SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา 3 ง3201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา2562
ชื่อโครงงาน
โรคหลายบุคลิก
Dissociative Identity Disorder
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว ปภาวรินท์มิตรานนท์
เลขที่ 45 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 1
1.นางสาว ปภาวรินท์ มิตรานนท์ เลขที่ 45
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
โรคหลายบุคลิก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Dissociative Identity Disorder
ประเภทโครงงาน
เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ปภาวรินท์มิตรานนท์
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
3
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
บุคลิกภาพคือลักษณะเฉพาะตัวเป็นผลรวมของภาพลักษณ์ทางกาย รูปร่าง หน้าตา การรับรู้ ความรู้สึก
นึกคิดสติปัญญา ความเชื่อ อารมณ์ อุปนิสัยใจคอหรือสันดาน และประสบการณ์ แต่ปัจจัยที่สาคัญที่สุดในกระบวนการก่อร่าง
สร้างบุคลิก คือการเรียนรู้จากกลุ่มสังคม โดยเฉพาะครอบครัวและเพื่อน เนื่องจากเป็น
สังคมกลุ่มแรกๆ ที่มีบทบาทกับตัวเราโดยตรงตั้งแต่วัยเด็ก ในทางจิตวิทยาและจิตเวชจึงมุ่งให้ความสนใจ
กับช่วงชีวิตวัยเด็กเป็นอย่างมาก เพราะเหตุการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงนี้ล้วนส่งผลต่อทิศทางการเติบโตเป็นผู้ใหญ่โดยเฉพาะ
ระบบความคิด และการแสดงออกทางพฤติกรรม ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของ
บุคลิกภาพ
บุคลิกภาพก็เหมือนกับหน้ากากที่เราเลือกหยิบขึ้นมา ภายในตัวเราทุกคนจึงมีกล่องที่ใช้เก็บหน้ากาก
เหล่านี้ไว้ซึ่งแต่ละคนมีจานวนหน้ากากไม่เท่ากัน แตกต่างกันไปตามประสบการณ์ชีวิต แต่ทุกคนมี
สติรู้ตัวเสมอว่าจะใช้หน้ากากอันไหน กับใคร เมื่อไหร่ต้องเปลี่ยน และเมื่อไหร่ที่เราสามารถถอด
หน้ากากออกได้
แนวคิดทั้งหมดนี้เกิดขึ้นมาจากการสร้างคา เพราะคาว่า personality มีรากศัพท์จากภาษากรีกคือ persona แปลว่า
mask หรือ หน้ากาก ซึ่งคนกรีกโบราณใช้สวมใส่เพื่อสร้างบทบาท เป็นคนดีร้าย ขณะออกแสดงละครบทเวที
แต่สาหรับบุคลิกภาพผิดปกติระดับป่วยเป็นโรคนั้นเกิดจากหลายสาเหตุทั้งระดับสารเคมีในร่างกาย เช่น
ฮอร์โมนบางชนิดที่มีปริมาณสูงต่ากว่าปกติหรืออาจเกี่ยวข้องกับความบกพร่องในพัฒนาการวัยเด็ก รวมทั้ง
ลักษณะการเลี้ยงดูที่ผิดแปลกจากผู้ใหญ่อย่างการถูกทารุณกรรมหรือการทาร้ายทั้งร่างกายและจิตใจ รวมถึง
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมบางอย่าง ซึ่งความผิดปกติของบุคลิกภาพจะเริ่มแสดงอาการตั้งแต่ก้าวเข้าสู่
ชีวิตวัยรุ่นหรือช่วงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ความผิดปกตินี้เกิดขึ้นได้ทั้งฉับพลันทันใด และค่อยเป็นค่อยไป หรืออาจ
เกิดขึ้นแบบชั่วคราว หรือเป็นอาการเรื้อรังก็ได้แล้วแต่กรณี
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคหลายบุคลิก
2. เพื่อให้แนวทางการรับมือกับคนที่เป็นโรคหลายบุคลิก
ขอบเขตโครงงาน
- โรคหลายบุคลิกคืออะไร
- โรคหลายบุคลิก เกิดจากอะไร
- โรคหลายบุคลิก เกิดกับใครได้บ้าง
- โรคหลายบุคลิก อาการเป็ นอย่างไร
- โรคหลายบุคลิกภาพ อันตรายไหม
- โรคหลายบุคลิก รักษาได้ไหม
- วิธีการปฏิบัติตัวต่อผู้ที่มีอาการหลายบุคลิก
4
หลักการและทฤษฎี
โรคหลายบุคลิก Dissociative Identity Disorder คืออะไร
โรคหลายบุคลิกจัดเป็นกลุ่มโรคทางจิตเวชชนิดหนึ่ง หรือเรียกได้ว่าเป็นภาวะความผิดปกติของพฤติกรรม แสดงออกอย่าง
หนึ่ง โดยมีลักษณะสูญเสียความเป็นตัวตน ความจาในอดีต การรับรู้ในเอกลักษณ์ และ
ประสาทสัมผัส รวมทั้งการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
กล่าวคือ ผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกจะเหมือนมีคนหลายคนในร่างคนคนเดียวกัน และผู้ป่วยอาจมีลักษณะ
นิสัย บุคลิกแต่ละบุคลิกแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกมักจะมี 2-4 บุคลิกภาพในคนคน
เดียวกัน แต่บางเคสก็มีมากกว่านั้น ซึ่งอาจมีได้มากถึง 150 บุคลิกภาพในคนคนเดียวกัน และแต่ละบุคลิกภาพก็มีความ
