุด
 บุคลิกภาพและลักษณะนิสัย อีกหนึ่งปัจจัยที่มีส่วนสาคัญและเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าก็คือลักษณะนิสัยเฉพาะตัว
โดยนักจิตวิทยาชี้ว่าทัศนคติและมุมมองต่อโลกจะส่งผลต่อความรู้สึกของเราเอง ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่ผู้ที่มี ความ
มั่นใจในตัวเองต่า เกิดความวิตกกังวลง่าย จะมีแนวโน้มเกิดภาวะซึมเศร้าได้ง่ายกว่า
4
 เหตุการณ์ตึงเครียดในชีวิต เนื่องจากความสามารถในการรับมือกับปัญหาและความสูญเสียของแต่ละคนที่ไม่
เท่ากัน โรคซึมเศร้าในหลายรายจึงเกิดขึ้นจากการเผชิญกับเหตุการณ์ในชีวิตที่ตึงเครียดหรืออยู่ในสภาวะย่าแย่
โดยเฉพาะหากมีความเสี่ยง แล้วก็ยิ่งง่ายที่จะพัฒนาไปสู่การมีภาวะซึมเศร้า
 อาการเจ็บป่วย โรคที่รุนแรงและเรื้อรังสามารถทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างอาการซึมเศร้าตามมา โรคที่รู้จัก
กันดีว่าส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าคือภาวะขาดฮอร์โมนไทรอยด์ (Hypothyroidism) ซึ่งผู้ป่วยจะมีระดับฮอร์โมน
ไทรอยด์ต่าเกิน จนทาให้เหนื่อยล้าและเข้าสู่ภาวะซึมเศร้าได้และยังมีผู้ป่วยโรคเรื้อรังอีกมากมาย
 การใช้ยารักษาโรคบางชนิด ผลข้างเคียงจากยาบางชนิดอาจทาให้ผู้ป่วยเกิดภาวะซึมเศร้าได้ดังนั้น หากมีอาการ
ของภาวะซึมเศร้าหลังการใช้ยาใด ๆ ผู้ป่วยต้องบอกแพทย์เพื่อพิจารณาเปลี่ยนยาตัวใหม่หรือลด ปริมาณเพื่อกาจัด
ผลข้างเคียงที่ทาให้เกิดภาวะซึมเศร้า
อาการของโรคซึมเศร้า
 รู้สึกหดหู่ เศร้า ตลอดเวลา
 รู้สึกสิ้นหวัง ทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเองไม่ไหว
 มองโลกในแง่ร้าย รู้สึกว่าตนไร้ค่า โดดเดี่ยว และมีความรู้สึกผิด
 ขาดสมาธิในการจดจ่อ จดจา หรือการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ
 กระสับกระส่าย หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย
 มีความคิดที่จะฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตาย ทาร้ายตัวเอง ด้านร่างกาย
 เคลื่อนไหวหรือพูดจาช้ากว่าปกติ
 รู้สึกอ่อนล้า เอื่อยเฉื่อย เหนื่อยตลอดเวลา
 อาจรู้สึกอยากอาหารหรือไม่อยากอาหารก็ได้น้าหนักเพิ่มขึ้นหรือลดลง
 ท้องผูก
 นอนหลับยาก ตื่นเช้า หรือนอนนานกว่าปกติ
 เจ็บปวดตามร่างกายโดยไม่ทราบสาเหตุ
 รอบเดือนผิดปกติ
 ความสนใจเรื่องเพศลดลง
 ทางานได้ไม่ดีหรือไม่มีประสิทธิภาพเท่าเดิม
 หมดความสนใจในกิจกรรมหรืองานอดิเรกที่เคยสนใจ
 อาจหันไปพึ่งสารเสพติด การรักษาโรคซึมเศร้า การรักษาด้วยการใช้ยา
5
การรักษา
 ยากลุ่มต้านเศร้า ยาในกลุ่มนี้ปัจจุบันมีหลากหลายชนิด พบอาการข้างเคียงลดลงและมี จานวนผู้ป่วยที่ตอบสนอง
ต่อการรักษาเพิ่มมากขึ้น โดยแพทย์และผู้ป่วยสามารถทางานร่วมกันในการเลือกยา ให้เหมาะสม  ยากลุ่มอื่นๆ ยา
ในกลุ่มอื่นๆ ที่นามาใช้ร่วมเพื่อการรักษาภาวะซึมเศร้าในบางราย โดยแพทย์จะพิจารณาจากความ เหมาะสมร่วมกับ
การตอบสนองต่อการรักษาที่ผ่านมา จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนหรือเรียนรู้
 การรักษาด้วยไฟฟ้า
 การกระตุ้นเส้นประสาทเวกัส
วิธีดําเนินงาน
แนวทางการดําเนินงาน
1. ปรึกษาเลือกหัวข้อ
2. นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
3. ศึกษารวบรวมข้อมูล
4. จัดทารายงาน
5. นาเสนอครูผู้สอน
6. ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. อินเทอร์เน็ต
2. หนังสือ
3. โทรศัพท์
งบประมาณ
ไม่เสียค่าใช้จ่าย
6
ขั้นตอนและแผนดําเนินงาน
ลําดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ
ผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทําโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทําเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นําเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทําโครงงาน)
ผู้ที่ได้เข้าศึกษาข้อมูลจะได้รู้จักโรคซึมเศร้ามากขึ้น สามารถนาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน อย่างเช่น การ
สารวจตนเอง หรือคนรอบข้างว่ามีอาการเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ และรู้วิธีการรักษาของโรคซึมเศร้า
อย่างถูกต้อง
สถานที่ดําเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นํามาใช้การทําโครงงาน)
 https://www.pobpad.com/  https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-
treatment/treatment-of-depression

