SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคทางจิตเวช (Psychiatric disease)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวดาว เห็งมาต เลขที่ 36 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่อ นางสาวพิชชาพรรณ วังใน เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวดาว เห็งมาต เลขที่ 36
2. นางสาวพิชชาพรรณ วังใน เลขที่ 42
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคทางจิตเวช
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Psychiatric disease
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวดาว เห็งมาต และ นางสาวพิชชาพรรณ วังใน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันมีคนป่วยเป็นโรคทางจิตเวชโดยไม่รู้ตัวเป็นจานวนมากหรือคนรอบข้างกาลังมีอาการป่วย เพราะไม่
ทราบอาการหรือไม่มีข้อมูลเพียงพอจึงทาให้มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุของโรคทางจิตเวชอาจมาจากการมี
ความรู้สึกฝังใจในเรื่องต่างๆ การถูกทารุณกรรม ครอบครัวแตกแยก การยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข การประสบอุบัติเหตุ
การได้รับเหตุการณ์สะเทือนใจอย่างรุนแรงและมีสาเหตุอื่นๆอีกมากมาย ทั้งนี้เพื่อลดปัญหานี้ ผู้จัดทาโครงงานจึง
ศึกษาสาเหตุและวิธีแก้ไขป้องกันการเกิดโรคทางจิตเวชโดยการสร้างความเข้มแข็งทางด้านจิตใจและอารมณ์ของคน
เริ่มจากการเลี้ยงดูที่เอาใจใส่ดูแลอย่างดีตั้งแต่เด็ก ให้อยู่ในครอบครัวที่ดีให้ความรักและไม่มีความรุนแรงหรือทา
พฤติกรรมที่ไม่ดีให้เด็กเห็นตั้งแต่เด็ก พื้นฐานทางครอบครัวเป็นเรื่องสาคัญที่สุดยิ่งครอบครัวรักกันเด็กก็จะมีความสุข
รู้สึกมีที่พึ่ง จะช่วยลดการเกิดผู้ป่วยเป็นโรคทางจิตเวชลงได้มาก ผู้จัดทาจึงเห็นความสาคัญของปัญหานี้จึงนามาศึกษา
ไม่ใช่แค่ต้องการให้ความรู้ แต่เป็นการช่วยเหลือทางอ้อมโดยสามารถเผยแพร่ให้นักเรียน นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจได้
เป็นวิธีหนึ่งที่สามารถสังเกตอาการป่วยหรือแก้ไขได้ ดังนั้นผู้จัดทาจึงตัดสินใจทาโครงงานเรื่องโรคทางจิตเวช เพื่อช่วย
ลดผู้ป่วยที่ป่วยโดยไม่รู้ตัว และเป็นความรู้ในการช่วยสังเกตอาการของคนรอบตัว
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อให้ความรู้และนาไปใช้สังเกตคนรอบข้างว่ามีอาการทางจิตเวชหรือไม่
2.เพื่อให้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยทางจิตเวชได้ทัน
3.สามารถป้องกันและลดการเกิดผู้ทางจิตเวชได้
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
- ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
- ศึกษาจากกลุ่มวัยรุ่นในหมู่บ้าน ช่วงอายุระหว่าง 16-20 ปี
- สถานที่หมู่บ้านสันป่าห้า
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคทางจิตเวชคืออะไร
โรคทางจิตเวช คือ ความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติของสารเคมีในสมอง โรคที่มีอาการเด่นในเรื่อง
ความรู้สึกนึกคิด การรับรู้ หรือพฤติกรรม มีลักษณะผิดไปจากคนโดยเฉลี่ยที่เขาเป็นเขามีกัน มีผลทาให้คนๆนั้นไม่
สามารถใช้ชีวิต ทางาน หรือเรียนได้อย่างที่เคย ภาวะวิกฤตจิตเวช ภาวะที่มีความผิดปกติด้านความคิด อารมณ์
