SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
ซินนิสทีเซีย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ณัฐกานต์ มีสุข เลขที่ 3 ชั้น 6ห้อง15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1นางสาว สิรินทร์พร จาปานิล เลขที่ 38
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : ซินเนสทีเซีย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Synesthesia
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ณัฐกานต์ มีสุข
ชื่อที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2ปีการศึกษา2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ซินเนสทีเซีย เป็นความสามารถในการรับรู้ของสมองพร้อมกันหลายช่องทางโดยชื่อเรียก Synesthesia มาจากคาใน
ภาษากรีก คือ Syn ที่แปลว่า ร่วมกัน และ Aisthesis ที่แปลว่า การรับรู้ ส่วนผู้ที่เป็นซินเนสทีเซียนั้น เราเรียกว่า ซิน
เนสทิต (Synesthete) คือพรสวรรค์หรือความผิดปกติ ปัจจุบัน ในทางการแพทย์ไม่ถือว่าซินเนสทีเซียเป็นอาการ
ผิดปกติ หากแต่เป็นความพิเศษ พรสวรรค์หรือของขวัญจากธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้ด้วยสถิติ 1 ต่อ 25,000
คน ลักษณะพิเศษของซินเนสทีเซีย คือ เกิดขึ้นอัตโนมัติ บอกตาแหน่งการเกิดได้ เป็นสัมผัสพื้นฐาน กระตุ้นความจา
และความรู้สึก จากข้อมูลของนักวิจัยหลายๆคนพบสิ่งที่ตรงกันว่า ปรากฏการณ์ซินเนสทิเซียมักเกิดในเพศหญิง
มากกว่าเพศชาย และเชื่อว่าสามารถส่งต่อทางพันธุกรรมได้ผ่านโครโมโซม X นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะเป็นลูกชาย
หรือลูกสาวก็อาจได้รับถ่ายทอดความพิเศษนี้ผ่านทางแม่ได้ สถิติผู้หญิงกับซินเนสทีเซียในสหรัฐอเมริกา ว่ากันว่าหาก
คนที่เป็นซินเนสทีเซียเดินมาพร้อมกัน 4 คน 3 ใน 4 คนนั้นจะเป็นผู้หญิง ส่วนในอังกฤษตัวเลขจะอยู่ที่ 8 ต่อ 9
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ ซินเนสทีเซีย
2. สารวจจานวนผู้ป่วยโรคนี้ภายในโรงเรียน
3. หาแนวทางแก้ไขปัญหา
4. ทาความเข้าใจเกี่ยวกับซินเนสทีเซีย
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
Grapheme - colour synaesthesia คือ กลุ่มที่เห็นตัวหนังสือหรือตัวเลขเป็นสี
Taste–touch synaesthesia คือ กลุ่มที่เกิดความรู้สึกต่างๆจากการลิ้มรสชาติ
Sound–colour synaesthesia คือ กลุ่มที่เสียงเพลง เสียงดนตรีหรือตัวโน้ตทาให้เห็นเป็นสี
Word–taste synaesthesia คือ กลุ่มที่สัมผัสรสชาติได้จากตัวอักษร ตัวหนังสือ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
รูปแบบของซินเนสทีเซีย
เพราะซินเนสทีเซียเป็นสัมผัสที่ซับซ้อนมากกว่าปกติ จึงสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกผัสสะทั้ง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
เชื่อมโยงกันไปเป็นลักษณะพิเศษของแต่ละคน รูปแบบการเกิดซินเนสทีเซียไม่มีความแน่นอน และในคนคนเดียวยัง
อาจเกิดซินเนสทีเซียได้หลายรูปแบบ