แตกต่างด้านมุมมอง เพศ นิสัยใจคอ การรับรู้ต่อสิ่งรอบตัว หรือแม้กระทั่ง
อาจมีความแตกต่างทางด้านศาสนาด้วย
ยกตัวอย่างให้เข้าใจง่ายขึ้นก็คือ ในผู้ป่วยโรคหลายบุคลิก อาจมีลักษณะนิสัยและการแสดงออกถึง 4 แบบ เช่น มี
นิสัยที่เป็นเด็ก มีนิสัยเงียบเฉย มีนิสัยก้าวร้าวรุนแรง และมีนิสัยเรียบร้อย หรืออาจจะมีนิสัยที่แตกต่างไปมากกว่านี้ก็
เป็นได้ซึ่งในช่วงที่ผู้ป่วยกลายเป็นอีกคน ตัวผู้ป่วยเองนั้นก็จะไม่รู้ตัว ไม่สามารถควบคุมตัวเองและการแสดง
พฤติกรรมบางอย่างได้รวมทั้งไม่ทราบว่าช่วงเวลาไหนนิสัยไหนจะแสดงพฤติกรรมออกมาด้วย
โรคหลายบุคลิก เกิดจากอะไร
ตามหลักจิตวิทยาระบุว่า สาเหตุของโรคหลายบุคลิกอาจเกิดจากความทรงจาที่เลวร้ายในวัยเด็ก (โดยมากเป็นการ
ทารุณกรรมทางเพศ) อาจจะเป็นความกดดันจากการถูกข่มเหงรังแกหรือโดนทาร้ายจิตใจและร่างกายตั้งแต่แรกเกิด
จนกระทั่งก่อนอายุ 9 ขวบ ซึ่งในช่วงอายุดังกล่าวเด็กยังไม่มีประสบการณ์มากพอที่จะจัดการความรู้สึกแย่ ๆ เหล่านั้น
จึงอาจสร้างอีกหนึ่งบุคลิกหรืออีกหนึ่งบุคคลขึ้นมาเพื่อหลบเลี่ยงความเจ็บปวดที่ได้รับ
5
โรคหลายบุคลิก เกิดกับใครได้บ้าง
อย่างที่บอกว่าสาเหตุของโรคหลายบุคลิกมักจะเกิดกับความรุนแรงที่ได้รับในวัยเด็กจนทาให้ต้องจินตนาการ
สร้างอีกคนขึ้นมาในชีวิต ซึ่งจากสถิติแล้วพบว่า อาการจะเริ่มแสดงออกในช่วงอายุ 21-30 ปี และโดยปกติจะพบ
โรคหลายบุคลิกได้บ่อยในประเทศที่กาลังพัฒนา และประเทศตะวันตกมากกว่าในบ้านเรา ทั้งนี้อัตราการเกิดโรค
หลายบุคลิกยังจัดว่าน้อยมาก เพียง 0.01% ของประชากรทั่วไปเท่านั้นเอง
โรคหลายบุคลิก อาการเป็นอย่างไร
อาการของผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกจะสามารถสังเกตได้จากลักษณะต่อไปนี้
- มีหลายบุคลิกในคนเดียวกัน ซึ่งแต่ละบุคลิกนั้นดูแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
- เมื่อเปลี่ยนเป็นอีกคนแล้ว จะเปลี่ยนไปทั้งความรู้สึกนึกคิด พฤติกรรมการพูดจา ตรรกะความคิด ความทรงจา
การเรียนรู้และเข้าใจ การปฏิบัติตัวต่อสิ่งรอบข้าง รวมทั้งสูญเสียการควบคุมตนเอง
- ผู้ป่วยมักสูญเสียความทรงจาในระหว่างที่เปลี่ยนไปเป็นอีกบุคลิก ไม่รู้ตัวว่าทาอะไรลงไปบ้าง จาไม่ได้ว่าติดต่อกับใคร
จาไม่ได้ว่าไปไหน เรียกว่าจาเหตุการณ์อะไรไม่ได้เลย จึงมักจะมีอาการหลงๆลืมๆ อยู่เสมอ
- ช่วงเวลาเปลี่ยนบุคลิกอาจเกิดขึ้นตอนไหนก็ได้และอาจเกิดขึ้นเพียงนาที ชั่วโมง หรืออาจเป็นวันๆ
6
โรคหลายบุคลิกภาพ อันตรายไหม
โรคหลายบุคลิกอันตรายไหม คาถามนี้ค่อนข้างตอบยาก เพราะในช่วงที่เปลี่ยนบุคลิก ผู้ป่วยจะไม่รู้สึกตัวว่าจะคิด
จะทาอะไรลงไปได้บ้าง โดยอาจจะแค่พูดเยอะขึ้น เงียบขรึมลง หรืออาจมีอาการก้าวร้าวจนสามารถทาร้ายตัวเองและ
ผู้อื่นได้โดยไม่มีความรู้สึกผิดบาปในใจ ดังนั้นในช่วงที่ไม่มีความทรงจาในระหว่างที่เปลี่ยนบุคลิกนั้น ก็ถือว่าเป็นช่วง
ที่มีความเสี่ยงสูงมาก จัดว่าอันตรายทั้งต่อตัวเองและคนรอบข้าง
โรคหลายบุคลิก รักษาได้ไหม
โรคหลายบุคลิกสามารถรักษาได้ด้วยวิธีทางจิตวิทยา โดยเริ่มแรกจิตแพทย์อาจจาแนกบุคลิกทั้งหมดที่ซ่อนอยู่ใน
ตัวคนไข้ออกมา และพยายามหาตัวตนที่แท้จริงเพียงหนึ่งเดียวของคนไข้ให้ได้ซึ่งในกระบวนการนี้จิตแพทย์อาจ
เลือกใช้วิธีปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม Cognitive ( and Creative Therapies ) และใช้ยาในกลุ่มต้านเศร้า และ ยา
คลายกังวลร่วมด้วย ทั้งนี้ในการรักษาโรคหลายบุคลิก อาจต้องใช้เวลารักษายาวนานและตัวผู้ป่วยเองก็ควรต้อง ได้รับ
การรักษาอย่างต่อเนื่องด้วย
วิธีการปฏิบัติตัวต่อผู้ที่มีอาการหลายบุคลิก
ทาความเข้าใจกับโรคหลายบุคลิก
รู้ถึงอาการของโรค โรคหลายบุคลิกมีลักษณะเป็นการปรากฏขึ้นของบุคลิกอื่นในจิตใจ มักจะเรียกว่าบุคลิกใหม่
(Alter) บุคลิกเหล่านี้มักมีลักษณะซับซ้อน กล่าวคือ มีลักษณะเด่น ประวัติ อุปนิสัยและพฤติกรรมเป็นของตัวเอง
ยกตัวอย่างเช่น ผู้ใหญ่อาจจะมีบุคลิกใหม่ที่เป็นเด็ก คุณอาจจะสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงของเสียง การ
เคลื่อนไหวร่างกาย นอกจากนี้ยังพบการเปลี่ยนแปลงทางทัศนคติหรือแม้แต่ความชอบส่วนบุคคล เนื่องจากการ