พฤติกรรมอย่างเฉียบพลันหรือรุนแรง จนอาจทาให้เกิดอันตราย ต่อตัวผู้ป่วย ผู้อื่นและทรัพย์สิน จาเป็นต้องได้รับ การ
ช่วยเหลือทันที
งานวิจัยเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช
วัตถุประสงค์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการมา
รักษาซ้าของผู้ป่วยจิตเวช ในโรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา ในเรื่องความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคจิตเวช ความเชื่อ
ด้านสุขภาพจิตเกี่ยวกับโรคจิตเวช สัมพันธภาพของบุคคลในครอบครัวผู้ป่วยจิตเวช ลักษณะทางคลินิกและการรับ
บริการ ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
เป็นครั้งที่ 2 ขึ้นไป แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ผู้ป่วยจิตเวชมารักษาซ้าภายใน 6 เดือน จานวน 80 คน กลุ่มที่ 2
ผู้ป่วยจิตเวชไม่มารักษาซ้าเกิน 6 เดือนขึ้นไป จานวน 80 คน รวมทั้งหมด 160 คน โดยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ
เป็นระบบ เครื่องมือรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) ข้อมูลทั่วไป 2) ความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับโรคจิตเวช 3) ความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคจิตเวช 4) สัมพันธภาพของบุคคลในครอบครัวผู้ป่วยจิตเวช
อาการโรคจิต
ผู้ป่วยโรคจิตแต่ละคนอาจมีลักษณะท่าทางและอาการที่ปรากฏแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปแล้ว กลุ่มอาการหลัก ๆ
ของโรคจิต ได้แก่
1.ประสาทหลอน ประสาทรับรู้ทั้ง 5 เปลี่ยนแปลงและผิดไปจากความเป็นจริง เช่น เห็นภาพหลอน มองเห็น
สีหรือรูปร่างผิดแผกไป ได้ยินเสียงที่คนอื่นไม่ได้ยิน รู้สึกถึงการสัมผัสทั้งที่ไม่มีใครแตะตัว ได้กลิ่นที่คนอื่นไม่รู้สึก และ
รับรู้ถึงรสชาติทั้ง ๆ ที่ไม่มีอะไรอยู่ในปากในขณะนั้น เป็นต้น
2.หลงผิด มีความคิดหรือความเชื่ออย่างแน่วแน่ในสิ่งที่ไม่เป็นความจริง เช่น หลงผิดคิดว่าตนเองกาลังถูก
ปองร้ายหรือมีคนวางแผนฆ่าตนเอง หลงผิดว่าตนเองเป็นบุคคลสาคัญที่มีอานาจ หรือมีพลังวิเศษ เป็นต้น
3.มีความคิดสับสนวุ่นวาย หรือมีรูปแบบกระบวนการคิดที่ไม่เป็นลาดับ ซึ่งส่งผลให้มีอาการต่าง ๆ เช่น
พูดไม่คิด พูดออกมาในทันที พูดเร็ว พูดแล้วฟังไม่ได้ศัพท์ จัดเรียงลาดับคาในประโยคไม่ถูกต้อง สื่อสารไม่เข้าใจ พูด
ขาด ๆ หาย ๆ พูดไม่ต่อเนื่อง หยุดพูดเป็นระยะ เป็นต้น
4.ขาดการตระหนักรู้ ผู้ป่วยโรคจิตมักไม่รับรู้ว่าอาการหลงผิดและประสาทหลอนที่เกิดขึ้นไม่ใช่ความจริง ทา
ให้ผู้ป่วยเกิดอาการอื่น ๆ ที่เป็นปัญหาตามมา เช่น อาการตื่นตระหนก ตกใจกลัว ทุกข์ทรมาน เป็นต้น
นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคจิตอาจมีอาการอื่น ๆ ปรากฏด้วย เช่น
4
- ซึมเศร้า เก็บตัว
- แยกตัวจากเพื่อนและครอบครัว
- นอนนานกว่าปกติ หรือนอนไม่พอ
- หวาดระแวง ขี้สงสัย
- วิตกกังวล กระวนกระวาย ไม่มีสมาธิ
- อารมณ์แปรปรวน มีอาการซึมเศร้ามาก หรือดีใจมากผิดปกติ
- ไม่รักษาความสะอาด
- ไม่สนใจทากิจกรรมใด ๆ อย่างที่เคย
- มีความคิดแปลก ๆ
- มีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ช้ากว่าปกติ แปลก หรือผิดปกติ
- มีพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อตนเองหรือผู้อื่น
