SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง




                    Company
                    LOGO
เนื้อหา

                บทนา

1   ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์

2     สาระเกี่ยวกับศาสนาพราหมณ์

3   การแบ่งยุคสมัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

4          คัมภีร์ทางศาสนา

5    หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์

6      นิกายของศาสนาพราหมณ์
วิถีชาวพุทธกับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ต่อสังคมปัจจุบัน



                                   "วัตถุมงคลจตุคามรามเทพ" เครื่องพึ่งทาง
                                   จิตใจในสังคมไทยกับ ศาสนาพราหมณ์ใน
                                   จังหวัดนครศรีธรรมราชและใกล้เคียงซึ่งเชื่อ
                                   และศรัทธาว่าวิถีชาวพุทธกับพราหมณ์เป็น
ภาพ : ท้าวจตุคามรามเทพ
                                   ของคู่กันที่ต้องปฏิบัตในการดาเนินชีวตใน
                                                         ิ             ิ
ที่มา : http://www.palungjit.com   สังคมปัจจุบัน
วิถีชาวพุทธกับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์
               ต่อสังคมไทยปัจจุบัน
   วัตถุมงคลจตุคามรามเทพ มีการสร้างรุ่นแรกในปี 2530
กระทั่งปี 2542 มีคนสนใจมากขึ้น เนืองจากผู้มีประสบการณ์
                                      ่
อธิบายบอกกันในลักษณะว่า "บูชาแล้วค้าขายดี บูชาแล้วธุรกิจ
ไม่มีปัญหา บูชาแล้วสามารถอธิษฐานขออะไรก็ได้“ ทาให้ทราบ
ว่า วิถีชีวิตสังคมปัจจุบันให้ความสาคัญต่อความเชื่อของศาสนา
พราหมณ์ที่พัฒนาการมาอยู่ในวิถีชาวพุทธ และปฏิบัติสืบต่อกัน
มาช้านาน พบร่องรอยศาสนสถานพราหมณ์อยู่ทั่วไปในประเทศ
ไทยทุกภาค
วิถีชาวพุทธกับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ต่อสังคมปัจจุบัน


                    ภาพ : ท้าวจตุคามรามเทพ
                    ที่มา : http://www.palungjit.com

      เรื่องราวขององค์ท้าวจตุคามฯ สาหรับผู้ที่นับถือองค์ท่าน
  ควรนับถือด้วยจิตศรัทธาอันบริสุทธิ์ ไม่งมงาย และขอให้สร้าง
  กุศลกรรมดีเป็นสิ่งตอบแทนกับตนเองในทุกด้าน จึงจะถือได้ว่า
  เป็นการนับถือที่ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง.
ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์
   คาว่า พราหมณ์ เป็นชื่อของชาวอารยันกลุ่มหนึ่งที่มีบทบาท
เหนือกว่าคนกลุ่มอื่น ที่อาศัยอยู่ในดินแดนชมพูทวีป(ส่วนที่เป็น
ภาคพื้นทวีปของภูมิภาคเอเชียใต้)แถบ ลุ่มแม่น้าสินธุและคงคา
(ปากีสถานและอินเดียภาคเหนือ )
  เนื่องจากชนกลุ่มนี้ มีลัทธิความเชื่อถือที่ สันนิษฐานว่าเป็น
แนวปฏิบัติตนในขณะนั้น เรียกว่า ลัทธิพราหมณ์
ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์
    ศาสนาพราหมณ์ เป็นลัทธิความเชื่อของชาวอารยันที่อาศัย
ในดินแดนชมพูทวีปบริเวณแม่น้า คงคา (อินเดียภาคเหนือ )
    สันนิษฐาน ว่าอพยพมาจากแถบยูเรเชีย(ยุโรปกับเอเชีย)
เทือกเขาคอเคซัส แม่น้าอูราล ทะเลสาบแคสเปียน แถบประเทศ
ตุรกี ก่อนกาเนิดพุทธศาสนา 1,000 ปี



                                 ภาพ : พระพิฆเนศ
                                 ที่มา : http://www.rmutphysics.com
ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์
 ชาวอารยัน (อริยกะ) เริ่มอพยพเข้าสู่อินเดียทางทิศตะวันตก
เฉียงเหนือ (ตอนเหนือของลุ่มแม่น้าสินธุ) ปะปนกับคนพื้นเมือง
ถิ่นเดิม คือชาวมิลักขะหรือทราวิท
 ชาวอารยันและชาวมิลักขะ มีศาสนาเดิมของตนอยู่ ชาวมิลักขะ
นับถือธรรมชาติ คือ ดิน น้า ลม ไฟ เชือว่า เทพเจ้าประทับอยู่บน
                                        ่
สวรรค์(ภูเขาพระสุเมรุ) มีพิธีบวงสรวงเทพเจ้าด้วยไฟ เพราะ
เชื่อว่าควันไฟที่ลอยขึ้นสู่เบื้องบนนั้น เป็นสื่อนาความประสงค์
ของผู้สังเวยไปให้เทพเจ้าทราบ
ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์
    ศาสนาเดิมชาวอารยัน ก่อนอพยพเข้าอินเดีย คือการนับถือ
ธรรมชาติ และวิญญาณบรรพบุรุษ
    ธรรมชาติที่ชาวอารยันนับถือว่าเป็นเทพเจ้า ผู้บันดาลสิ่ง
ทั้งหลายทั้งปวงให้เกิดขึ้นในโลก
    "อินทร์" เทพผู้ให้ความร้อนและแสงสว่าง
    "สาวิตรี" เทพผู้ให้ ความเย็นความชุ่มชื้น "วรุณ ”
    "ยม" หรือ "มฤตยู" เทพผู้ทาลายชีวิตมนุษย์และสัตว์
ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์
   มีการสืบต่อกันมายาวนาน จากลัทธิพราหมณ์ จนถึงยุค
ศาสนาฮินดู จึงมักเรียกรวมๆ กันว่า ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู


                                               ภาพ : สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู
                                               ที่มา : http://www.heritage.thaigov.net