ปรากฏตัวของบุคลิกใหม่ที่มีลักษณะแตกต่างจากคนเดิม คนที่เป็นโรคอาจจะสูญเสียความทรงจาหรือประสาท
สัมผัสในช่วงเวลาที่บุคลิกเปลี่ยนไป พวกเขาจะไม่รู้ตัวว่ามีบุคลิกใหม่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงจากคนเดิมไปเป็น
บุคลิกใหม่นั้นถูกเรียกว่า "การสับเปลี่ยนบุคลิก" หรือ "Switching" ผู้ที่เป็นโรคหลายบุคลิกนั้นอาจจะเคยประสบกับ
ภาวะเครียด ซึมเศร้า หรือเคยมีอาการทาร้ายตนเอง นอนไม่หลับ เสพติดยาและแอลกอฮอล์ความรุนแรงของอาการ
นั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ตั้งข้อสงสัยกับการตัดสินใจของคุณ คนที่พบเจอกับอาการผิดปกติทางจิตมักจะ
ไม่ไปหาวิธีรักษาเพราะมีบาดแผลในจิตใจเป็นเกี่ยวข้องกับการป่วย ส่วนของพวกเขา โรคหลายบุคลิกก็เกิดจากบาดแผล
ในจิตใจเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม โรคหลายบุคลิกยังไม่ได้รับ ยอมรับในฐานะเป็นอาการผิดปกติทางจิตแม้ว่าจะอยู่ใน
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคทางจิตเวชที่เรียกว่า DSM-5 (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders) ที่เป็นตัว
ชี้วัดการเป็นโรคทางจิตแล้วก็ตาม ดังนั้น หลีกเลี่ยงการทาให้ผู้ที่มีอาการผิดปกติรู้สึกผิดและอับอาย เรียนรู้ถึงความยาก
ลาบากในการจัดการกับปฏิกิริยาของผู้อื่น ซึ่งจะช่วยให้คุณเข้าใจความซับซ้อนในการใช้ร่วมกับคนที่มีอาการผิดปกติ
ทางจิต
7
ถามคาถาม
ถ้าคุณคุ้นเคยกับเขาๆ นั้นเป็นเพื่อนหรือคนในครอบครัวหรือไม่ ลองถามเรื่องราวของเขาดูเพื่อแสดงให้เห็นว่า
คุณห่วงเขา หากคุณไม่รู้จักหรือสนิทกับเขา การถามคาถามเหล่านี้จะพวกเขาอาจจะรู้สึกอึดอัด ดังนั้น อย่าไป
พยายามที่จะรู้เรื่องของเขาถ้าคุณยังไม่สนิทกับเขาเพียงพอ
ถามความรู้สึกทั้งช่วงก่อนและหลัง “การสับเปลี่ยนบุคลิก” เพื่อให้เข้าใจเรื่องราวในตัวเขามากยิ่งขึ้น
แสดงถึงความเห็นอกเห็นใจโดยการเรียนรู้ว่า ความกลัว ความสับสน และความท้อแท้ที่เขาได้รับจากประสบการณ์
นั้นๆ เป็นอย่างไร
ให้การสนับสนุนกับคนที่มีอาการหลายบุคลิก
อยู่กับเขาความรู้สึกผิดและบาดแผลในจิตใจมักจะทาให้คนที่มีความผิดปกติทางจิตนั้นรู้สึกว่าตัวเองแปลกแยกจาก
สังคม คุณสามารถช่วยคนเหล่านี้ให้มีความสัมพันธ์ที่ดีได้โดยการอยู่กับเขา คุณไม่จาเป็นต้องปรึกษาหรือพูดคุย
เกี่ยวกับโรคหลายบุคลิก จริงๆ แล้วนั้น การไม่ต้องพูดถึงเรื่องอาการผิดปกติเลยจะเป็นสิ่งที่ดีกว่า การเข้าหาเขาอย่าง
คนปกติจะช่วยให้พวกเขารู้สึกปกติ ลองจัดทาตารางเวลาเพื่อพบกันทุกๆ สัปดาห์เพื่อให้แน่ใจว่าคุณยังคงติดต่อ
กับเขาอยู่อย่างสม่าเสมอ หากิจกรรมที่คุณสามารถทาร่วมกับเขาเพื่อให้การพูดคุย นั้นมุ่งไปที่เรื่องอื่นมากกว่าเรื่อง
โรคหลายบุคลิก
เข้าร่วมการรักษาแบบกลุ่ม
การรักษาแบบกลุ่ม Support( group) เป็นวิธีที่ดีมากที่จะหาเพื่อนที่มีประสบการณ์คล้ายๆกัน แนะนาให้คุณไป
เข้าร่วมการรักษาแบบกลุ่มกับเขาด้วยเพื่อแสดงการสนับสนุน โรคหลายบุคลิกนั้นเป็นโรคที่หาได้ยาก ดังนั้นการหา
การรักษาแบบกลุ่มที่เฉพาะกับโรคนั้นอาจเป็นไปได้ยากในแถบชุมชนของคุณ ตามเมืองใหญ่ๆ อาจจะมีกลุ่มที่สร้าง
มาเฉพาะสาหรับคนที่เป็นโรคหลายบุคลิก แต่ในเมืองเล็กๆนั้น คุณอาจจะต้องหาการรักษาแบบกลุ่มที่สร้างมาเพื่อคน
ที่มีอาการจิตผิดปกติโดยรวม ถ้าคุณไม่สามารถหาการรักษาแบบกลุ่มในแถบชุมชนของคุณได้ลองพิจารณาการเข้าร่วม
การรักษาแบบกลุ่มทางอินเทอร์เน็ต
เป็นผู้สนับสนุน
แสดงให้เขาเห็นว่าคุณดูแลและต้องการที่จะสนับสนุนเขาโดยการเข้าร่วมการรักษาแบบกลุ่มกับเขา ซึ่งเป็น
จะคอยให้ความรู้และโอกาสให้คุณรู้สึกว่าสามารถช่วยเหลือพวกเขาได้ ส่งเสริมให้เขาเข้ารับการรักษาแบบกลุ่ม การเข้าร่วม
การรักษาอาจจะช่วยให้เขาเข้าใจประสบการณ์ทางสังคมได้ดีขึ้น และอาจจะช่วยให้เอาชนะบาดแผลในจิตใจก็เป็นได้
จัดการกับการสับเปลี่ยนบุคลิก
ช่วยเหลือคนที่มีอาการหลายบุคลิกในการหลีกเลี่ยงตัวกระตุ้น การบาดเจ็บเป็นตัวสั่งงานในกลุ่มคนที่เป็นโรค
หลายบุคลิก และการแยกตัวออกนั้นมักจะเกี่ยวข้องกับอารมณ์เครียดที่รุนแรง หรือก็คือ อารมณ์เครียดเป็น
8
ตัวกระตุ้นให้เกิด “การสับเปลี่ยนบุคลิก” ดังนั้น วิธีที่จะช่วยเหลือคนที่มีอาการหลายบุคลิกในการหลีกเลี่ยงการ สับเปลี่ยนก็