- มีความคิดหรือพยายามฆ่าตัวตาย
สาเหตุของโรคจิต
แม้ในทางการแพทย์จะยังไม่มีการระบุสาเหตุที่แน่ชัดของอาการโรคจิตได้ แต่มีความเชื่อมากมายเกี่ยวกับ
ปัจจัยสาคัญที่อาจส่งผลกระทบให้ผู้ป่วยเผชิญภาวะโรคจิต ได้แก่
ปัจจัยภายใน
1.ความผิดปกติทางสมอง และระดับสารเคมีในสมอง นักวิจัยหลายคนเชื่อว่า อาการโรคจิตอาจเกิดจาก
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นภายในสมอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สารสื่อประสาทโดปามีน (Dopamine) ที่ทาหน้าที่ควบคุม
กระบวนการคิดและการรับรู้ที่นาไปสู่การเกิดพฤติกรรมต่าง ๆ หากการทางานของสมองและสารสื่อประสาทได้รับ
ความกระทบกระเทือน อาจส่งผลให้เกิดอาการโรคจิตได้ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญได้สนับสนุนแนวคิดนี้ด้วยหลายงาน
ค้นคว้าวิจัย ที่แสดงลักษณะทางกายภาพของสมองผ่านภาพสแกนสมอง และการทดลองควบคุมระดับโดปามีน ซึ่งมี
ส่วนช่วยลดการเกิดอาการโรคจิตได้ด้วย
2.ความผิดปกติทางจิต โรคจิตอาจเกิดจากความผิดปกติทางจิตหรือทางบุคลิกภาพ เช่น ป่วยเป็นโรคจิตเภท
(Schizophrenia) ทาให้มีอาการหลงผิดและประสาทหลอน ป่วยเป็นโรคไบโพลาร์ หรือโรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar)
ที่ทาให้มีอาการซึมเศร้าหรืออารมณ์ดีสุดขีด (Mania) มีความเครียดความวิตกกังวลอย่างหนัก หรืออยู่ในภาวะซึมเศร้า
อย่างรุนแรง
3.ความเจ็บป่วยทางร่างกาย เมื่อผู้ป่วยเจ็บป่วยด้วยโรคบางอย่าง อาจส่งผลให้เกิดอาการโรคจิตได้ เช่น
พักผ่อนไม่เพียงพอ ภาวะน้าตาลในเลือดต่า โรคไข้จับสั่นหรือมาลาเรีย โรคอัลไซเมอร์ โรคพาร์กินสัน โรคพุ่มพวง หรือ
โรคแพ้ภูมิตัวเอง โรคปลอกประสาทอักเสบ (Multiple Sclerosis) โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ซิฟิลิส การติดเชื้อเอชไอ
วีและกลุ่มอาการเอดส์ มีเนื้องอกในสมอง เป็นต้น
กรรมพันธุ์ บางทฤษฎีเชื่อว่าอาการโรคจิตมีแนวโน้มถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากรุ่นสู่รุ่นได้
ปัจจัยภายนอก
การใช้ยาหรือการได้รับสารเคมีใด ๆ เข้าสู่ร่างกายในทางที่ผิด หรือในปริมาณที่เกินพอดี อาจส่งผลกระทบทาให้
เกิดอาการโรคจิตได้ เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ การเสพยาเสพติดอย่างโคเคน ยาบ้า (Amphetamine) ยาไอซ์
(Methamphetamine) ยาอี (MDMA: Ecstasy) ยาเค (Ketamine) หรือกัญชา เป็นต้น
อีกกรณีหนึ่ง หากผู้ป่วยหยุดใช้สารดังกล่าวข้างต้นหลังจากใช้ติดต่อกันมาเป็นเวลานาน อาจทาให้เกิดอาการโรคจิตได้
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในอาการถอนพิษยา
นอกจากนี้ แม้เป็นกรณีที่พบได้น้อยมาก แต่ในบางครั้งอาการโรคจิตอาจเป็นผลข้างเคียงจากการใช้ยารักษาบางชนิด
ได้ หรืออาจเกิดจากการใช้ยาเกินขนาดได้เช่นกัน
5
กลุ่มเสี่ยงที่จะป่วยเป็นโรคทางจิตเวช
1. คนที่มีประสบการณ์ถูกทาร้ายตอนเด็กๆ
2. คนที่ไม่ค่อยมีเพื่อนหรือครอบครัวมาคอยช่วยเหลือ
3. คนที่ชอบพึ่งพาคนอื่นมาโดยตลอด ไม่พยายามช่วยเหลือตนเอง
4. คนที่มีอาการทางจิตเวชเป็นทุนเดิม เช่น โรคซึมเศร้า โรคไบโพลาร์ โรควิตกกังวล
5. คนที่อายุน้อยไม่มีประสบการณ์ คนอายุมากที่มีปัญหาเรื่องการปรับตัว
แนวทางการรักษา