                  ภาพ : พระศิวะกับพระนางสรัสวดี
                  ที่มา : http://www.thaigoodview.com
สาระเกี่ยวกับพราหมณ์
    คาว่า “ฮินดู” เป็นคาที่ใช้เรียกชาวอารยันที่อพยพเข้าไป ตั้ง
ถิ่นฐานในลุ่มแม่น้าสินธุ และ ใช้ เรียกชนเผ่า ลูกผสมระหว่าง
ชาวอารยันกับชาวพื้นเมือง ในชมพูทวีป
    ชนพื้นเมืองได้พัฒนา แล้วเรียกศาสนานี้ว่า “ศาสนาฮินดู”
เพราะฉะนั้นศาสนาพราหมณ์ มีอีก ชื่อว่า “ฮินดู”
    เมืองพาราณสี (อินเดีย) ริมฝั่งแม่น้าคงคา เป็นศูนย์กลางของ
ศาสนาฮินดู ปัจจุบันนี้มีคนนับถือมากใน อินเดีย เนปาล
บังคลาเทศ ศรีลังกา ฯลฯ
สาระเกี่ยวกับพราหมณ์
  พระพุทธศาสนา เกิดขึ้นท่ามกลางสังคมพราหมณ์
พระพุทธเจ้าและพุทธสาวกสมัยแรกๆ เคยนับถือลัทธิพราหมณ์
หรือเกี่ยวข้องกับวรรณะพราหมณ์มาก่อน
  เจ้าชายสิทธัตถะเกิดในครอบครัวพราหมณ์ ในนิทานชาดก
และเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาพุทธและพระพุทธเจ้าก็มักจะมี
พราหมณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง
  ศาสนาพุทธและพราหมณ์ จึงมีอทธิพลต่อกันและกัน
                                ิ
สาระเกี่ยวกับพราหมณ์
   ศาสนาพราหมณ์ คาว่า พราหมณ์ หมายถึง คนในวรรณะที่
สูงที่สุดของสังคมอินเดีย มีหน้าที่สอนความรู้เกี่ยวกับพระเวท
และทาหน้าที่ติดต่อเทพเจ้า ผู้ที่เป็นพราหมณ์เป็นโดยกาเนิด คือ
บุตรของพราหมณ์ก็จะมีสถานภาพเป็นพราหมณ์ด้วย
สาระเกี่ยวกับพราหมณ์
     ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู คือศาสนาเดียวกัน เรียกว่า
“พราหมณ์-ฮินดู” เพราะผู้ให้กาเนิด ศาสนานี้ เรียกตัวเอง
ว่า “พราหมณ์” ต่อมาศาสนาเสื่อมลงระยะหนึ่ง
     ฟื้นฟูปรับปรุงเป็นศาสนาฮินดู โดย เพิ่ม บางสิ่งบางอย่าง
เข้าไป มีการปรับปรุงเนื้อหาหลักธรรม คาสอน ให้ดีขึ้น
    ศูนย์กลางของศาสนาพราหมณ์ในอินเดียปัจจุบัน
คือ เมืองพาราณสี
การแบ่งชนชั้น - วรรณะในศาสนาพราหมณ์



       วรรณะพราหมณ์ คือ ผู้ทาพิธีกรรม มีหน้าที่ติดต่อกับเทพเจ้า
    สั่งสอนศาสนา และ ประกอบพิธีกรรม
    แก่ประชาชนทุกวรรณะ มีหน้าที่ศึกษา
    จดจาและสืบต่อคัมภีร์พระเวท

ภาพ : เอกลักษณ์พราหมณ์
ที่มา : http://www.etcband.net
การแบ่งชนชั้น - วรรณะในศาสนาพราหมณ์



  วรรณะกษัตริย์ คือ กษัตริย์หรือนักรบ
ทาหน้าที่ป้องกันชาติบ้านเมือง
และทาศึกสงคราม
  วรรณะแพศย์ คือ ผู้ประกอบพาณิชกรรม
เกษตรกรรม ซึ่งเป็นวรรณะของคน
ส่วนใหญ่ในสังคม
การแบ่งชนชั้น - วรรณะในศาสนาพราหมณ์




   วรรณะศูทร คือ กรรมกร
     การแต่งงานข้ามวรรณะ บุตรที่เกิดมาก็จะกลายเป็น
จัณฑาล (ในภาษาไทยคือ กาลกิณี) เป็นผู้อยู่นอกวรรณะ
เป็นที่รังเกียจของทุกวรรณะ
การแบ่งชนชั้น - วรรณะในศาสนาพราหมณ์




  ในอินโดนีเซีย ไม่ค่อยเคร่งวรรณะเหมือนกับในอินเดีย
เอกสารบางเล่มกล่าวว่า วรรณะพราหมณ์, กษัตริย์ และ
แพศย์ เป็นวรรณะของคนอารยัน คือชนผิวขาว ผู้ริเริ่ม
ศาสนา ส่วน วรรณะศูทร เป็นของ คนดราวิเดียน ชนผิวดา
ชนพื้นเมืองเก่าของอินเดีย
การแบ่งยุคสมัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

(1) สมัยอริยกะ (ประมาณ 950 ปีก่อนพุทธกาล )
(2) สมัยพระเวท(ประมาณ 957-475 ปีก่อนพุทธกาล)
(3) สมัยพราหมณ์(เวลาประมาณ 257 ปีก่อนพุทธกาล-พ.ศ. 43)
(4) สมัยฮินดูเก่า (ฮินดูแท้) และอุปนิษัท ประมาณ 57 ปี
ก่อนพุทธกาล-ต้นพุทธกาล )
(5) สมัยสูตร ระยะเวลาประมาณ พ.ศ.60-พ.ศ.360 )
การแบ่งยุคสมัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