เพื่อให้การศึกษาซินเนสทีเซียเป็นเรื่องง่าย Dr. Ashok Jansari หัวหน้าทีมวิจัยจากสถาบันจิตเวชแห่ง University of
East London ได้กาหนดโครงสร้างรูปแบบการเกิดซินเนสทีเซีย
รูปแบบซินเนสทีเซียที่พบได้บ่อยที่สุดคือแบบที่ 1 เห็นอักษรเป็นสีความลึกลับของสมองกับการรับรู้ที่มากกว่าปกติ
นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ซินเนสทีเซียคือผลลัพธ์จากการเชื่อมต่อเซลล์สมองตั้งแต่เรายังเล็กๆ เพราะเมื่อครั้งเรา
เป็นทารก ธรรมชาติได้ให้เซลล์สมองหลายล้านเซลล์แก่เราเพื่อรอพัฒนาเป็นสมองที่สมบูรณ์ยามเติบใหญ่ ในคนปกติ
ทั่วไป เซลล์สมองที่เชื่อมต่อกันยุ่งเหยิงนี้จะค่อยๆ เข้าที่เข้าทางและลดการเชื่อมต่อลงเมื่อเราโตขึ้น แต่ในชาวซินเน
สทิต การเชื่อมต่อนี้จะยังคงอยู่ตลอดไป เป็นเหมือนทางด่วน ทางลัดในการรับส่งข้อมูล ทาให้คนเหล่านี้รับรู้หรือเห็น
ได้มากกว่าคนปกติ เช่น เวลาคนทั่วไปมองเห็นต้นไม้ สมองส่วนรับรู้การมองเห็นก็จะแปรสัญญาณเป็นภาพต้นไม้สี
เขียว แต่ในคนที่เป็นซินเนสทีเซีย นอกจากสมองส่วนรับรู้การมองเห็นจะทางานตามปกติแล้ว การเชื่อมต่อพิเศษที่
อธิบายไม่ได้ยังอาจไปกระตุ้นให้สมองส่วนรับกลิ่นทางานไปพร้อมกันด้วย ทาให้คนคนนั้นมองเห็นต้นไม้สีเขียวพร้อมๆ
กับการได้กลิ่น
แต่บางทฤษฎีก็เชื่อในทางตรงข้ามว่า สมองของชาวซินเนสทิตเกิดมาอย่างคนธรรมดา แต่มีบางสิ่งที่เป็นความพิเศษ
เกิดขึ้นทีหลัง โดยที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมต่อวงจรสมองแต่อย่างใด
ไม่ว่าทฤษฎีไหนจะถูกหรือผิด แต่ความจริงที่เรารู้ก็คือ ผู้ที่เป็นซินเนสทีเซียจะมีความสามารถรับรู้สิ่งพิเศษนี้ไปตลอด
ชีวิต และส่วนใหญ่จะมีระดับไอคิวสูงกว่าหรือพอๆกับค่าเฉลี่ยคนทั่วไป
นอกจากนี้ชาวซินเนสทิตมักถนัดใช้มือซ้าย มีความจาเป็นเลิศ แต่มักหลงทิศทางและด้อยเรื่องการคานวณ และเรายัง
สามารถพบชาวซินเนสทิตได้ในหมู่ศิลปิน นักเขียน กวี นักดนตรีและนักแต่งเพลง ซึ่งคาดว่าในคนกลุ่มนี้จะมีชาวซินเน
สทิตมากกว่าในสายงานอื่นๆถึง 7 เท่า
ซินเนสทีเซีย ไม่ใช่ความเจ็บป่วย?
นั่นเป็นความเข้าใจที่ถูกต้อง เพราะคนที่มีอาการซินเนสทีเซียไม่ใช่คนป่วย ไม่ใช่ผู้ที่มีความผิดปกติทางสมอง ไม่
จาเป็นต้องพบแพทย์เพื่อรักษา แต่ในบางครั้งปรากฏการณ์นี้ก็อาจบอกได้ว่าคุณกาลังมีความผิดปกติเกิดขึ้นกับสมอง
ในกรณีที่คุณไม่ได้มีภาวะซินเนสทีเซียมาตั้งแต่เด็ก แต่จู่ๆเพิ่งมามีตอนโตหรือเมื่ออายุมากแล้ว ก็อาจบ่งชี้ได้ว่ามีความ
ไม่ปกติเกิดขึ้น โดยเฉพาะหากมีอาการเจ็บป่วยทางกายอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น ความจาเสื่อม มือไม้สั่น ปวดศีรษะ เป็น
ต้น เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณของโรคอัลไซเมอร์ พาร์คินสัน ลมชักหรือเนื้องอกในสมองได้ ถ้ามีอาการเหล่านี้อย่านิ่ง
นอนใจ ควรรีบไปพบแพทย์
นอกจากพรสวรรค์ที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด หรือความผิดปกติทางสมองที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง ปรากฎการณ์ซินเนสทีเซีย