1. ยอมรับตัวเอง ไม่ต้องกลัวการรักษาหรือคิดว่าตัวเองเป็นโรคจิตเวชร้ายแรง ไม่ว่าใครที่เคยเจอ
เหตุการณ์ร้ายๆ ก็ต้องเครียดด้วยกันทั้งนั้น
2. ทาจิตบาบัดในเชิงพฤติกรรมบาบัด เช่น ให้เผชิญกับสิ่งที่หวาดกลัว เหตุการณ์ที่เคยหวาดกลัว ให้คนไข้
ได้ปรับตัว หาทางที่จะควบคุมอาการที่เกิดขึ้นได้ด้วยตัวเอง
3. ฝึกผ่อนคลายความเครียด เช่น การทาสมาธิ ฝึกลมหายใจ วิธีการเบี่ยงเบนความคิดเมื่อเราคิดหมกมุ่น
4. ทากลุ่มบาบัด โดยนาบุคคลที่เคยเจอเหตุการณ์คล้ายๆ กันมาพบกัน แล้วร่วมแชร์ความรู้สึก
ประสบการณ์ เหมือนมีเพื่อนคอยรับฟังความคิดเห็นของเรา เพื่อให้เผชิญกับเหตุการณ์นั้นๆ ได้ดีขึ้น
5. รักษาด้วยยาตามจิตแพทย์สั่ง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. สร้างแบบสอบถาม เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจทาให้เป็นโรคทางจิตเวช
2. ดาเนินการสารวจโดยการใช้แบบสอบถาม ถามกลุ่มวัยรุ่นในหมู่บ้าน
3. เก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม
4. นาข้อมูลที่ได้มาประมวลผล
5. วิเคราะห์แบบสารวจพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคทางจิตเวช
6. นาข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ และสรุปเป็นสถิติ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. เอกสารแบบสอบถาม จานวน 20 แผ่น
2. คอมพิวเตอร์แบบพกพา
3. ปากกา
4. โทรศัพท์มือถือ
5. เครื่องคิดเลข
งบประมาณ
-ค่าปริ้นแบบสารวจ 20 บาท
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน ดาว,พิชชา
พรรณ
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
ดาว,พิชชา
พรรณ
3 จัดทาโครงร่างงาน ดาว,พิชชา
พรรณ
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
ดาว,พิชชา
พรรณ
5 ปรับปรุงทดสอบ ดาว,พิชชา
พรรณ
6 การทา
เอกสารรายงาน
ดาว,พิชชา
พรรณ
7 ประเมินผลงาน ดาว,พิชชา
พรรณ
8 นาเสนอโครงงาน ดาว,พิชชา
พรรณ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. สามารถช่วยเหลือผู้ที่กาลังมีอาการป่วยได้ทัน
2. ช่วยลดจานวนผู้ป่วยลงได้
3. ทาให้ผู้อ่านมีความรู้ผู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช
4. สามารถสังเกตตัวเองหรือคนรอบข้างได้ว่ามีอาการป่วยหรือไม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ
- กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
- กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- สาเหตุอาการของโรคทางจิตเวช //สืบค้นเมื่อ 10 พ.ย. 2562
เว็บไซต์https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/5-%E0%B9
- การแก้ปัญหาและป้องก้นการเกิดโรคทางจิตเวช// สืบค้นเมื่อ 10 พ.ย. 2562
เว็บไซต์https://www.youtube.com/watch?v=lUbgNh9qmoI

More Related Content

What's hot

2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4sinekkn
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610ssuser015151
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานssuseraff7e6
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)ssuser37a5ed
 

What's hot (18)

2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
Ocd
OcdOcd
Ocd