(6) สมัยอวตาร ( ประมาณ พ.ศ.220-พ.ศ.660 )
(7) สมัยเสื่อม (เวลาประมาณ พ.ศ.861-พ.ศ.1190 )
(8) สมัยฟื้นฟู (เวลาประมาณ พ.ศ.1200-พ.ศ.1740)
(9) สมัยภักติ (เวลาประมาณ พ.ศ.1740-พ.ศ.2300)
ศาสนาพราหมณ์ศรัทธาต่อพระเจ้า
    เป็นศาสนาที่นับถือเทพเจ้าหลายองค์ "พหุเทวนิยม"
 เทพเจ้าแต่ละองค์ มีบทบาท และตานานต่างกันไป
    โดยทั่วไปเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด 3 องค์
      1. พระพรหม เป็น ผู้สร้างโลก
      2. พระศิวะ เป็น ผู้ทาลาย
      3. พระวิษณุ(หรือ พระนารายณ์ ) เป็น
ผู้ปกป้อง และรักษาโลก
                      ภาพ : จิตรกรรมพระนารายณ์
                      ที่มา : http://www.etcband.net
ศาสนาพราหมณ์ศรัทธาต่อพระเจ้า




ภาพ : รูปปั้นพระนารายณ์กับพระลักษมี   ภาพ : พระกฤษณะ บุตรพระนารายณ์กับพระลักษมี
ที่มา : http://www.etcband.net        ที่มา : http://www.etcband.net

   พระนารายณ์ พระลักษมี พระกฤษณะ เทพเจ้าสาคัญของ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ศรัทธาต่อพระเจ้า




ภาพ : จิตรกรรมพระศิวะ
ที่มา : http://www.etcband.net   ภาพ : จิตรกรรมพระนารายณ์กับพระลักษมีทรงครุฑ
                                 ที่มา : http://www.etcband.net

พระอิศวร พระวิษณุ(นารายณ์)เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ศรัทธาต่อพระเจ้า




 ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆของศาสนาฮินดู
 ที่มา : http://www.etcband.net

เทพเจ้าต่าง ๆ (พหุเทวนิยม)ของศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
คัมภีร์ทางศาสนา
   คัมภีร์พระเวท (ภาษาสันสกฤต: वेद) โดยทั่วไปถือว่าเป็น
คัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์ฮินดู หมายถึง บทสวดต่างๆ ที่เกี่ยวกับ
ความเชื่อของชาวอินโดอารยัน หรืออาจเรียกได้ว่าศาสนา
พราหมณ์ฮินดู




               ภาพ : คัมภีร์พระเวทและศาสนสถานพราหมณ์
               ที่มา : http://www.punsanid.com
คัมภีร์ทางศาสนา


        คัมภีร์พระเวทของศาสนาพราหมณ์
   1. ฤคเวท ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า
   2. สามเวท ใช้สาหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้าโสมแก่พระ
อินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า
   3. ยชุรเวท ว่าด้วยวิธีการในการประกอบพิธีบูชายัญและ
บวงสรวงต่าง ๆ
   4. อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนต์
คัมภีร์ทางศาสนา

          คัมภีร์พระเวทของศาสนาพราหมณ์
   นักประวัติศาสตร์ ถือว่า พระเวท ส่วนที่เก่าที่สุด มีอายุ
ราว 1,000 ปีก่อนพุทธกาล ส่วนที่ใหม่สุดของพระเวท น่าจะมี
อายุราวพุทธกาล
   นักภารตวิทยาเชื่อว่า เนื้อหาของคัมภีร์เหล่านี้น่าจะได้มีการ
ท่องจากันมา ก่อนการบันทึกเป็นเวลานาน ซึ่งมีหลักฐานจาก
ลักษณะทางภาษา และปริบททางสังคมต่างๆ
การประกอบพิธีกรรมในศาสนาพราหมณ์




                      ภาพ : การบูชาศิวลึงค์/พิธีกรรมในอินเดียปัจจุบน
                                                                   ั
                      ที่มา : http://www.punsanid.com


   ชาวฮินดู ในอินเดียปัจจุบันยังคงเคร่งครัดในพิธีกรรมอันเป็น
วิถีชีวิตของตนเอง แถบลุ่มแม่น้าคงคา - ยมุนา
ร่องรอยโบราณสถานของศาสนาพราหมณ์




ภาพ : ปราสาทนครวัดสถาปัตยกรรมศาสนาพราหมณ์
ที่มา : http://www.oknation.net
ร่องรอยโบราณสถานของศาสนาพราหมณ์




ภาพ : ปราสาทหินบายน/ศาสนาพราหมณ์
ที่มา : http://www.etcband.net
ร่องรอยโบราณสถานของศาสนาพราหมณ์




ภาพ : โบราณสถานศาสนาพราหมณ์
ที่มา : http://www.etcband.net
ร่องรอยโบราณสถานของศาสนาพราหมณ์