ยังอาจเกิดจากการใช้ยาบางประเภทก็ได้ เช่น ยากดประสาทหรือยาเสพติดที่ทาให้เห็นภาพหลอน แต่เราไม่เรียกสิ่ง
4
เหล่านี้ว่าซินเนสทีเซียที่แท้จริง เพราะเกิดจากสภาวะไม่ปกติทางกายจึงไม่นับเป็นความสามารถพิเศษหรือพรสวรรค์
แต่อย่างใด
3. สาเหตุของการนอนไม่หลับที่เกิดจากโรค (Medical and Physical Conditions) ซึ่งบางโรคก็เป็นเหตุที่ทาให้
เกิดอาการนอนไม่หลับ อาทิ
- โรคบางโรคเมื่อขณะเกิดจะทาให้ผู้ป่วยมีอาการนอนไม่หลับ เช่น โรคหอบหืด , โรคหัวใจวาย , โรคภูมิแพ้ , โรค
สมองเสื่อม , โรคพาร์คินสัน , โรคคอพอกเป็นพิษ
- ผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมน Progesteron เมื่อฮอร์โมนตัวนี้สูงขึ้นก็จะทาให้ง่วงนอนในช่วงไข่ตก แต่
ในช่วงที่ประจาเดือนใกล้มาจะมีฮอร์โมนน้อย อาจทาให้มีอาการนอนไม่หลับ อีกทั้งเมื่อคุณสาวๆ กาลังตั้งครรภ์ใน
ระยะแรกๆ และระยะใกล้คลอดก็จะมีอาการนอนไม่หลับเช่นกัน เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน รวมถึง
ช่วงแรกของผู้หญิงเมื่อเข้าสู่วัยทอง ก็จะมีอาการนอนไม่หลับเช่นกัน
- การเปลี่ยนเวลานอน Delayed Sleep-Phase Syndrome ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดอาการนอนไม่หลับ อาทิ
เมื่อถึงเวลานอนแต่ไม่ได้นอน ทาให้ร่างกายไม่สามารถปรับตัวได้ทัน
4. สาเหตุของการนอนไม่หลับที่เป็นปัจจัยเสริม (Perpetuating Factors) มีหลายภาวะที่เสริมส่งให้การนอนไม่
หลับเกิดได้ง่ายมากขึ้น
- Psychophysiological Insomnia เกิดจากการนอนก่อนเวลาทาให้นอนไม่หลับ เรียกว่า Advanced sleep phase
Syndrome ทาให้คนๆ นั้นพยายามที่จะต้องนอนให้หลับ กระสับกระส่าย พลิกตัวไปมา ไม่ผ่อนคลายจนเกิดการ
สะสมแล้วกลายเป็นความเครียด โดยผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะมีลักษณะชีพจรเต้นเร็ว ตื่นง่าย อุณหภูมิร่างกายจะสูงกว่าปกติ
- นอนไม่หลับจากสารบางชนิด อาทิ สุรา กาแฟ ซึ่งการดื่มกาแฟ หรือสุราในช่วงกลางวันถึงกลางคืนอาจจะทาให้นอน
ไม่หลับ ถ้าไม่นับรวมว่าการดื่มสุราแค่เพียงจิบ หรือเพียงเล็กน้อยก่อนนอนจะช่วยลดความเครียด ทาให้นอนได้หลับดี
ขึ้นได้ แต่ถ้าหากดื่มมากเกินไปก็จะทาให้หลับได้ไม่นาน ตื่นง่าย เมื่อถึงช่วงอดสุราก็จะมีปัญหาหลับยาก รวมถึงผู้ที่สูบ
บุหรี่จะนอนหลับประมาณ 3 - 4 ชั่วโมงแล้วตื่น อันเนื่องมาจากมีระดับ Nicotin ที่ลดลง
- ระดับ Melatonin ลดลง ส่วนใหญ่ Melatonin จะมีมากในเด็กและลดลงในวัยผู้ใหญ่หลังช่วงอายุ 60 ปี มีส่วนให้
เกิดอาการนอนหลับยาก
- ปัจจัยจากแสงก็มีส่วนให้เกิดอาการนอนหลับยาก จากความรู้เบื้องต้นว่าแสงจะกระตุ้นให้ร่างกายเราตื่น ถึงแม้ว่าจะ
หรี่แสงลงแล้วก็ตาม
- การนอนไม่หลับในวัยเด็ก พ่อแม่ให้เวลานอนลูกไม่สม่าเสมอจะทาให้เด็กนอนไม่หลับในตอนโต
- การออกกาลังกายในช่วงก่อนนอนและการทางานที่ทาให้เกิดความเครียดในช่วงก่อนนอน
- การนอนและการตื่นที่ไม่เป็นเวลา
- สิ่งแวดล้อมภายในห้องนอนไม่เหมาะสม เช่น มีอุณหภูมิที่ร้อน หรือหนาวจนเกินไป เสียงดังเกินไป รวมถึงลักษณะ
การนอนของคนใกล้ชิด อย่าง นอนดิ้น หรือนอนกรน เป็นต้น