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Com final2
Com final2Com final2
Com final2
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

Similar to W.11

Similar to W.11 (20)

(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
The effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivationThe effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivation
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
Project
ProjectProject
Project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้น
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 

W.11

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคทางจิตเวช (Psychiatric disease) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวดาว เห็งมาต เลขที่ 36 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่อ นางสาวพิชชาพรรณ วังใน เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวดาว เห็งมาต เลขที่ 36 2. นางสาวพิชชาพรรณ วังใน เลขที่ 42 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคทางจิตเวช ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Psychiatric disease ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวดาว เห็งมาต และ นางสาวพิชชาพรรณ วังใน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันมีคนป่วยเป็นโรคทางจิตเวชโดยไม่รู้ตัวเป็นจานวนมากหรือคนรอบข้างกาลังมีอาการป่วย เพราะไม่ ทราบอาการหรือไม่มีข้อมูลเพียงพอจึงทาให้มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุของโรคทางจิตเวชอาจมาจากการมี ความรู้สึกฝังใจในเรื่องต่างๆ การถูกทารุณกรรม ครอบครัวแตกแยก การยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข การประสบอุบัติเหตุ การได้รับเหตุการณ์สะเทือนใจอย่างรุนแรงและมีสาเหตุอื่นๆอีกมากมาย ทั้งนี้เพื่อลดปัญหานี้ ผู้จัดทาโครงงานจึง ศึกษาสาเหตุและวิธีแก้ไขป้องกันการเกิดโรคทางจิตเวชโดยการสร้างความเข้มแข็งทางด้านจิตใจและอารมณ์ของคน เริ่มจากการเลี้ยงดูที่เอาใจใส่ดูแลอย่างดีตั้งแต่เด็ก ให้อยู่ในครอบครัวที่ดีให้ความรักและไม่มีความรุนแรงหรือทา พฤติกรรมที่ไม่ดีให้เด็กเห็นตั้งแต่เด็ก พื้นฐานทางครอบครัวเป็นเรื่องสาคัญที่สุดยิ่งครอบครัวรักกันเด็กก็จะมีความสุข รู้สึกมีที่พึ่ง จะช่วยลดการเกิดผู้ป่วยเป็นโรคทางจิตเวชลงได้มาก ผู้จัดทาจึงเห็นความสาคัญของปัญหานี้จึงนามาศึกษา ไม่ใช่แค่ต้องการให้ความรู้ แต่เป็นการช่วยเหลือทางอ้อมโดยสามารถเผยแพร่ให้นักเรียน นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจได้ เป็นวิธีหนึ่งที่สามารถสังเกตอาการป่วยหรือแก้ไขได้ ดังนั้นผู้จัดทาจึงตัดสินใจทาโครงงานเรื่องโรคทางจิตเวช เพื่อช่วย ลดผู้ป่วยที่ป่วยโดยไม่รู้ตัว และเป็นความรู้ในการช่วยสังเกตอาการของคนรอบตัว วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อให้ความรู้และนาไปใช้สังเกตคนรอบข้างว่ามีอาการทางจิตเวชหรือไม่ 2.เพื่อให้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยทางจิตเวชได้ทัน 3.สามารถป้องกันและลดการเกิดผู้ทางจิตเวชได้