                                    ภาพ : โบราณสถานศาสนาพราหมณ์
ภาพ : เอกลักษณ์วฒนธรรมพราหมณ์
                ั                   ที่มา : http://www.etcband.net
ที่มา : http://www.etcband.net
หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์
   อาศรม 4 หลักอาศรม 4 หมายถึง ขั้นตอนของชีวิตหรือ
ทางปฏิบัติเพื่อยกระดับชีวิตให้สูงขึ้นจนกระทั่งหลุดพ้นจาก
สังสารวัฏ มี 4 ขั้นตอน
หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์
       1. พรหมจารี เป็นวัยศึกษาเล่าเรียนและประพฤติพรหมจรรย์
ผู้เข้าศึกษาจะต้องประประกอบพิธีอุปนยสังสการ ( พิธีรับศิษย์เข้า
ศึกษาในสานัก ) ศึกษาอยู่จนอายุ 25 ปี (แต่งงานไม่ได้)
       2. คฤหัสถ์ เป็นวัยที่จบการศึกษาต้องไปช่วยบิดามารดา
ทางานเพื่อรักษาวงศ์ตระกูล และสร้างฐานะให้มั่นคง
หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์
  3. วานปรัสถ์ หรือ สังคมกาล เป็นช่วงเวลาที่บิดามารดามอบ
ทรัพย์สมบัติให้บุตรธิดา แล้วตนเองออกไปสู่อาศรมในป่าเพื่อ
ฝึกจิตให้บริสุทธิ์
  4. สันยาสี หรือ วิศวกาล เป็นระยะสุดท้ายของชีวิตของ
คฤหัสถ์ออกแสวงหาความสงบในป่า เพื่อความหลุดพ้น เพื่อไป
อยู่ที่ ปรมาตมัน
หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์
หลักปุรุษารถะ หรือจุดมุ่งหมายแห่งชีวิต(ประโยชน์ 4) ดังนี้
     อรรถะ หมายถึง การแสวงหาทรัพย์หรือสร้างฐานะทาง
เศรษฐกิจ
     กามะ หมายถึง การแสวงหาความสุขทางโลกตามควร
    ธรรมะ หมายถึง การถึงพร้อมด้วยคุณธรรมเป็นประโยชน์ที่
ต่อเนื่อง จากอรรถะและกามะ
    โมกษะ หมายถึง ความเป็นอิสระทางวิญญาณพ้นจากการ
เวียนว่าย ตายเกิด เพื่อเข้าสู่ความสุขอันนิรันดร
หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์
     ปรัชญาภควัทคีตา
       ภควัทคีตา มาจากคาว่า “ ภควัต”แปลว่า ผู้เป็นที่เคารพ
อย่างสูงกับคาว่า “คีตา” แปลว่า เพลง ดังนั้น คาว่า ภควัทคีตา
มีความสาคัญเพราะเป็นคัมภีร์ว่าด้วยศาสนาวิทยาและปรัชญา
ถือเป็นยอดวรรณคดีที่เป็นหัวใจปรัชญาอินดู
       โดยเน้นว่าการไปสู่โมกษะนั้นมีหลายทางแต่ทางที่สาคัญ
ที่สุดคือ ความจงรักภักดีต่อพระผู้เป็นเจ้า
หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์
หลักธรรม 10 ประการของศาสนาพราหมณ์
– 1.   ธฤติ แปลว่า ความมั่นคง ความกล้า ความพากเพียร
– 2.   กษมา แปลว่า ความอดกลั้น หรือความอดทน
– 3.   ทมะ แปลว่า การรู้จักข่มใจ
– 4.   อัสเตยะ แปลว่า การไม่ลักขโมย
– 5.   เศาจะ แปลว่า การทาตนให้บริสุทธิ์ทั้งร่างกายและจิตใจ
หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์
หลักธรรม 10 ประการของศาสนาพราหมณ์

  – 6. อินทรียนิครหะ แปลว่า การระงับอินทรีย์ 10
  – 7. ธี แปลว่า การมีปัญญา
  – 8. วิทยา แปลว่า ความรู้ทางปรัชญา
  – 9. สัตยะ แปลว่า การแสดงความซื่อสัตย์ต่อกัน
  – 10. อโกธะ แปลว่า การรู้จักข่มใจให้สงบ ความไม่โกรธ
นิกายของศาสนาพราหมณ์

   วิถีชีวิตของชาวฮินดูในปัจจุบันนั้น จะนับถือและปฏิบัติกัน
ในแนวทางของ ๓ นิกายใหญ่ ๆ คือ ไศวะนิกาย ไวษณพนิกาย
และศักตินิกาย ลัทธินิกายที่เกิดมาในตอนปลายของยุค มี ๔
ลัทธิด้วยกัน คือ
   ๑. ลัทธิไศวะนิกาย
   ๒. ลัทธิไวษณพนิกาย
   ๓. ลัทธิบูชามเหสีของพระผู้เป็นเจ้า ( ลัทธิศักติ )
   ๔. ลัทธิตันตระ
นิกายของศาสนาพราหมณ์
  หลักปรัชญาทางศาสนา ของอินเดียยังได้มีวิวัฒนาการ
เปลี่ยนแปลงจากจุดกาเนิด จนเกิดแนวความคิดหรือลัทธิที่
แตกต่างกันออกไปอีกหลายลัทธิ เช่น นยายะ, ไวเศษิกะ,
สางขยะ, โยคะ, มีมางสา และ เวทานตะ
  เป็นส่วนหนึ่งในรูปความคิดและจิตใจ ซึ่งส่งผลต่อพฤติกรรม
ของชาวอินเดียและสังคมที่มีอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ภาพ : พิธีกรรมศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
                                     พิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์
ที่มา : http://www.palungjit.com

                                    พิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์ในประเทศไทย
                                   ปรากฏอยู่ทั่วไป ทั้งในสถาบันครอบ ศาสนา
                                   และสถาบันการเมืองการปกครองและ
                                   พิธีกรรมสาคัญของประเทศชาติ



                                         Company
                                         LOGO
พิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์
    การสร้างอาคารขนาดใหญ่ในประเทศไทยมักมีรูปเคารพเทพ
เจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ประดิษฐานอยู่ทุกอาคาร ที่เรียกว่า
ศาลพระภูมิเจ้าที่




   ภาพ : เทพเจ้าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
   ที่มา : http://www.palungjit.com    Company
                                       LOGO
ในสังคมไทยปัจจุบันทั่วไป มีพื้นฐานทางศาสนาพราหมณ์อยู่
      ทุกภูมิภาค เช่น มีการสร้างศาลพระภูมิไว้บูชาหน้าอาคาร ที่อยู่
      อาศัย สานักงาน




ภาพ : ศาสนสถานของศาสนาพราหมณ์
ที่มา : http://www.palungjit.com
                                   Company
                                   LOGO
• หนังสืออ้างอิง
  Dissanayake, Wimal. 1987. in Kincaid, D. Lawrence. (ed). Communication
  theory: Eastern and western perspective. NY: Academic Press, INC., pp. 151-160
  มนต์ ทองชัย. 2530. 4 ศาสนาสาคัญของโลกปัจจุบัน พราหมณ์-ฮินดู พุทธ คริสต์
  และ อิสลาม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
  วนิดา ขาเขียว. 2541. ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: เจนเดอร์เพรส.
  อารี วิชาชัย. 2543. ปรัชญาธรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู. กรุงเทพฯ:
  มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.