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าNattanichaYRC
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanokpimchanokSirichaisop
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้Thanyalak Chanmai
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอมiamauummm
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่Panita Tunpama
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 

What's hot (18)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Ocd
OcdOcd
Ocd
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
Work1.1
Work1.1Work1.1
Work1.1
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 

Similar to โครงร่างบีม

2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithipNewTF
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์natsun2424
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser8b423e
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพpaifahnutya
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่างAom Nachanok
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานNatthanaSriloer
 
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจlalita Panyarat
 

Similar to โครงร่างบีม (20)

2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithip
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2561 project (21)
2561 project  (21)2561 project  (21)
2561 project (21)
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่าง
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
2562 final-project panic
2562 final-project panic2562 final-project panic
2562 final-project panic
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
 
2560 project .doc2
2560 project .doc22560 project .doc2
2560 project .doc2
 
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 

More from eyecosmomo

โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอาย
โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอายโครงงานคอมพิวเตอร์ของกอาย
โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอายeyecosmomo
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมายeyecosmomo
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมายeyecosmomo
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมeyecosmomo
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6eyecosmomo
 

More from eyecosmomo (8)

โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอาย
โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอายโครงงานคอมพิวเตอร์ของกอาย
โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอาย
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
มม
มมมม
มม
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
Titirat 43
Titirat  43Titirat  43
Titirat 43
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