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 - ศึกษาจากกลุ่มวัยรุ่นในหมู่บ้าน ช่วงอายุระหว่าง 16-20 ปี - สถานที่หมู่บ้านสันป่าห้า หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคทางจิตเวชคืออะไร โรคทางจิตเวช คือ ความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติของสารเคมีในสมอง โรคที่มีอาการเด่นในเรื่อง ความรู้สึกนึกคิด การรับรู้ หรือพฤติกรรม มีลักษณะผิดไปจากคนโดยเฉลี่ยที่เขาเป็นเขามีกัน มีผลทาให้คนๆนั้นไม่ สามารถใช้ชีวิต ทางาน หรือเรียนได้อย่างที่เคย ภาวะวิกฤตจิตเวช ภาวะที่มีความผิดปกติด้านความคิด อารมณ์ พฤติกรรมอย่างเฉียบพลันหรือรุนแรง จนอาจทาให้เกิดอันตราย ต่อตัวผู้ป่วย ผู้อื่นและทรัพย์สิน จาเป็นต้องได้รับ การ ช่วยเหลือทันที งานวิจัยเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช วัตถุประสงค์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการมา รักษาซ้าของผู้ป่วยจิตเวช ในโรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา ในเรื่องความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคจิตเวช ความเชื่อ ด้านสุขภาพจิตเกี่ยวกับโรคจิตเวช สัมพันธภาพของบุคคลในครอบครัวผู้ป่วยจิตเวช ลักษณะทางคลินิกและการรับ บริการ ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เป็นครั้งที่ 2 ขึ้นไป แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ผู้ป่วยจิตเวชมารักษาซ้าภายใน 6 เดือน จานวน 80 คน กลุ่มที่ 2 ผู้ป่วยจิตเวชไม่มารักษาซ้าเกิน 6 เดือนขึ้นไป จานวน 80 คน รวมทั้งหมด 160 คน โดยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ เป็นระบบ เครื่องมือรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) ข้อมูลทั่วไป 2) ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคจิตเวช 3) ความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคจิตเวช 4) สัมพันธภาพของบุคคลในครอบครัวผู้ป่วยจิตเวช อาการโรคจิต ผู้ป่วยโรคจิตแต่ละคนอาจมีลักษณะท่าทางและอาการที่ปรากฏแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปแล้ว กลุ่มอาการหลัก ๆ ของโรคจิต ได้แก่ 1.ประสาทหลอน ประสาทรับรู้ทั้ง 5 เปลี่ยนแปลงและผิดไปจากความเป็นจริง เช่น เห็นภาพหลอน มองเห็น สีหรือรูปร่างผิดแผกไป ได้ยินเสียงที่คนอื่นไม่ได้ยิน รู้สึกถึงการสัมผัสทั้งที่ไม่มีใครแตะตัว ได้กลิ่นที่คนอื่นไม่รู้สึก และ รับรู้ถึงรสชาติทั้ง ๆ ที่ไม่มีอะไรอยู่ในปากในขณะนั้น เป็นต้น 2.หลงผิด มีความคิดหรือความเชื่ออย่างแน่วแน่ในสิ่งที่ไม่เป็นความจริง เช่น หลงผิดคิดว่าตนเองกาลังถูก ปองร้ายหรือมีคนวางแผนฆ่าตนเอง หลงผิดว่าตนเองเป็นบุคคลสาคัญที่มีอานาจ หรือมีพลังวิเศษ เป็นต้น 3.มีความคิดสับสนวุ่นวาย หรือมีรูปแบบกระบวนการคิดที่ไม่เป็นลาดับ ซึ่งส่งผลให้มีอาการต่าง ๆ เช่น พูดไม่คิด พูดออกมาในทันที พูดเร็ว พูดแล้วฟังไม่ได้ศัพท์ จัดเรียงลาดับคาในประโยคไม่ถูกต้อง สื่อสารไม่เข้าใจ พูด ขาด ๆ หาย ๆ พูดไม่ต่อเนื่อง หยุดพูดเป็นระยะ เป็นต้น 4.ขาดการตระหนักรู้ ผู้ป่วยโรคจิตมักไม่รับรู้ว่าอาการหลงผิดและประสาทหลอนที่เกิดขึ้นไม่ใช่ความจริง ทา ให้ผู้ป่วยเกิดอาการอื่น ๆ ที่เป็นปัญหาตามมา เช่น อาการตื่นตระหนก ตกใจกลัว ทุกข์ทรมาน เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคจิตอาจมีอาการอื่น ๆ ปรากฏด้วย เช่น