                                   Company
                                   LOGO
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
                                      http://th.wikipedia.org
                                  http://www.okanation.net
                               http://www.saimganesh.com
                                  http://www.nigtsiam.com
                              http://www.palungdham.com
                             http://www.thaigoodview.com
                                        http://arunsawat.com
                                    http://www.amulet1.com
                               http://www.rmutphysics.com
                             http://www.srinagathurka.com

                                                 คลิกเพื่อทาแบบฝึกหัด
                                    Company
วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง
                                      LOGO

More Related Content

What's hot

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 

What's hot (20)

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 

Viewers also liked

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามDnnaree Ny
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Nattha Namm
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามthnaporn999
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 

Viewers also liked (10)

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 

Similar to ศาสนาพราหมณ์

อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์sorrachat keawjam
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...Tongsamut vorasan
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดูCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 

Similar to ศาสนาพราหมณ์ (20)

Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 

ศาสนาพราหมณ์

  • 2. เนื้อหา บทนา 1 ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์ 2 สาระเกี่ยวกับศาสนาพราหมณ์ 3 การแบ่งยุคสมัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 4 คัมภีร์ทางศาสนา 5 หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์ 6 นิกายของศาสนาพราหมณ์
  • 3. วิถีชาวพุทธกับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ต่อสังคมปัจจุบัน "วัตถุมงคลจตุคามรามเทพ" เครื่องพึ่งทาง จิตใจในสังคมไทยกับ ศาสนาพราหมณ์ใน จังหวัดนครศรีธรรมราชและใกล้เคียงซึ่งเชื่อ และศรัทธาว่าวิถีชาวพุทธกับพราหมณ์เป็น ภาพ : ท้าวจตุคามรามเทพ ของคู่กันที่ต้องปฏิบัตในการดาเนินชีวตใน ิ ิ ที่มา : http://www.palungjit.com สังคมปัจจุบัน
  • 4. วิถีชาวพุทธกับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ ต่อสังคมไทยปัจจุบัน วัตถุมงคลจตุคามรามเทพ มีการสร้างรุ่นแรกในปี 2530 กระทั่งปี 2542 มีคนสนใจมากขึ้น เนืองจากผู้มีประสบการณ์ ่ อธิบายบอกกันในลักษณะว่า "บูชาแล้วค้าขายดี บูชาแล้วธุรกิจ ไม่มีปัญหา บูชาแล้วสามารถอธิษฐานขออะไรก็ได้“ ทาให้ทราบ ว่า วิถีชีวิตสังคมปัจจุบันให้ความสาคัญต่อความเชื่อของศาสนา พราหมณ์ที่พัฒนาการมาอยู่ในวิถีชาวพุทธ และปฏิบัติสืบต่อกัน มาช้านาน พบร่องรอยศาสนสถานพราหมณ์อยู่ทั่วไปในประเทศ ไทยทุกภาค
  • 5. วิถีชาวพุทธกับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ต่อสังคมปัจจุบัน ภาพ : ท้าวจตุคามรามเทพ ที่มา : http://www.palungjit.com เรื่องราวขององค์ท้าวจตุคามฯ สาหรับผู้ที่นับถือองค์ท่าน ควรนับถือด้วยจิตศรัทธาอันบริสุทธิ์ ไม่งมงาย และขอให้สร้าง กุศลกรรมดีเป็นสิ่งตอบแทนกับตนเองในทุกด้าน จึงจะถือได้ว่า เป็นการนับถือที่ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง.
  • 6. ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์ คาว่า พราหมณ์ เป็นชื่อของชาวอารยันกลุ่มหนึ่งที่มีบทบาท เหนือกว่าคนกลุ่มอื่น ที่อาศัยอยู่ในดินแดนชมพูทวีป(ส่วนที่เป็น ภาคพื้นทวีปของภูมิภาคเอเชียใต้)แถบ ลุ่มแม่น้าสินธุและคงคา (ปากีสถานและอินเดียภาคเหนือ ) เนื่องจากชนกลุ่มนี้ มีลัทธิความเชื่อถือที่ สันนิษฐานว่าเป็น แนวปฏิบัติตนในขณะนั้น เรียกว่า ลัทธิพราหมณ์