โครงร่างบีม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ซินนิสทีเซีย ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ณัฐกานต์ มีสุข เลขที่ 3 ชั้น 6ห้อง15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1นางสาว สิรินทร์พร จาปานิล เลขที่ 38 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : ซินเนสทีเซีย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Synesthesia ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ณัฐกานต์ มีสุข ชื่อที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2ปีการศึกษา2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ซินเนสทีเซีย เป็นความสามารถในการรับรู้ของสมองพร้อมกันหลายช่องทางโดยชื่อเรียก Synesthesia มาจากคาใน ภาษากรีก คือ Syn ที่แปลว่า ร่วมกัน และ Aisthesis ที่แปลว่า การรับรู้ ส่วนผู้ที่เป็นซินเนสทีเซียนั้น เราเรียกว่า ซิน เนสทิต (Synesthete) คือพรสวรรค์หรือความผิดปกติ ปัจจุบัน ในทางการแพทย์ไม่ถือว่าซินเนสทีเซียเป็นอาการ ผิดปกติ หากแต่เป็นความพิเศษ พรสวรรค์หรือของขวัญจากธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้ด้วยสถิติ 1 ต่อ 25,000 คน ลักษณะพิเศษของซินเนสทีเซีย คือ เกิดขึ้นอัตโนมัติ บอกตาแหน่งการเกิดได้ เป็นสัมผัสพื้นฐาน กระตุ้นความจา และความรู้สึก จากข้อมูลของนักวิจัยหลายๆคนพบสิ่งที่ตรงกันว่า ปรากฏการณ์ซินเนสทิเซียมักเกิดในเพศหญิง มากกว่าเพศชาย และเชื่อว่าสามารถส่งต่อทางพันธุกรรมได้ผ่านโครโมโซม X นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะเป็นลูกชาย หรือลูกสาวก็อาจได้รับถ่ายทอดความพิเศษนี้ผ่านทางแม่ได้ สถิติผู้หญิงกับซินเนสทีเซียในสหรัฐอเมริกา ว่ากันว่าหาก คนที่เป็นซินเนสทีเซียเดินมาพร้อมกัน 4 คน 3 ใน 4 คนนั้นจะเป็นผู้หญิง ส่วนในอังกฤษตัวเลขจะอยู่ที่ 8 ต่อ 9 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ ซินเนสทีเซีย 2. สารวจจานวนผู้ป่วยโรคนี้ภายในโรงเรียน 3. หาแนวทางแก้ไขปัญหา 4. ทาความเข้าใจเกี่ยวกับซินเนสทีเซีย
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) Grapheme - colour synaesthesia คือ กลุ่มที่เห็นตัวหนังสือหรือตัวเลขเป็นสี Taste–touch synaesthesia คือ กลุ่มที่เกิดความรู้สึกต่างๆจากการลิ้มรสชาติ Sound–colour synaesthesia คือ กลุ่มที่เสียงเพลง เสียงดนตรีหรือตัวโน้ตทาให้เห็นเป็นสี Word–taste synaesthesia คือ กลุ่มที่สัมผัสรสชาติได้จากตัวอักษร ตัวหนังสือ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) รูปแบบของซินเนสทีเซีย เพราะซินเนสทีเซียเป็นสัมผัสที่ซับซ้อนมากกว่าปกติ จึงสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกผัสสะทั้ง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เชื่อมโยงกันไปเป็นลักษณะพิเศษของแต่ละคน รูปแบบการเกิดซินเนสทีเซียไม่มีความแน่นอน และในคนคนเดียวยัง อาจเกิดซินเนสทีเซียได้หลายรูปแบบ เพื่อให้การศึกษาซินเนสทีเซียเป็นเรื่องง่าย