คือการช่วยให้พวกเขารับรู้และจัดการกับความเครียดให้ได้ ถ้าคุณพบเจอเหตุการณ์ที่กาลังจะทาให้อารมณ์ครุกครุ่น ให้กลบ
เกลื่อนโดยการเปลี่ยนหัวข้อสนทนา หรือขอให้เขาทากิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้น ยาเสพติดและแอลกอฮอล์อาจจะเป็
นตัวกระตุ้น “การสับเปลี่ยนบุคลิก” ดังนั้น อย่าแนะนาให้เขาใช้เด็ดขาด
แนะนาตัวเอง
ถ้าคุณพบเจอกับบุคลิกใหม่ที่สับเปลี่ยน เขาอาจจะไม่รู้จักคุณ ถ้าเขาไม่รู้จักคุณ เขาอาจจะสับสนและหวาดกลัว ดังนั้น
ช่วยให้เขารู้สึกดีขึ้นโดยการแนะนาตัวเอง และอธิบายว่าคุณรู้จักเขาได้อย่างไร ถ้าคนที่มีอาการหลายบุคลิกนั้นเป็นคู่
สมรสของคุณ คุณอาจจะต้องหลีกเลี่ยงการแนะนาตัวว่าเป็นสามีหรือภรรยา กับบุคลิกใหม่ ยกตัวอย่างเช่น บุคลิกใหม่
ที่เป็นเด็กอาจจะตอบรับแบบสับสน และบุคลิกใหม่ที่เป็นเพศตรงข้ามจากคนเดิมอาจจะอารมณ์เสียโดยการอนุมาน
ถึงอัตลักษณ์ทางเพศของคุณ
ส่งเสริมให้เขาปฏิบัติตามการรักษา
การรักษาอาการหลายบุคลิกนั้นโดยทั่วไปจะเป็นการให้ค่าปรึกษาและเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิต คนที่เจอกับภาวะ
ซึมเศร้า และ/หรือ ความวิตกอาจจะต้องรักษาโดยการสั่งยา การรักษาจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเพื่อให้เกิด
ผลลัพธ์ที่ดีดังนั้น สนับสนุนเขาให้พยายามปฏิบัติตาม ให้กาลังใจเขาในการเข้ารับการปรึกษาด้วยการไปรับ
คาปรึกษาพร้อมกับเขา
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตนั้นก็จะมีการทานอาหารที่มีประโยชน์การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และ
การงดใช้ยาเสพติดและแอลกอฮอล์ คุณอาจจะกระตุ้นเขาให้มีความแน่วแน่ในการเปลี่ยนแปลงโดยการนามาใช้
ตัวเอง อย่างน้อยก็ตอนที่อยู่กับคนที่เราอยากให้ทาตาม แนะนาให้ตั้งเวลาเพื่อเตือนเขาให้ทานยาตามที่สั่งไว้
ถ้าเขาไม่ยอมปฏิบัติตามหรือกาลังคิดว่าจะไม่ปฏิบัติตาม แนะนาให้เขาไปปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับทางเลือก
รักษาอื่นๆ
เคล็ดลับ
สุขภาพทางกายนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับสุขภาพทางจิต ดังนั้น แนะนาให้เขาทานอาหารที่มีประโยชน์และออกกาลัง
กายอย่างสม่าเสมอ
คาเตือน
การหยุดทานยาทันทีนั้นอาจจะเป็นอันตรายได้แนะนาให้คนที่คิดจะหยุดทานยาให้ไปปรึกษาแพทย์ก่อน ถ้าคุณ
กังวลว่าเขาจะทาร้ายตัวเองหรือผู้อื่น ให้ขอความช่วยเหลือทันที ยาเสพติดและแอลกอฮอล์จะไปเพิ่มความถี่และ
ความรุนแรงของอาการหลายบุคลิก ดังนั้น หลีกเลี่ยงของเหล่านี้
9
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. เลือกหัวข้อ
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3. รวบรวมข้อมูล
4. จัดทารายงาน
5. ปรับปรุงและแก้ไข
6. นาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. อินเตอร์เน็ต
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ได้ความรู้เพิ่มเติมจากงานที่ทา
- ให้ความรู้กับผู้ที่สนใจ
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
- กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- กลุ่มสาระการเรียนรู้จิตวิทยา
10
แหล่งอ้างอิง
https://www.sanook.com/health/6133/
https://health.kapook.com/view175785.html
https://th.wikihow.com/%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%
E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B9%8
8%E0%B8%AD%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9
%88%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0
%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%B
8%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%81

More Related Content

What's hot

2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4sinekkn
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project asirwa04
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานssuseraff7e6
 

What's hot (18)

Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Boonyisa612