  • 7. ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพราหมณ์ เป็นลัทธิความเชื่อของชาวอารยันที่อาศัย ในดินแดนชมพูทวีปบริเวณแม่น้า คงคา (อินเดียภาคเหนือ ) สันนิษฐาน ว่าอพยพมาจากแถบยูเรเชีย(ยุโรปกับเอเชีย) เทือกเขาคอเคซัส แม่น้าอูราล ทะเลสาบแคสเปียน แถบประเทศ ตุรกี ก่อนกาเนิดพุทธศาสนา 1,000 ปี ภาพ : พระพิฆเนศ ที่มา : http://www.rmutphysics.com
  • 8. ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์ ชาวอารยัน (อริยกะ) เริ่มอพยพเข้าสู่อินเดียทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือ (ตอนเหนือของลุ่มแม่น้าสินธุ) ปะปนกับคนพื้นเมือง ถิ่นเดิม คือชาวมิลักขะหรือทราวิท ชาวอารยันและชาวมิลักขะ มีศาสนาเดิมของตนอยู่ ชาวมิลักขะ นับถือธรรมชาติ คือ ดิน น้า ลม ไฟ เชือว่า เทพเจ้าประทับอยู่บน ่ สวรรค์(ภูเขาพระสุเมรุ) มีพิธีบวงสรวงเทพเจ้าด้วยไฟ เพราะ เชื่อว่าควันไฟที่ลอยขึ้นสู่เบื้องบนนั้น เป็นสื่อนาความประสงค์ ของผู้สังเวยไปให้เทพเจ้าทราบ
  • 9. ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์ ศาสนาเดิมชาวอารยัน ก่อนอพยพเข้าอินเดีย คือการนับถือ ธรรมชาติ และวิญญาณบรรพบุรุษ ธรรมชาติที่ชาวอารยันนับถือว่าเป็นเทพเจ้า ผู้บันดาลสิ่ง ทั้งหลายทั้งปวงให้เกิดขึ้นในโลก "อินทร์" เทพผู้ให้ความร้อนและแสงสว่าง "สาวิตรี" เทพผู้ให้ ความเย็นความชุ่มชื้น "วรุณ ” "ยม" หรือ "มฤตยู" เทพผู้ทาลายชีวิตมนุษย์และสัตว์
  • 10. ความหมายความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์ มีการสืบต่อกันมายาวนาน จากลัทธิพราหมณ์ จนถึงยุค ศาสนาฮินดู จึงมักเรียกรวมๆ กันว่า ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ภาพ : สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู ที่มา : http://www.heritage.thaigov.net ภาพ : พระศิวะกับพระนางสรัสวดี ที่มา : http://www.thaigoodview.com
  • 11. สาระเกี่ยวกับพราหมณ์ คาว่า “ฮินดู” เป็นคาที่ใช้เรียกชาวอารยันที่อพยพเข้าไป ตั้ง ถิ่นฐานในลุ่มแม่น้าสินธุ และ ใช้ เรียกชนเผ่า ลูกผสมระหว่าง ชาวอารยันกับชาวพื้นเมือง ในชมพูทวีป ชนพื้นเมืองได้พัฒนา แล้วเรียกศาสนานี้ว่า “ศาสนาฮินดู” เพราะฉะนั้นศาสนาพราหมณ์ มีอีก ชื่อว่า “ฮินดู” เมืองพาราณสี (อินเดีย) ริมฝั่งแม่น้าคงคา เป็นศูนย์กลางของ ศาสนาฮินดู ปัจจุบันนี้มีคนนับถือมากใน อินเดีย เนปาล บังคลาเทศ ศรีลังกา ฯลฯ
  • 12. สาระเกี่ยวกับพราหมณ์ พระพุทธศาสนา เกิดขึ้นท่ามกลางสังคมพราหมณ์ พระพุทธเจ้าและพุทธสาวกสมัยแรกๆ เคยนับถือลัทธิพราหมณ์ หรือเกี่ยวข้องกับวรรณะพราหมณ์มาก่อน เจ้าชายสิทธัตถะเกิดในครอบครัวพราหมณ์ ในนิทานชาดก และเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาพุทธและพระพุทธเจ้าก็มักจะมี พราหมณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ศาสนาพุทธและพราหมณ์ จึงมีอทธิพลต่อกันและกัน ิ
  • 13. สาระเกี่ยวกับพราหมณ์ ศาสนาพราหมณ์ คาว่า พราหมณ์ หมายถึง คนในวรรณะที่ สูงที่สุดของสังคมอินเดีย มีหน้าที่สอนความรู้เกี่ยวกับพระเวท และทาหน้าที่ติดต่อเทพเจ้า ผู้ที่เป็นพราหมณ์เป็นโดยกาเนิด คือ บุตรของพราหมณ์ก็จะมีสถานภาพเป็นพราหมณ์ด้วย
  • 14. สาระเกี่ยวกับพราหมณ์ ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู คือศาสนาเดียวกัน เรียกว่า “พราหมณ์-ฮินดู” เพราะผู้ให้กาเนิด ศาสนานี้ เรียกตัวเอง ว่า “พราหมณ์” ต่อมาศาสนาเสื่อมลงระยะหนึ่ง ฟื้นฟูปรับปรุงเป็นศาสนาฮินดู โดย เพิ่ม บางสิ่งบางอย่าง เข้าไป มีการปรับปรุงเนื้อหาหลักธรรม คาสอน ให้ดีขึ้น ศูนย์กลางของศาสนาพราหมณ์ในอินเดียปัจจุบัน คือ เมืองพาราณสี
  • 15. การแบ่งชนชั้น - วรรณะในศาสนาพราหมณ์ วรรณะพราหมณ์ คือ ผู้ทาพิธีกรรม มีหน้าที่ติดต่อกับเทพเจ้า สั่งสอนศาสนา และ ประกอบพิธีกรรม แก่ประชาชนทุกวรรณะ มีหน้าที่ศึกษา จดจาและสืบต่อคัมภีร์พระเวท ภาพ : เอกลักษณ์พราหมณ์ ที่มา : http://www.etcband.net
  • 16. การแบ่งชนชั้น - วรรณะในศาสนาพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ คือ กษัตริย์หรือนักรบ ทาหน้าที่ป้องกันชาติบ้านเมือง และทาศึกสงคราม วรรณะแพศย์ คือ ผู้ประกอบพาณิชกรรม เกษตรกรรม ซึ่งเป็นวรรณะของคน ส่วนใหญ่ในสังคม
  • 17. การแบ่งชนชั้น - วรรณะในศาสนาพราหมณ์ วรรณะศูทร คือ กรรมกร การแต่งงานข้ามวรรณะ บุตรที่เกิดมาก็จะกลายเป็น จัณฑาล (ในภาษาไทยคือ กาลกิณี) เป็นผู้อยู่นอกวรรณะ เป็นที่รังเกียจของทุกวรรณะ
  • 18. การแบ่งชนชั้น - วรรณะในศาสนาพราหมณ์ ในอินโดนีเซีย ไม่ค่อยเคร่งวรรณะเหมือนกับในอินเดีย เอกสารบางเล่มกล่าวว่า วรรณะพราหมณ์, กษัตริย์ และ แพศย์ เป็นวรรณะของคนอารยัน คือชนผิวขาว ผู้ริเริ่ม ศาสนา ส่วน วรรณะศูทร เป็นของ คนดราวิเดียน ชนผิวดา ชนพื้นเมืองเก่าของอินเดีย