Dr. Ashok Jansari หัวหน้าทีมวิจัยจากสถาบันจิตเวชแห่ง University of East London ได้กาหนดโครงสร้างรูปแบบการเกิดซินเนสทีเซีย รูปแบบซินเนสทีเซียที่พบได้บ่อยที่สุดคือแบบที่ 1 เห็นอักษรเป็นสีความลึกลับของสมองกับการรับรู้ที่มากกว่าปกติ นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ซินเนสทีเซียคือผลลัพธ์จากการเชื่อมต่อเซลล์สมองตั้งแต่เรายังเล็กๆ เพราะเมื่อครั้งเรา เป็นทารก ธรรมชาติได้ให้เซลล์สมองหลายล้านเซลล์แก่เราเพื่อรอพัฒนาเป็นสมองที่สมบูรณ์ยามเติบใหญ่ ในคนปกติ ทั่วไป เซลล์สมองที่เชื่อมต่อกันยุ่งเหยิงนี้จะค่อยๆ เข้าที่เข้าทางและลดการเชื่อมต่อลงเมื่อเราโตขึ้น แต่ในชาวซินเน สทิต การเชื่อมต่อนี้จะยังคงอยู่ตลอดไป เป็นเหมือนทางด่วน ทางลัดในการรับส่งข้อมูล ทาให้คนเหล่านี้รับรู้หรือเห็น ได้มากกว่าคนปกติ เช่น เวลาคนทั่วไปมองเห็นต้นไม้ สมองส่วนรับรู้การมองเห็นก็จะแปรสัญญาณเป็นภาพต้นไม้สี เขียว แต่ในคนที่เป็นซินเนสทีเซีย นอกจากสมองส่วนรับรู้การมองเห็นจะทางานตามปกติแล้ว การเชื่อมต่อพิเศษที่ อธิบายไม่ได้ยังอาจไปกระตุ้นให้สมองส่วนรับกลิ่นทางานไปพร้อมกันด้วย ทาให้คนคนนั้นมองเห็นต้นไม้สีเขียวพร้อมๆ กับการได้กลิ่น แต่บางทฤษฎีก็เชื่อในทางตรงข้ามว่า สมองของชาวซินเนสทิตเกิดมาอย่างคนธรรมดา แต่มีบางสิ่งที่เป็นความพิเศษ เกิดขึ้นทีหลัง โดยที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมต่อวงจรสมองแต่อย่างใด ไม่ว่าทฤษฎีไหนจะถูกหรือผิด แต่ความจริงที่เรารู้ก็คือ ผู้ที่เป็นซินเนสทีเซียจะมีความสามารถรับรู้สิ่งพิเศษนี้ไปตลอด ชีวิต และส่วนใหญ่จะมีระดับไอคิวสูงกว่าหรือพอๆกับค่าเฉลี่ยคนทั่วไป นอกจากนี้ชาวซินเนสทิตมักถนัดใช้มือซ้าย มีความจาเป็นเลิศ แต่มักหลงทิศทางและด้อยเรื่องการคานวณ และเรายัง สามารถพบชาวซินเนสทิตได้ในหมู่ศิลปิน นักเขียน กวี นักดนตรีและนักแต่งเพลง ซึ่งคาดว่าในคนกลุ่มนี้จะมีชาวซินเน สทิตมากกว่าในสายงานอื่นๆถึง 7 เท่า ซินเนสทีเซีย ไม่ใช่ความเจ็บป่วย? นั่นเป็นความเข้าใจที่ถูกต้อง เพราะคนที่มีอาการซินเนสทีเซียไม่ใช่คนป่วย ไม่ใช่ผู้ที่มีความผิดปกติทางสมอง ไม่ จาเป็นต้องพบแพทย์เพื่อรักษา แต่ในบางครั้งปรากฏการณ์นี้ก็อาจบอกได้ว่าคุณกาลังมีความผิดปกติเกิดขึ้นกับสมอง ในกรณีที่คุณไม่ได้มีภาวะซินเนสทีเซียมาตั้งแต่เด็ก แต่จู่ๆเพิ่งมามีตอนโตหรือเมื่ออายุมากแล้ว ก็อาจบ่งชี้ได้ว่ามีความ ไม่ปกติเกิดขึ้น โดยเฉพาะหากมีอาการเจ็บป่วยทางกายอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น ความจาเสื่อม มือไม้สั่น ปวดศีรษะ เป็น ต้น เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณของโรคอัลไซเมอร์ พาร์คินสัน ลมชักหรือเนื้องอกในสมองได้ ถ้ามีอาการเหล่านี้อย่านิ่ง นอนใจ ควรรีบไปพบแพทย์ นอกจากพรสวรรค์ที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด หรือความผิดปกติทางสมองที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง ปรากฎการณ์ซินเนสทีเซีย ยังอาจเกิดจากการใช้ยาบางประเภทก็ได้ เช่น ยากดประสาทหรือยาเสพติดที่ทาให้เห็นภาพหลอน แต่เราไม่เรียกสิ่ง