Boonyisa612Boonyisa612
Boonyisa612
 

Similar to Com final2

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ pimrapat_55
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanokpimchanokSirichaisop
 
2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37 chadaa
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานwaew jittranut
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610ssuser015151
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thansuda07
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 

Similar to Com final2 (20)

W.1
W.1W.1
W.1
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
The effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivationThe effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivation
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
AT1
AT1AT1
AT1
 

Com final2

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 3 ง3201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา2562 ชื่อโครงงาน โรคหลายบุคลิก Dissociative Identity Disorder ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว ปภาวรินท์มิตรานนท์ เลขที่ 45 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 1.นางสาว ปภาวรินท์ มิตรานนท์ เลขที่ 45 ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) โรคหลายบุคลิก ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Dissociative Identity Disorder ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ปภาวรินท์มิตรานนท์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
  • 3. 3 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน บุคลิกภาพคือลักษณะเฉพาะตัวเป็นผลรวมของภาพลักษณ์ทางกาย รูปร่าง หน้าตา การรับรู้ ความรู้สึก นึกคิดสติปัญญา ความเชื่อ อารมณ์ อุปนิสัยใจคอหรือสันดาน และประสบการณ์ แต่ปัจจัยที่สาคัญที่สุดในกระบวนการก่อร่าง สร้างบุคลิก คือการเรียนรู้จากกลุ่มสังคม โดยเฉพาะครอบครัวและเพื่อน เนื่องจากเป็น สังคมกลุ่มแรกๆ ที่มีบทบาทกับตัวเราโดยตรงตั้งแต่วัยเด็ก ในทางจิตวิทยาและจิตเวชจึงมุ่งให้ความสนใจ กับช่วงชีวิตวัยเด็กเป็นอย่างมาก เพราะเหตุการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงนี้ล้วนส่งผลต่อทิศทางการเติบโตเป็นผู้ใหญ่โดยเฉพาะ ระบบความคิด และการแสดงออกทางพฤติกรรม ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของ บุคลิกภาพ บุคลิกภาพก็เหมือนกับหน้ากากที่เราเลือกหยิบขึ้นมา ภายในตัวเราทุกคนจึงมีกล่องที่ใช้เก็บหน้ากาก เหล่านี้ไว้ซึ่งแต่ละคนมีจานวนหน้ากากไม่เท่ากัน แตกต่างกันไปตามประสบการณ์ชีวิต แต่ทุกคนมี สติรู้ตัวเสมอว่าจะใช้หน้ากากอันไหน กับใคร เมื่อไหร่ต้องเปลี่ยน และเมื่อไหร่ที่เราสามารถถอด หน้ากากออกได้ แนวคิดทั้งหมดนี้เกิดขึ้นมาจากการสร้างคา เพราะคาว่า personality มีรากศัพท์จากภาษากรีกคือ persona แปลว่า mask หรือ หน้ากาก ซึ่งคนกรีกโบราณใช้สวมใส่เพื่อสร้างบทบาท เป็นคนดีร้าย ขณะออกแสดงละครบทเวที แต่สาหรับบุคลิกภาพผิดปกติระดับป่วยเป็นโรคนั้นเกิดจากหลายสาเหตุทั้งระดับสารเคมีในร่างกาย เช่น ฮอร์โมนบางชนิดที่มีปริมาณสูงต่ากว่าปกติหรืออาจเกี่ยวข้องกับความบกพร่องในพัฒนาการวัยเด็ก รวมทั้ง ลักษณะการเลี้ยงดูที่ผิดแปลกจากผู้ใหญ่อย่างการถูกทารุณกรรมหรือการทาร้ายทั้งร่างกายและจิตใจ รวมถึง อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมบางอย่าง ซึ่งความผิดปกติของบุคลิกภาพจะเริ่มแสดงอาการตั้งแต่ก้าวเข้าสู่ ชีวิตวัยรุ่นหรือช่วงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ความผิดปกตินี้เกิดขึ้นได้ทั้งฉับพลันทันใด และค่อยเป็นค่อยไป หรืออาจ เกิดขึ้นแบบชั่วคราว หรือเป็นอาการเรื้อรังก็ได้แล้วแต่กรณี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคหลายบุคลิก 2. เพื่อให้แนวทางการรับมือกับคนที่เป็นโรคหลายบุคลิก ขอบเขตโครงงาน - โรคหลายบุคลิกคืออะไร - โรคหลายบุคลิก เกิดจากอะไร - โรคหลายบุคลิก เกิดกับใครได้บ้าง - โรคหลายบุคลิก อาการเป็ นอย่างไร - โรคหลายบุคลิกภาพ อันตรายไหม - โรคหลายบุคลิก รักษาได้ไหม - วิธีการปฏิบัติตัวต่อผู้ที่มีอาการหลายบุคลิก