  • 19. การแบ่งยุคสมัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู (1) สมัยอริยกะ (ประมาณ 950 ปีก่อนพุทธกาล ) (2) สมัยพระเวท(ประมาณ 957-475 ปีก่อนพุทธกาล) (3) สมัยพราหมณ์(เวลาประมาณ 257 ปีก่อนพุทธกาล-พ.ศ. 43) (4) สมัยฮินดูเก่า (ฮินดูแท้) และอุปนิษัท ประมาณ 57 ปี ก่อนพุทธกาล-ต้นพุทธกาล ) (5) สมัยสูตร ระยะเวลาประมาณ พ.ศ.60-พ.ศ.360 )
  • 20. การแบ่งยุคสมัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู (6) สมัยอวตาร ( ประมาณ พ.ศ.220-พ.ศ.660 ) (7) สมัยเสื่อม (เวลาประมาณ พ.ศ.861-พ.ศ.1190 ) (8) สมัยฟื้นฟู (เวลาประมาณ พ.ศ.1200-พ.ศ.1740) (9) สมัยภักติ (เวลาประมาณ พ.ศ.1740-พ.ศ.2300)
  • 21. ศาสนาพราหมณ์ศรัทธาต่อพระเจ้า เป็นศาสนาที่นับถือเทพเจ้าหลายองค์ "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ มีบทบาท และตานานต่างกันไป โดยทั่วไปเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด 3 องค์ 1. พระพรหม เป็น ผู้สร้างโลก 2. พระศิวะ เป็น ผู้ทาลาย 3. พระวิษณุ(หรือ พระนารายณ์ ) เป็น ผู้ปกป้อง และรักษาโลก ภาพ : จิตรกรรมพระนารายณ์ ที่มา : http://www.etcband.net
  • 22. ศาสนาพราหมณ์ศรัทธาต่อพระเจ้า ภาพ : รูปปั้นพระนารายณ์กับพระลักษมี ภาพ : พระกฤษณะ บุตรพระนารายณ์กับพระลักษมี ที่มา : http://www.etcband.net ที่มา : http://www.etcband.net พระนารายณ์ พระลักษมี พระกฤษณะ เทพเจ้าสาคัญของ ฮินดู
  • 23. ศาสนาพราหมณ์ศรัทธาต่อพระเจ้า ภาพ : จิตรกรรมพระศิวะ ที่มา : http://www.etcband.net ภาพ : จิตรกรรมพระนารายณ์กับพระลักษมีทรงครุฑ ที่มา : http://www.etcband.net พระอิศวร พระวิษณุ(นารายณ์)เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
  • 24. ศาสนาพราหมณ์ศรัทธาต่อพระเจ้า ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆของศาสนาฮินดู ที่มา : http://www.etcband.net เทพเจ้าต่าง ๆ (พหุเทวนิยม)ของศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
  • 25. คัมภีร์ทางศาสนา คัมภีร์พระเวท (ภาษาสันสกฤต: वेद) โดยทั่วไปถือว่าเป็น คัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์ฮินดู หมายถึง บทสวดต่างๆ ที่เกี่ยวกับ ความเชื่อของชาวอินโดอารยัน หรืออาจเรียกได้ว่าศาสนา พราหมณ์ฮินดู ภาพ : คัมภีร์พระเวทและศาสนสถานพราหมณ์ ที่มา : http://www.punsanid.com
  • 26. คัมภีร์ทางศาสนา คัมภีร์พระเวทของศาสนาพราหมณ์ 1. ฤคเวท ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า 2. สามเวท ใช้สาหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้าโสมแก่พระ อินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า 3. ยชุรเวท ว่าด้วยวิธีการในการประกอบพิธีบูชายัญและ บวงสรวงต่าง ๆ 4. อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนต์
  • 27. คัมภีร์ทางศาสนา คัมภีร์พระเวทของศาสนาพราหมณ์ นักประวัติศาสตร์ ถือว่า พระเวท ส่วนที่เก่าที่สุด มีอายุ ราว 1,000 ปีก่อนพุทธกาล ส่วนที่ใหม่สุดของพระเวท น่าจะมี อายุราวพุทธกาล นักภารตวิทยาเชื่อว่า เนื้อหาของคัมภีร์เหล่านี้น่าจะได้มีการ ท่องจากันมา ก่อนการบันทึกเป็นเวลานาน ซึ่งมีหลักฐานจาก ลักษณะทางภาษา และปริบททางสังคมต่างๆ
  • 28. การประกอบพิธีกรรมในศาสนาพราหมณ์ ภาพ : การบูชาศิวลึงค์/พิธีกรรมในอินเดียปัจจุบน ั ที่มา : http://www.punsanid.com ชาวฮินดู ในอินเดียปัจจุบันยังคงเคร่งครัดในพิธีกรรมอันเป็น วิถีชีวิตของตนเอง แถบลุ่มแม่น้าคงคา - ยมุนา
  • 32. ร่องรอยโบราณสถานของศาสนาพราหมณ์ ภาพ : โบราณสถานศาสนาพราหมณ์ ภาพ : เอกลักษณ์วฒนธรรมพราหมณ์ ั ที่มา : http://www.etcband.net ที่มา : http://www.etcband.net
  • 33. หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์ อาศรม 4 หลักอาศรม 4 หมายถึง ขั้นตอนของชีวิตหรือ ทางปฏิบัติเพื่อยกระดับชีวิตให้สูงขึ้นจนกระทั่งหลุดพ้นจาก สังสารวัฏ มี 4 ขั้นตอน
  • 34. หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์ 1. พรหมจารี เป็นวัยศึกษาเล่าเรียนและประพฤติพรหมจรรย์ ผู้เข้าศึกษาจะต้องประประกอบพิธีอุปนยสังสการ ( พิธีรับศิษย์เข้า ศึกษาในสานัก ) ศึกษาอยู่จนอายุ 25 ปี (แต่งงานไม่ได้) 2. คฤหัสถ์ เป็นวัยที่จบการศึกษาต้องไปช่วยบิดามารดา ทางานเพื่อรักษาวงศ์ตระกูล และสร้างฐานะให้มั่นคง
  • 35. หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์ 3. วานปรัสถ์ หรือ สังคมกาล เป็นช่วงเวลาที่บิดามารดามอบ ทรัพย์สมบัติให้บุตรธิดา แล้วตนเองออกไปสู่อาศรมในป่าเพื่อ ฝึกจิตให้บริสุทธิ์ 4. สันยาสี หรือ วิศวกาล เป็นระยะสุดท้ายของชีวิตของ คฤหัสถ์ออกแสวงหาความสงบในป่า เพื่อความหลุดพ้น เพื่อไป อยู่ที่ ปรมาตมัน