  • 4. 4 เหล่านี้ว่าซินเนสทีเซียที่แท้จริง เพราะเกิดจากสภาวะไม่ปกติทางกายจึงไม่นับเป็นความสามารถพิเศษหรือพรสวรรค์ แต่อย่างใด 3. สาเหตุของการนอนไม่หลับที่เกิดจากโรค (Medical and Physical Conditions) ซึ่งบางโรคก็เป็นเหตุที่ทาให้ เกิดอาการนอนไม่หลับ อาทิ - โรคบางโรคเมื่อขณะเกิดจะทาให้ผู้ป่วยมีอาการนอนไม่หลับ เช่น โรคหอบหืด , โรคหัวใจวาย , โรคภูมิแพ้ , โรค สมองเสื่อม , โรคพาร์คินสัน , โรคคอพอกเป็นพิษ - ผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมน Progesteron เมื่อฮอร์โมนตัวนี้สูงขึ้นก็จะทาให้ง่วงนอนในช่วงไข่ตก แต่ ในช่วงที่ประจาเดือนใกล้มาจะมีฮอร์โมนน้อย อาจทาให้มีอาการนอนไม่หลับ อีกทั้งเมื่อคุณสาวๆ กาลังตั้งครรภ์ใน ระยะแรกๆ และระยะใกล้คลอดก็จะมีอาการนอนไม่หลับเช่นกัน เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน รวมถึง ช่วงแรกของผู้หญิงเมื่อเข้าสู่วัยทอง ก็จะมีอาการนอนไม่หลับเช่นกัน - การเปลี่ยนเวลานอน Delayed Sleep-Phase Syndrome ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดอาการนอนไม่หลับ อาทิ เมื่อถึงเวลานอนแต่ไม่ได้นอน ทาให้ร่างกายไม่สามารถปรับตัวได้ทัน 4. สาเหตุของการนอนไม่หลับที่เป็นปัจจัยเสริม (Perpetuating Factors) มีหลายภาวะที่เสริมส่งให้การนอนไม่ หลับเกิดได้ง่ายมากขึ้น - Psychophysiological Insomnia เกิดจากการนอนก่อนเวลาทาให้นอนไม่หลับ เรียกว่า Advanced sleep phase Syndrome ทาให้คนๆ นั้นพยายามที่จะต้องนอนให้หลับ กระสับกระส่าย พลิกตัวไปมา ไม่ผ่อนคลายจนเกิดการ สะสมแล้วกลายเป็นความเครียด โดยผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะมีลักษณะชีพจรเต้นเร็ว ตื่นง่าย อุณหภูมิร่างกายจะสูงกว่าปกติ - นอนไม่หลับจากสารบางชนิด อาทิ สุรา กาแฟ ซึ่งการดื่มกาแฟ หรือสุราในช่วงกลางวันถึงกลางคืนอาจจะทาให้นอน ไม่หลับ ถ้าไม่นับรวมว่าการดื่มสุราแค่เพียงจิบ หรือเพียงเล็กน้อยก่อนนอนจะช่วยลดความเครียด ทาให้นอนได้หลับดี ขึ้นได้ แต่ถ้าหากดื่มมากเกินไปก็จะทาให้หลับได้ไม่นาน ตื่นง่าย เมื่อถึงช่วงอดสุราก็จะมีปัญหาหลับยาก รวมถึงผู้ที่สูบ บุหรี่จะนอนหลับประมาณ 3 - 4 ชั่วโมงแล้วตื่น อันเนื่องมาจากมีระดับ Nicotin ที่ลดลง - ระดับ Melatonin ลดลง ส่วนใหญ่ Melatonin จะมีมากในเด็กและลดลงในวัยผู้ใหญ่หลังช่วงอายุ 60 ปี มีส่วนให้ เกิดอาการนอนหลับยาก - ปัจจัยจากแสงก็มีส่วนให้เกิดอาการนอนหลับยาก จากความรู้เบื้องต้นว่าแสงจะกระตุ้นให้ร่างกายเราตื่น ถึงแม้ว่าจะ หรี่แสงลงแล้วก็ตาม - การนอนไม่หลับในวัยเด็ก พ่อแม่ให้เวลานอนลูกไม่สม่าเสมอจะทาให้เด็กนอนไม่หลับในตอนโต - การออกกาลังกายในช่วงก่อนนอนและการทางานที่ทาให้เกิดความเครียดในช่วงก่อนนอน - การนอนและการตื่นที่ไม่เป็นเวลา - สิ่งแวดล้อมภายในห้องนอนไม่เหมาะสม เช่น มีอุณหภูมิที่ร้อน หรือหนาวจนเกินไป เสียงดังเกินไป รวมถึงลักษณะ การนอนของคนใกล้ชิด อย่าง นอนดิ้น หรือนอนกรน เป็นต้น