  • 4. 4 หลักการและทฤษฎี โรคหลายบุคลิก Dissociative Identity Disorder คืออะไร โรคหลายบุคลิกจัดเป็นกลุ่มโรคทางจิตเวชชนิดหนึ่ง หรือเรียกได้ว่าเป็นภาวะความผิดปกติของพฤติกรรม แสดงออกอย่าง หนึ่ง โดยมีลักษณะสูญเสียความเป็นตัวตน ความจาในอดีต การรับรู้ในเอกลักษณ์ และ ประสาทสัมผัส รวมทั้งการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย กล่าวคือ ผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกจะเหมือนมีคนหลายคนในร่างคนคนเดียวกัน และผู้ป่วยอาจมีลักษณะ นิสัย บุคลิกแต่ละบุคลิกแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกมักจะมี 2-4 บุคลิกภาพในคนคน เดียวกัน แต่บางเคสก็มีมากกว่านั้น ซึ่งอาจมีได้มากถึง 150 บุคลิกภาพในคนคนเดียวกัน และแต่ละบุคลิกภาพก็มีความ แตกต่างด้านมุมมอง เพศ นิสัยใจคอ การรับรู้ต่อสิ่งรอบตัว หรือแม้กระทั่ง อาจมีความแตกต่างทางด้านศาสนาด้วย ยกตัวอย่างให้เข้าใจง่ายขึ้นก็คือ ในผู้ป่วยโรคหลายบุคลิก อาจมีลักษณะนิสัยและการแสดงออกถึง 4 แบบ เช่น มี นิสัยที่เป็นเด็ก มีนิสัยเงียบเฉย มีนิสัยก้าวร้าวรุนแรง และมีนิสัยเรียบร้อย หรืออาจจะมีนิสัยที่แตกต่างไปมากกว่านี้ก็ เป็นได้ซึ่งในช่วงที่ผู้ป่วยกลายเป็นอีกคน ตัวผู้ป่วยเองนั้นก็จะไม่รู้ตัว ไม่สามารถควบคุมตัวเองและการแสดง พฤติกรรมบางอย่างได้รวมทั้งไม่ทราบว่าช่วงเวลาไหนนิสัยไหนจะแสดงพฤติกรรมออกมาด้วย โรคหลายบุคลิก เกิดจากอะไร ตามหลักจิตวิทยาระบุว่า สาเหตุของโรคหลายบุคลิกอาจเกิดจากความทรงจาที่เลวร้ายในวัยเด็ก (โดยมากเป็นการ ทารุณกรรมทางเพศ) อาจจะเป็นความกดดันจากการถูกข่มเหงรังแกหรือโดนทาร้ายจิตใจและร่างกายตั้งแต่แรกเกิด จนกระทั่งก่อนอายุ 9 ขวบ ซึ่งในช่วงอายุดังกล่าวเด็กยังไม่มีประสบการณ์มากพอที่จะจัดการความรู้สึกแย่ ๆ เหล่านั้น จึงอาจสร้างอีกหนึ่งบุคลิกหรืออีกหนึ่งบุคคลขึ้นมาเพื่อหลบเลี่ยงความเจ็บปวดที่ได้รับ
  • 5. 5 โรคหลายบุคลิก เกิดกับใครได้บ้าง อย่างที่บอกว่าสาเหตุของโรคหลายบุคลิกมักจะเกิดกับความรุนแรงที่ได้รับในวัยเด็กจนทาให้ต้องจินตนาการ สร้างอีกคนขึ้นมาในชีวิต ซึ่งจากสถิติแล้วพบว่า อาการจะเริ่มแสดงออกในช่วงอายุ 21-30 ปี และโดยปกติจะพบ โรคหลายบุคลิกได้บ่อยในประเทศที่กาลังพัฒนา และประเทศตะวันตกมากกว่าในบ้านเรา ทั้งนี้อัตราการเกิดโรค หลายบุคลิกยังจัดว่าน้อยมาก เพียง 0.01% ของประชากรทั่วไปเท่านั้นเอง โรคหลายบุคลิก อาการเป็นอย่างไร อาการของผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกจะสามารถสังเกตได้จากลักษณะต่อไปนี้ - มีหลายบุคลิกในคนเดียวกัน ซึ่งแต่ละบุคลิกนั้นดูแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง - เมื่อเปลี่ยนเป็นอีกคนแล้ว จะเปลี่ยนไปทั้งความรู้สึกนึกคิด พฤติกรรมการพูดจา ตรรกะความคิด ความทรงจา การเรียนรู้และเข้าใจ การปฏิบัติตัวต่อสิ่งรอบข้าง รวมทั้งสูญเสียการควบคุมตนเอง - ผู้ป่วยมักสูญเสียความทรงจาในระหว่างที่เปลี่ยนไปเป็นอีกบุคลิก ไม่รู้ตัวว่าทาอะไรลงไปบ้าง จาไม่ได้ว่าติดต่อกับใคร จาไม่ได้ว่าไปไหน เรียกว่าจาเหตุการณ์อะไรไม่ได้เลย จึงมักจะมีอาการหลงๆลืมๆ อยู่เสมอ - ช่วงเวลาเปลี่ยนบุคลิกอาจเกิดขึ้นตอนไหนก็ได้และอาจเกิดขึ้นเพียงนาที ชั่วโมง หรืออาจเป็นวันๆ
  • 6. 6 โรคหลายบุคลิกภาพ อันตรายไหม โรคหลายบุคลิกอันตรายไหม คาถามนี้ค่อนข้างตอบยาก เพราะในช่วงที่เปลี่ยนบุคลิก ผู้ป่วยจะไม่รู้สึกตัวว่าจะคิด จะทาอะไรลงไปได้บ้าง โดยอาจจะแค่พูดเยอะขึ้น เงียบขรึมลง หรืออาจมีอาการก้าวร้าวจนสามารถทาร้ายตัวเองและ ผู้อื่นได้โดยไม่มีความรู้สึกผิดบาปในใจ ดังนั้นในช่วงที่ไม่มีความทรงจาในระหว่างที่เปลี่ยนบุคลิกนั้น ก็ถือว่าเป็นช่วง ที่มีความเสี่ยงสูงมาก จัดว่าอันตรายทั้งต่อตัวเองและคนรอบข้าง โรคหลายบุคลิก รักษาได้ไหม โรคหลายบุคลิกสามารถรักษาได้ด้วยวิธีทางจิตวิทยา โดยเริ่มแรกจิตแพทย์อาจจาแนกบุคลิกทั้งหมดที่ซ่อนอยู่ใน ตัวคนไข้ออกมา