  • 4. 4 - ซึมเศร้า เก็บตัว - แยกตัวจากเพื่อนและครอบครัว - นอนนานกว่าปกติ หรือนอนไม่พอ - หวาดระแวง ขี้สงสัย - วิตกกังวล กระวนกระวาย ไม่มีสมาธิ - อารมณ์แปรปรวน มีอาการซึมเศร้ามาก หรือดีใจมากผิดปกติ - ไม่รักษาความสะอาด - ไม่สนใจทากิจกรรมใด ๆ อย่างที่เคย - มีความคิดแปลก ๆ - มีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ช้ากว่าปกติ แปลก หรือผิดปกติ - มีพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อตนเองหรือผู้อื่น - มีความคิดหรือพยายามฆ่าตัวตาย สาเหตุของโรคจิต แม้ในทางการแพทย์จะยังไม่มีการระบุสาเหตุที่แน่ชัดของอาการโรคจิตได้ แต่มีความเชื่อมากมายเกี่ยวกับ ปัจจัยสาคัญที่อาจส่งผลกระทบให้ผู้ป่วยเผชิญภาวะโรคจิต ได้แก่ ปัจจัยภายใน 1.ความผิดปกติทางสมอง และระดับสารเคมีในสมอง นักวิจัยหลายคนเชื่อว่า อาการโรคจิตอาจเกิดจาก ความผิดปกติที่เกิดขึ้นภายในสมอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สารสื่อประสาทโดปามีน (Dopamine) ที่ทาหน้าที่ควบคุม กระบวนการคิดและการรับรู้ที่นาไปสู่การเกิดพฤติกรรมต่าง ๆ หากการทางานของสมองและสารสื่อประสาทได้รับ ความกระทบกระเทือน อาจส่งผลให้เกิดอาการโรคจิตได้ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญได้สนับสนุนแนวคิดนี้ด้วยหลายงาน ค้นคว้าวิจัย ที่แสดงลักษณะทางกายภาพของสมองผ่านภาพสแกนสมอง และการทดลองควบคุมระดับโดปามีน ซึ่งมี ส่วนช่วยลดการเกิดอาการโรคจิตได้ด้วย 2.ความผิดปกติทางจิต โรคจิตอาจเกิดจากความผิดปกติทางจิตหรือทางบุคลิกภาพ เช่น ป่วยเป็นโรคจิตเภท (Schizophrenia) ทาให้มีอาการหลงผิดและประสาทหลอน ป่วยเป็นโรคไบโพลาร์ หรือโรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar) ที่ทาให้มีอาการซึมเศร้าหรืออารมณ์ดีสุดขีด (Mania) มีความเครียดความวิตกกังวลอย่างหนัก หรืออยู่ในภาวะซึมเศร้า อย่างรุนแรง 3.ความเจ็บป่วยทางร่างกาย เมื่อผู้ป่วยเจ็บป่วยด้วยโรคบางอย่าง อาจส่งผลให้เกิดอาการโรคจิตได้ เช่น พักผ่อนไม่เพียงพอ ภาวะน้าตาลในเลือดต่า โรคไข้จับสั่นหรือมาลาเรีย โรคอัลไซเมอร์ โรคพาร์กินสัน โรคพุ่มพวง หรือ โรคแพ้ภูมิตัวเอง โรคปลอกประสาทอักเสบ (Multiple Sclerosis) โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ซิฟิลิส การติดเชื้อเอชไอ วีและกลุ่มอาการเอดส์ มีเนื้องอกในสมอง เป็นต้น กรรมพันธุ์ บางทฤษฎีเชื่อว่าอาการโรคจิตมีแนวโน้มถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากรุ่นสู่รุ่นได้ ปัจจัยภายนอก การใช้ยาหรือการได้รับสารเคมีใด ๆ เข้าสู่ร่างกายในทางที่ผิด หรือในปริมาณที่เกินพอดี อาจส่งผลกระทบทาให้ เกิดอาการโรคจิตได้ เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ การเสพยาเสพติดอย่างโคเคน ยาบ้า (Amphetamine) ยาไอซ์ (Methamphetamine) ยาอี (MDMA: Ecstasy) ยาเค (Ketamine) หรือกัญชา เป็นต้น อีกกรณีหนึ่ง หากผู้ป่วยหยุดใช้สารดังกล่าวข้างต้นหลังจากใช้ติดต่อกันมาเป็นเวลานาน อาจทาให้เกิดอาการโรคจิตได้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในอาการถอนพิษยา นอกจากนี้ แม้เป็นกรณีที่พบได้น้อยมาก แต่ในบางครั้งอาการโรคจิตอาจเป็นผลข้างเคียงจากการใช้ยารักษาบางชนิด ได้ หรืออาจเกิดจากการใช้ยาเกินขนาดได้เช่นกัน