More Related Content

Similar to Com term2

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.bamhattamanee
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.bamhattamanee
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37KamontipKumjen
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathidaasirwa04
 

Similar to Com term2 (20)

2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathida
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
Asdfghj
AsdfghjAsdfghj
Asdfghj
 

Com term2

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ปัญหาทางสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในวัยรุ่น ชื่อผู้ทําโครงงาน 1.นางสาวณราวดี แจ่มศรี เลขที่ 44 ชั้น 6 ห้อง 11 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทําข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวณราวดี แจ่มศรี เลขที่ 44 ชั้น 6 ห้อง 11 คําชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาทางสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในวัยรุ่น ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Common health problems in teenager ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทําโครงงาน นางสาวณราวดี แจ่มศรี เลขที่ 44 ชั้น 6 ห้อง 11 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสําคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทําโครงงาน) ในปัจจุบันนี้มีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเป็นจานวนมากทั่วโลกและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี โรคซึมเศร้าเกิดขึ้นได้ กับคนทุกเพศทุกวัย สาเหตุปัจจัยเกิดจากสภาพแวดล้อมที่ทาให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล ต่างๆ ผู้ป่วยโรค ซึมเศร้าบางรายเสี่ยงต่อการทาร้ายตนเอง หรือฆ่าตัวตายสูง จากผลสารวจในปี 2557 กรมสุขภาพจิตของไทยได้คัด กรองกลุ่มเสี่ยงจานวน 12 ล้านคน ในจานวนนี้มีแนวโน้มป่วยโรคซึมเศร้า 6 ล้านคน ได้รับการวินิจฉัยแล้วว่าเป็น โรคซึมเศร้า 5 แสนคน มีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตาย 6 แสนคน และคาดว่าคนไทยน่าจะมีภาวะซึมเศร้าถึงประมาณ 1.2 ล้านคน โรคซึมเศร้านั้นเป็นโรคที่อันตรายไม่ใช่แค่ต่อร่างกายตนเอง แต่อาจจะกระทบต่อคนรอบข้างที่ห่วงใย กระทบต่อหน้าที่การงาน ชีวิต ดังนั้นจึงไม่ควรมองข้าม หากรู้จักโรคซึมเศร้า รู้อาการของโรค วิธีการดูแลรักษา ซึ่ง จะเป็นประโยชน์ต่อตนเองและคนรอบข้าง ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ผู้จัดทาจึงทาโครงงานเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าให้แก่ผู้ ที่เข้าศึกษาได้เข้าใจโรคซึมเศร้า ห่างไกลจากโรคซึมเศร้าได้อย่างถูกต้องและเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษา ความรู้ได้