และพยายามหาตัวตนที่แท้จริงเพียงหนึ่งเดียวของคนไข้ให้ได้ซึ่งในกระบวนการนี้จิตแพทย์อาจ เลือกใช้วิธีปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม Cognitive ( and Creative Therapies ) และใช้ยาในกลุ่มต้านเศร้า และ ยา คลายกังวลร่วมด้วย ทั้งนี้ในการรักษาโรคหลายบุคลิก อาจต้องใช้เวลารักษายาวนานและตัวผู้ป่วยเองก็ควรต้อง ได้รับ การรักษาอย่างต่อเนื่องด้วย วิธีการปฏิบัติตัวต่อผู้ที่มีอาการหลายบุคลิก ทาความเข้าใจกับโรคหลายบุคลิก รู้ถึงอาการของโรค โรคหลายบุคลิกมีลักษณะเป็นการปรากฏขึ้นของบุคลิกอื่นในจิตใจ มักจะเรียกว่าบุคลิกใหม่ (Alter) บุคลิกเหล่านี้มักมีลักษณะซับซ้อน กล่าวคือ มีลักษณะเด่น ประวัติ อุปนิสัยและพฤติกรรมเป็นของตัวเอง ยกตัวอย่างเช่น ผู้ใหญ่อาจจะมีบุคลิกใหม่ที่เป็นเด็ก คุณอาจจะสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงของเสียง การ เคลื่อนไหวร่างกาย นอกจากนี้ยังพบการเปลี่ยนแปลงทางทัศนคติหรือแม้แต่ความชอบส่วนบุคคล เนื่องจากการ ปรากฏตัวของบุคลิกใหม่ที่มีลักษณะแตกต่างจากคนเดิม คนที่เป็นโรคอาจจะสูญเสียความทรงจาหรือประสาท สัมผัสในช่วงเวลาที่บุคลิกเปลี่ยนไป พวกเขาจะไม่รู้ตัวว่ามีบุคลิกใหม่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงจากคนเดิมไปเป็น บุคลิกใหม่นั้นถูกเรียกว่า "การสับเปลี่ยนบุคลิก" หรือ "Switching" ผู้ที่เป็นโรคหลายบุคลิกนั้นอาจจะเคยประสบกับ ภาวะเครียด ซึมเศร้า หรือเคยมีอาการทาร้ายตนเอง นอนไม่หลับ เสพติดยาและแอลกอฮอล์ความรุนแรงของอาการ นั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ตั้งข้อสงสัยกับการตัดสินใจของคุณ คนที่พบเจอกับอาการผิดปกติทางจิตมักจะ ไม่ไปหาวิธีรักษาเพราะมีบาดแผลในจิตใจเป็นเกี่ยวข้องกับการป่วย ส่วนของพวกเขา โรคหลายบุคลิกก็เกิดจากบาดแผล ในจิตใจเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม โรคหลายบุคลิกยังไม่ได้รับ ยอมรับในฐานะเป็นอาการผิดปกติทางจิตแม้ว่าจะอยู่ใน เกณฑ์การวินิจฉัยโรคทางจิตเวชที่เรียกว่า DSM-5 (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders) ที่เป็นตัว ชี้วัดการเป็นโรคทางจิตแล้วก็ตาม ดังนั้น หลีกเลี่ยงการทาให้ผู้ที่มีอาการผิดปกติรู้สึกผิดและอับอาย เรียนรู้ถึงความยาก ลาบากในการจัดการกับปฏิกิริยาของผู้อื่น ซึ่งจะช่วยให้คุณเข้าใจความซับซ้อนในการใช้ร่วมกับคนที่มีอาการผิดปกติ ทางจิต
  • 7. 7 ถามคาถาม ถ้าคุณคุ้นเคยกับเขาๆ นั้นเป็นเพื่อนหรือคนในครอบครัวหรือไม่ ลองถามเรื่องราวของเขาดูเพื่อแสดงให้เห็นว่า คุณห่วงเขา หากคุณไม่รู้จักหรือสนิทกับเขา การถามคาถามเหล่านี้จะพวกเขาอาจจะรู้สึกอึดอัด ดังนั้น อย่าไป พยายามที่จะรู้เรื่องของเขาถ้าคุณยังไม่สนิทกับเขาเพียงพอ ถามความรู้สึกทั้งช่วงก่อนและหลัง “การสับเปลี่ยนบุคลิก” เพื่อให้เข้าใจเรื่องราวในตัวเขามากยิ่งขึ้น แสดงถึงความเห็นอกเห็นใจโดยการเรียนรู้ว่า ความกลัว ความสับสน และความท้อแท้ที่เขาได้รับจากประสบการณ์ นั้นๆ เป็นอย่างไร ให้การสนับสนุนกับคนที่มีอาการหลายบุคลิก อยู่กับเขาความรู้สึกผิดและบาดแผลในจิตใจมักจะทาให้คนที่มีความผิดปกติทางจิตนั้นรู้สึกว่าตัวเองแปลกแยกจาก สังคม คุณสามารถช่วยคนเหล่านี้ให้มีความสัมพันธ์ที่ดีได้โดยการอยู่กับเขา คุณไม่จาเป็นต้องปรึกษาหรือพูดคุย เกี่ยวกับโรคหลายบุคลิก จริงๆ แล้วนั้น การไม่ต้องพูดถึงเรื่องอาการผิดปกติเลยจะเป็นสิ่งที่ดีกว่า การเข้าหาเขาอย่าง คนปกติจะช่วยให้พวกเขารู้สึกปกติ ลองจัดทาตารางเวลาเพื่อพบกันทุกๆ สัปดาห์เพื่อให้แน่ใจว่าคุณยังคงติดต่อ กับเขาอยู่อย่างสม่าเสมอ หากิจกรรมที่คุณสามารถทาร่วมกับเขาเพื่อให้การพูดคุย นั้นมุ่งไปที่เรื่องอื่นมากกว่าเรื่อง โรคหลายบุคลิก เข้าร่วมการรักษาแบบกลุ่ม การรักษาแบบกลุ่ม Support( group) เป็นวิธีที่ดีมากที่จะหาเพื่อนที่มีประสบการณ์คล้ายๆกัน แนะนาให้คุณไป เข้าร่วมการรักษาแบบกลุ่มกับเขาด้วยเพื่อแสดงการสนับสนุน โรคหลายบุคลิกนั้นเป็นโรคที่หาได้ยาก ดังนั้นการหา การรักษาแบบกลุ่มที่เฉพาะกับโรคนั้นอาจเป็นไปได้ยากในแถบชุมชนของคุณ ตามเมืองใหญ่ๆ อาจจะมีกลุ่มที่สร้าง มาเฉพาะสาหรับคนที่เป็นโรคหลายบุคลิก