  • 5. 5 กลุ่มเสี่ยงที่จะป่วยเป็นโรคทางจิตเวช 1. คนที่มีประสบการณ์ถูกทาร้ายตอนเด็กๆ 2. คนที่ไม่ค่อยมีเพื่อนหรือครอบครัวมาคอยช่วยเหลือ 3. คนที่ชอบพึ่งพาคนอื่นมาโดยตลอด ไม่พยายามช่วยเหลือตนเอง 4. คนที่มีอาการทางจิตเวชเป็นทุนเดิม เช่น โรคซึมเศร้า โรคไบโพลาร์ โรควิตกกังวล 5. คนที่อายุน้อยไม่มีประสบการณ์ คนอายุมากที่มีปัญหาเรื่องการปรับตัว แนวทางการรักษา 1. ยอมรับตัวเอง ไม่ต้องกลัวการรักษาหรือคิดว่าตัวเองเป็นโรคจิตเวชร้ายแรง ไม่ว่าใครที่เคยเจอ เหตุการณ์ร้ายๆ ก็ต้องเครียดด้วยกันทั้งนั้น 2. ทาจิตบาบัดในเชิงพฤติกรรมบาบัด เช่น ให้เผชิญกับสิ่งที่หวาดกลัว เหตุการณ์ที่เคยหวาดกลัว ให้คนไข้ ได้ปรับตัว หาทางที่จะควบคุมอาการที่เกิดขึ้นได้ด้วยตัวเอง 3. ฝึกผ่อนคลายความเครียด เช่น การทาสมาธิ ฝึกลมหายใจ วิธีการเบี่ยงเบนความคิดเมื่อเราคิดหมกมุ่น 4. ทากลุ่มบาบัด โดยนาบุคคลที่เคยเจอเหตุการณ์คล้ายๆ กันมาพบกัน แล้วร่วมแชร์ความรู้สึก ประสบการณ์ เหมือนมีเพื่อนคอยรับฟังความคิดเห็นของเรา เพื่อให้เผชิญกับเหตุการณ์นั้นๆ ได้ดีขึ้น 5. รักษาด้วยยาตามจิตแพทย์สั่ง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. สร้างแบบสอบถาม เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจทาให้เป็นโรคทางจิตเวช 2. ดาเนินการสารวจโดยการใช้แบบสอบถาม ถามกลุ่มวัยรุ่นในหมู่บ้าน 3. เก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม 4. นาข้อมูลที่ได้มาประมวลผล 5. วิเคราะห์แบบสารวจพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคทางจิตเวช 6. นาข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ และสรุปเป็นสถิติ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. เอกสารแบบสอบถาม จานวน 20 แผ่น 2. คอมพิวเตอร์แบบพกพา 3. ปากกา 4. โทรศัพท์มือถือ 5. เครื่องคิดเลข งบประมาณ -ค่าปริ้นแบบสารวจ 20 บาท
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน ดาว,พิชชา พรรณ 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล ดาว,พิชชา พรรณ 3 จัดทาโครงร่างงาน ดาว,พิชชา พรรณ 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน ดาว,พิชชา พรรณ 5 ปรับปรุงทดสอบ ดาว,พิชชา พรรณ 6 การทา เอกสารรายงาน ดาว,พิชชา พรรณ 7 ประเมินผลงาน ดาว,พิชชา พรรณ 8 นาเสนอโครงงาน ดาว,พิชชา พรรณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. สามารถช่วยเหลือผู้ที่กาลังมีอาการป่วยได้ทัน 2. ช่วยลดจานวนผู้ป่วยลงได้ 3. ทาให้ผู้อ่านมีความรู้ผู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช 4. สามารถสังเกตตัวเองหรือคนรอบข้างได้ว่ามีอาการป่วยหรือไม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ - กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - สาเหตุอาการของโรคทางจิตเวช //สืบค้นเมื่อ 10 พ.ย. 2562 เว็บไซต์https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/5-%E0%B9 - การแก้ปัญหาและป้องก้นการเกิดโรคทางจิตเวช// สืบค้นเมื่อ 10 พ.ย. 2562 เว็บไซต์https://www.youtube.com/watch?v=lUbgNh9qmoI