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทําโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อการศึกษาข้อมูลของโรคซึมเศร้า 2. เพื่อผู้ที่ศึกษาได้เข้าใจข้อมูลอย่างถูกต้อง 3. เพื่อสามารถนาความรู้ที่ได้ศึกษาไปใช้ในชีวิตประจําวัน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจํากัดของการทําโครงงาน) 1. วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน 2. รูปแบบการนาเสนอที่ถูกต้อง 3. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทําโครงงาน) โรคซึมเศร้า เป็นภาวะความผิดปกติทางอารมณ์ที่ผู้ป่วยอาจรู้สึกเศร้า สิ้นหวัง ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้หรือ รู้สึกว่าตน ด้อยค่า แม้ความรู้สึกและอารมณ์เหล่านี้จะเกิดขึ้นได้กับทุกคนเป็นครั้งคราว แต่อาการของภาวะซึมเศร้า นั้นมีความ รุนแรงและยาวนานกว่ามากจนถึงขั้นส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ของผู้ป่วย โรคซึมเศร้าสามารถแบ่ง ออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ 1. โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรง (Major Depression) เป็นอาการซึมเศร้าอย่างที่ส่งผล กระทบถึงชีวิตการทางานหรือ การเรียน รวมไปถึงการนอนหลับและการกินอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุขอย่างรุนแรง 2. โรคซึมเศร้าเรื้อรัง (Persistent Depressive Disorder) แม้จะมีอาการและความรุนแรงของอาการน้อยกว่า แต่ ภาวะ ซึมเศร้าชนิดนี้จะคงอยู่กับผู้ป่วยยาวนานกว่ามาก เป็นเวลาอย่างน้อยตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็น โรคซึมเศร้า เรื้อรังก็อาจมีบางช่วงเวลาที่ต้องเผชิญภาวะซึมเศร้าชนิดรุนแรงร่วมด้วย สาเหตุของ โรคซึมเศร้า  การทางานของสมอง โรคซึมเศร้าอาจมีสาเหตุหนึ่งมาจากการทางานของสมองที่ผิดปกติ เนื่องจากสารสื่อ ประสาทในสมอง (neurotransmitters) ที่ไม่สมดุลกัน โดยมีปริมาณมากหรือน้อยเกินไป ซึ่งสาเหตุการเกิดโรค ซึมเศร้านั้นซับซ้อนมากกว่าความผิดปกติของสารเคมีในสมอง โดยสันนิษฐานว่าเป็นการเชื่อมต่อ การ เจริญเติบโต ของเซลล์ประสาท  พันธุกรรม พันธุกรรมที่ทาหน้าที่คอยควบคุมส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและสมอง อาจถ่ายทอดภาวะซึมเศร้าจาก รุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้การทางานของพันธุกรรมที่ผิดแปลกไป จึงให้ชีววิทยาในร่างกายเปลี่ยนไป ซึ่ง นาไปสู่ ภาวะไม่เสถียรทางอารมณ์หรือพัฒนาไปเป็นภาวะซึมเศร้าได้ในที่สุด  บุคลิกภาพและลักษณะนิสัย อีกหนึ่งปัจจัยที่มีส่วนสาคัญและเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าก็คือลักษณะนิสัยเฉพาะตัว โดยนักจิตวิทยาชี้ว่าทัศนคติและมุมมองต่อโลกจะส่งผลต่อความรู้สึกของเราเอง ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่ผู้ที่มี ความ มั่นใจในตัวเองต่า เกิดความวิตกกังวลง่าย จะมีแนวโน้มเกิดภาวะซึมเศร้าได้ง่ายกว่า
  • 4. 4  เหตุการณ์ตึงเครียดในชีวิต เนื่องจากความสามารถในการรับมือกับปัญหาและความสูญเสียของแต่ละคนที่ไม่ เท่ากัน โรคซึมเศร้าในหลายรายจึงเกิดขึ้นจากการเผชิญกับเหตุการณ์ในชีวิตที่ตึงเครียดหรืออยู่ในสภาวะย่าแย่ โดยเฉพาะหากมีความเสี่ยง แล้วก็ยิ่งง่ายที่จะพัฒนาไปสู่การมีภาวะซึมเศร้า  อาการเจ็บป่วย โรคที่รุนแรงและเรื้อรังสามารถทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างอาการซึมเศร้าตามมา โรคที่รู้จัก กันดีว่าส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าคือภาวะขาดฮอร์โมนไทรอยด์ (Hypothyroidism) ซึ่งผู้ป่วยจะมีระดับฮอร์โมน ไทรอยด์ต่าเกิน จนทาให้เหนื่อยล้าและเข้าสู่ภาวะซึมเศร้าได้และยังมีผู้ป่วยโรคเรื้อรังอีกมากมาย  การใช้ยารักษาโรคบางชนิด