แต่ในเมืองเล็กๆนั้น คุณอาจจะต้องหาการรักษาแบบกลุ่มที่สร้างมาเพื่อคน ที่มีอาการจิตผิดปกติโดยรวม ถ้าคุณไม่สามารถหาการรักษาแบบกลุ่มในแถบชุมชนของคุณได้ลองพิจารณาการเข้าร่วม การรักษาแบบกลุ่มทางอินเทอร์เน็ต เป็นผู้สนับสนุน แสดงให้เขาเห็นว่าคุณดูแลและต้องการที่จะสนับสนุนเขาโดยการเข้าร่วมการรักษาแบบกลุ่มกับเขา ซึ่งเป็น จะคอยให้ความรู้และโอกาสให้คุณรู้สึกว่าสามารถช่วยเหลือพวกเขาได้ ส่งเสริมให้เขาเข้ารับการรักษาแบบกลุ่ม การเข้าร่วม การรักษาอาจจะช่วยให้เขาเข้าใจประสบการณ์ทางสังคมได้ดีขึ้น และอาจจะช่วยให้เอาชนะบาดแผลในจิตใจก็เป็นได้ จัดการกับการสับเปลี่ยนบุคลิก ช่วยเหลือคนที่มีอาการหลายบุคลิกในการหลีกเลี่ยงตัวกระตุ้น การบาดเจ็บเป็นตัวสั่งงานในกลุ่มคนที่เป็นโรค หลายบุคลิก และการแยกตัวออกนั้นมักจะเกี่ยวข้องกับอารมณ์เครียดที่รุนแรง หรือก็คือ อารมณ์เครียดเป็น
  • 8. 8 ตัวกระตุ้นให้เกิด “การสับเปลี่ยนบุคลิก” ดังนั้น วิธีที่จะช่วยเหลือคนที่มีอาการหลายบุคลิกในการหลีกเลี่ยงการ สับเปลี่ยนก็ คือการช่วยให้พวกเขารับรู้และจัดการกับความเครียดให้ได้ ถ้าคุณพบเจอเหตุการณ์ที่กาลังจะทาให้อารมณ์ครุกครุ่น ให้กลบ เกลื่อนโดยการเปลี่ยนหัวข้อสนทนา หรือขอให้เขาทากิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้น ยาเสพติดและแอลกอฮอล์อาจจะเป็ นตัวกระตุ้น “การสับเปลี่ยนบุคลิก” ดังนั้น อย่าแนะนาให้เขาใช้เด็ดขาด แนะนาตัวเอง ถ้าคุณพบเจอกับบุคลิกใหม่ที่สับเปลี่ยน เขาอาจจะไม่รู้จักคุณ ถ้าเขาไม่รู้จักคุณ เขาอาจจะสับสนและหวาดกลัว ดังนั้น ช่วยให้เขารู้สึกดีขึ้นโดยการแนะนาตัวเอง และอธิบายว่าคุณรู้จักเขาได้อย่างไร ถ้าคนที่มีอาการหลายบุคลิกนั้นเป็นคู่ สมรสของคุณ คุณอาจจะต้องหลีกเลี่ยงการแนะนาตัวว่าเป็นสามีหรือภรรยา กับบุคลิกใหม่ ยกตัวอย่างเช่น บุคลิกใหม่ ที่เป็นเด็กอาจจะตอบรับแบบสับสน และบุคลิกใหม่ที่เป็นเพศตรงข้ามจากคนเดิมอาจจะอารมณ์เสียโดยการอนุมาน ถึงอัตลักษณ์ทางเพศของคุณ ส่งเสริมให้เขาปฏิบัติตามการรักษา การรักษาอาการหลายบุคลิกนั้นโดยทั่วไปจะเป็นการให้ค่าปรึกษาและเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิต คนที่เจอกับภาวะ ซึมเศร้า และ/หรือ ความวิตกอาจจะต้องรักษาโดยการสั่งยา การรักษาจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเพื่อให้เกิด ผลลัพธ์ที่ดีดังนั้น สนับสนุนเขาให้พยายามปฏิบัติตาม ให้กาลังใจเขาในการเข้ารับการปรึกษาด้วยการไปรับ คาปรึกษาพร้อมกับเขา การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตนั้นก็จะมีการทานอาหารที่มีประโยชน์การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และ การงดใช้ยาเสพติดและแอลกอฮอล์ คุณอาจจะกระตุ้นเขาให้มีความแน่วแน่ในการเปลี่ยนแปลงโดยการนามาใช้ ตัวเอง อย่างน้อยก็ตอนที่อยู่กับคนที่เราอยากให้ทาตาม แนะนาให้ตั้งเวลาเพื่อเตือนเขาให้ทานยาตามที่สั่งไว้ ถ้าเขาไม่ยอมปฏิบัติตามหรือกาลังคิดว่าจะไม่ปฏิบัติตาม แนะนาให้เขาไปปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับทางเลือก รักษาอื่นๆ เคล็ดลับ สุขภาพทางกายนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับสุขภาพทางจิต ดังนั้น แนะนาให้เขาทานอาหารที่มีประโยชน์และออกกาลัง กายอย่างสม่าเสมอ คาเตือน การหยุดทานยาทันทีนั้นอาจจะเป็นอันตรายได้แนะนาให้คนที่คิดจะหยุดทานยาให้ไปปรึกษาแพทย์ก่อน ถ้าคุณ กังวลว่าเขาจะทาร้ายตัวเองหรือผู้อื่น ให้ขอความช่วยเหลือทันที ยาเสพติดและแอลกอฮอล์จะไปเพิ่มความถี่และ ความรุนแรงของอาการหลายบุคลิก ดังนั้น หลีกเลี่ยงของเหล่านี้
  • 9. 9 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. เลือกหัวข้อ 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3. รวบรวมข้อมูล 4. จัดทารายงาน 5. ปรับปรุงและแก้ไข 6. นาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. อินเตอร์เน็ต งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - ได้ความรู้เพิ่มเติมจากงานที่ทา - ให้ความรู้กับผู้ที่สนใจ สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี - กลุ่มสาระการเรียนรู้จิตวิทยา