  • 36. หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์ หลักปุรุษารถะ หรือจุดมุ่งหมายแห่งชีวิต(ประโยชน์ 4) ดังนี้ อรรถะ หมายถึง การแสวงหาทรัพย์หรือสร้างฐานะทาง เศรษฐกิจ กามะ หมายถึง การแสวงหาความสุขทางโลกตามควร ธรรมะ หมายถึง การถึงพร้อมด้วยคุณธรรมเป็นประโยชน์ที่ ต่อเนื่อง จากอรรถะและกามะ โมกษะ หมายถึง ความเป็นอิสระทางวิญญาณพ้นจากการ เวียนว่าย ตายเกิด เพื่อเข้าสู่ความสุขอันนิรันดร
  • 37. หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์ ปรัชญาภควัทคีตา ภควัทคีตา มาจากคาว่า “ ภควัต”แปลว่า ผู้เป็นที่เคารพ อย่างสูงกับคาว่า “คีตา” แปลว่า เพลง ดังนั้น คาว่า ภควัทคีตา มีความสาคัญเพราะเป็นคัมภีร์ว่าด้วยศาสนาวิทยาและปรัชญา ถือเป็นยอดวรรณคดีที่เป็นหัวใจปรัชญาอินดู โดยเน้นว่าการไปสู่โมกษะนั้นมีหลายทางแต่ทางที่สาคัญ ที่สุดคือ ความจงรักภักดีต่อพระผู้เป็นเจ้า
  • 38. หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์ หลักธรรม 10 ประการของศาสนาพราหมณ์ – 1. ธฤติ แปลว่า ความมั่นคง ความกล้า ความพากเพียร – 2. กษมา แปลว่า ความอดกลั้น หรือความอดทน – 3. ทมะ แปลว่า การรู้จักข่มใจ – 4. อัสเตยะ แปลว่า การไม่ลักขโมย – 5. เศาจะ แปลว่า การทาตนให้บริสุทธิ์ทั้งร่างกายและจิตใจ
  • 39. หลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์ หลักธรรม 10 ประการของศาสนาพราหมณ์ – 6. อินทรียนิครหะ แปลว่า การระงับอินทรีย์ 10 – 7. ธี แปลว่า การมีปัญญา – 8. วิทยา แปลว่า ความรู้ทางปรัชญา – 9. สัตยะ แปลว่า การแสดงความซื่อสัตย์ต่อกัน – 10. อโกธะ แปลว่า การรู้จักข่มใจให้สงบ ความไม่โกรธ
  • 40. นิกายของศาสนาพราหมณ์ วิถีชีวิตของชาวฮินดูในปัจจุบันนั้น จะนับถือและปฏิบัติกัน ในแนวทางของ ๓ นิกายใหญ่ ๆ คือ ไศวะนิกาย ไวษณพนิกาย และศักตินิกาย ลัทธินิกายที่เกิดมาในตอนปลายของยุค มี ๔ ลัทธิด้วยกัน คือ ๑. ลัทธิไศวะนิกาย ๒. ลัทธิไวษณพนิกาย ๓. ลัทธิบูชามเหสีของพระผู้เป็นเจ้า ( ลัทธิศักติ ) ๔. ลัทธิตันตระ
  • 41. นิกายของศาสนาพราหมณ์ หลักปรัชญาทางศาสนา ของอินเดียยังได้มีวิวัฒนาการ เปลี่ยนแปลงจากจุดกาเนิด จนเกิดแนวความคิดหรือลัทธิที่ แตกต่างกันออกไปอีกหลายลัทธิ เช่น นยายะ, ไวเศษิกะ, สางขยะ, โยคะ, มีมางสา และ เวทานตะ เป็นส่วนหนึ่งในรูปความคิดและจิตใจ ซึ่งส่งผลต่อพฤติกรรม ของชาวอินเดียและสังคมที่มีอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
  • 42. ภาพ : พิธีกรรมศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์ ที่มา : http://www.palungjit.com พิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์ในประเทศไทย ปรากฏอยู่ทั่วไป ทั้งในสถาบันครอบ ศาสนา และสถาบันการเมืองการปกครองและ พิธีกรรมสาคัญของประเทศชาติ Company LOGO
  • 43. พิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์ การสร้างอาคารขนาดใหญ่ในประเทศไทยมักมีรูปเคารพเทพ เจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ประดิษฐานอยู่ทุกอาคาร ที่เรียกว่า ศาลพระภูมิเจ้าที่ ภาพ : เทพเจ้าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ที่มา : http://www.palungjit.com Company LOGO
  • 44. ในสังคมไทยปัจจุบันทั่วไป มีพื้นฐานทางศาสนาพราหมณ์อยู่ ทุกภูมิภาค เช่น มีการสร้างศาลพระภูมิไว้บูชาหน้าอาคาร ที่อยู่ อาศัย สานักงาน ภาพ : ศาสนสถานของศาสนาพราหมณ์ ที่มา : http://www.palungjit.com Company LOGO
  • 45. • หนังสืออ้างอิง Dissanayake, Wimal. 1987. in Kincaid, D. Lawrence. (ed). Communication theory: Eastern and western perspective. NY: Academic Press, INC., pp. 151-160 มนต์ ทองชัย. 2530. 4 ศาสนาสาคัญของโลกปัจจุบัน พราหมณ์-ฮินดู พุทธ คริสต์ และ อิสลาม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. วนิดา ขาเขียว. 2541. ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: เจนเดอร์เพรส. อารี วิชาชัย. 2543. ปรัชญาธรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. Company LOGO
  • 46. จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี http://th.wikipedia.org http://www.okanation.net http://www.saimganesh.com http://www.nigtsiam.com http://www.palungdham.com http://www.thaigoodview.com http://arunsawat.com http://www.amulet1.com http://www.rmutphysics.com http://www.srinagathurka.com คลิกเพื่อทาแบบฝึกหัด Company วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง LOGO