ผลข้างเคียงจากยาบางชนิดอาจทาให้ผู้ป่วยเกิดภาวะซึมเศร้าได้ดังนั้น หากมีอาการ ของภาวะซึมเศร้าหลังการใช้ยาใด ๆ ผู้ป่วยต้องบอกแพทย์เพื่อพิจารณาเปลี่ยนยาตัวใหม่หรือลด ปริมาณเพื่อกาจัด ผลข้างเคียงที่ทาให้เกิดภาวะซึมเศร้า อาการของโรคซึมเศร้า  รู้สึกหดหู่ เศร้า ตลอดเวลา  รู้สึกสิ้นหวัง ทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเองไม่ไหว  มองโลกในแง่ร้าย รู้สึกว่าตนไร้ค่า โดดเดี่ยว และมีความรู้สึกผิด  ขาดสมาธิในการจดจ่อ จดจา หรือการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ  กระสับกระส่าย หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย  มีความคิดที่จะฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตาย ทาร้ายตัวเอง ด้านร่างกาย  เคลื่อนไหวหรือพูดจาช้ากว่าปกติ  รู้สึกอ่อนล้า เอื่อยเฉื่อย เหนื่อยตลอดเวลา  อาจรู้สึกอยากอาหารหรือไม่อยากอาหารก็ได้น้าหนักเพิ่มขึ้นหรือลดลง  ท้องผูก  นอนหลับยาก ตื่นเช้า หรือนอนนานกว่าปกติ  เจ็บปวดตามร่างกายโดยไม่ทราบสาเหตุ  รอบเดือนผิดปกติ  ความสนใจเรื่องเพศลดลง  ทางานได้ไม่ดีหรือไม่มีประสิทธิภาพเท่าเดิม  หมดความสนใจในกิจกรรมหรืองานอดิเรกที่เคยสนใจ  อาจหันไปพึ่งสารเสพติด การรักษาโรคซึมเศร้า การรักษาด้วยการใช้ยา
  • 5. 5 การรักษา  ยากลุ่มต้านเศร้า ยาในกลุ่มนี้ปัจจุบันมีหลากหลายชนิด พบอาการข้างเคียงลดลงและมี จานวนผู้ป่วยที่ตอบสนอง ต่อการรักษาเพิ่มมากขึ้น โดยแพทย์และผู้ป่วยสามารถทางานร่วมกันในการเลือกยา ให้เหมาะสม  ยากลุ่มอื่นๆ ยา ในกลุ่มอื่นๆ ที่นามาใช้ร่วมเพื่อการรักษาภาวะซึมเศร้าในบางราย โดยแพทย์จะพิจารณาจากความ เหมาะสมร่วมกับ การตอบสนองต่อการรักษาที่ผ่านมา จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนหรือเรียนรู้  การรักษาด้วยไฟฟ้า  การกระตุ้นเส้นประสาทเวกัส วิธีดําเนินงาน แนวทางการดําเนินงาน 1. ปรึกษาเลือกหัวข้อ 2. นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน 3. ศึกษารวบรวมข้อมูล 4. จัดทารายงาน 5. นาเสนอครูผู้สอน 6. ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. อินเทอร์เน็ต 2. หนังสือ 3. โทรศัพท์ งบประมาณ ไม่เสียค่าใช้จ่าย
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดําเนินงาน ลําดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ ผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทําโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทําเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นําเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทําโครงงาน) ผู้ที่ได้เข้าศึกษาข้อมูลจะได้รู้จักโรคซึมเศร้ามากขึ้น สามารถนาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน อย่างเช่น การ สารวจตนเอง หรือคนรอบข้างว่ามีอาการเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ และรู้วิธีการรักษาของโรคซึมเศร้า อย่างถูกต้อง สถานที่ดําเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง  กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา  กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นํามาใช้การทําโครงงาน)  https://www.pobpad.com/  https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases- treatment/treatment-of-depression