SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความ
ดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
จัดทาโดย
พระอธิการสุทิน อตฺตทีโป
นางสาวอัญชลี จตุรานน
นำเสนอ อำจำรย์ ดร. สยำม รำชวัตร
ในรำยวิชำ ศำสนำเปรียบเทียบ
ตำมหลักสูตรปริญญำพุทธศำสตรมหำบัณฑิต
มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย
วิทยำเขตเชียงใหม่
ภำคเรียนที่ ๒ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๕
และเพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำ ธรรมบูชำ สังฆบูชำ
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อศึกษำควำมหมำยของควำมดีควำมชั่วในศำสนำต่ำงๆ
๒. เพื่อศึกษำควำมหมำยของบุญและบำปในศำสนำต่ำงๆ
๓. เพื่อศึกษำหลักคำสอนเกี่ยวกับควำมดีควำมชั่วในศำสนำต่ำงๆ
๔. เพื่อศึกษำควำมเชื่อเรื่องผลลัพธ์ของกำรทำควำมดีควำมชั่วต่อ
ชีวิตหลังควำมตำย
๕. เพื่อศึกษำควำมเชื่อเรื่องผลลัพธ์ของกำรทำควำมดีควำมชั่วต่อ
ชีวิตปัจจุบัน
๖. เพื่อให้เข้ำใจแนวคิดของแต่ละศำสนำเพื่อนำมำซึ่งควำมเข้ำใจ
กำรให้อภัยกัน และสันติภำพของโลก
หัวข้อการเปรียบเทียบ
๑. ควำมหมำยของควำมดีควำมชั่วในศำสนำต่ำงๆ
๒. ควำมหมำยของบุญและบำปในศำสนำต่ำงๆ
๓. หลักคำสอนเกี่ยวกับควำมดีควำมชั่วในศำสนำต่ำงๆ
๔. ควำมเชื่อเรื่องผลลัพธ์ของกำรทำควำมดีควำมชั่วต่อชีวิตหลัง
ควำมตำย
๕. เควำมเชื่อเรื่องผลลัพธ์ของกำรทำควำมดีควำมชั่วต่อชีวิต
ปัจจุบัน
เกมส์
ตอบคาถามชิงรางวัล ๕ คาถาม
๕ รางวัล
สาเหตุที่ควรศึกษาความเชื่อเรื่องความดี
ความชั่วในศาสนาต่างๆ
• ศำสนำทุกศำสนำสอนให้คนเป็นคนดี แต่ ก็ยังเกิดควำมขัดแย้งและสงครำม
ศำสนำ
• ทุกศำสนำสอนให้คนเป็นคนดี แต่ควำมเชื่อในเรื่องควำมดี-ควำมชั่วในแต่ละ
ศำสนำนั้นไม่เหมือนกัน
• คนต่ำงศำสนำมีประสบกำรณ์ศำสนำต่ำงกัน ทำให้ไม่เข้ำใจกันและกัน
• คนคลั่งศำสนำอำจมีกำรตีควำมคำสอนผิดไป ซึ่งเป็นเหตุนำไปสู่ควำมรุนแรงและ
ควำมขัดแย้งระหว่ำงศำสนำ
• กำรทำควำมเข้ำใจในควำมเชื่อเรื่องควำมดี-ควำมชั่ว ของแต่ละศำสนำ ด้วยความ
เป็นกลาง จะทำให้เข้ำใจกันมำกขึ้น และนำมำซึ่งสันติภำพ
ศึกษาเปรียบเทียบอย่างเป็นกลาง
“แต่ละคนจะไม่บูชำแต่ศำสนำของตนเองและกล่ำวหำศำสนำของคนอื่น แต่จะต้องบูชำศำสนำของ
ตนเองด้วยเหตุผลนี้หรือเหตุผลนั้น ดังนี้จะช่วยให้ศำสนำของตนเองเจริญก้ำวหน้ำและรับใช้ศำสนำ
ของคนอื่นๆด้วย ถ้ำไม่เป็นเช่นนั้นแล้ว ก็เหมือนกับกำรขุดหลุมฝังศำสนำของตนเอง และให้โทษแก่
ศำสนำของคนอื่น ที่ทำไปเพรำะศรัทธำในศำสนำของตนเอง โดยคิดเอำเองว่ำข้ำจะให้สิริมงคลแก่
ศำสนำของข้ำฯ แต่ตรงกันข้ำมเขำจะทำร้ำยศำสนำของตนเองอย่ำงสำหัส สำมัคคีนั่นแหละดี จงฟัง
เถิดจงมีควำมตั้งใจที่จะฟังศำสนำของคนอื่นด้วย” Rahula Walpala, พระพุทธเจ้าสอนอะไร, (กรุงเทพมหำนคร :
โรงพิมพ์มหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๒๕๓๒), หน้ำ ๔๔-๔๕.
“ถ้ำทำกำรเปรียบเทียบด้วยเจตนำที่บริสุทธิ์แล้ว เรำจะพบว่ำ
ทุกศำสนำมีเจตนำตรงกันและอำจร่วมมือกันได้ในกำรสร้ำง
สันติสุขหรือสันติภำพให้แก่ชีวิตทั้งหลำยในสำกลโลก”
พุทธทำสภิกขุ, พุทธ-คริสต์ในทัศนะท่านพุทธทาส,
(กรุงเทพมหำนคร : พลพันธ์กำรพิมพ์, ๒๕๒๗), หน้ำ ๑๓.
ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว
ความดี
การกระทา
เพื่อให้บรรลุ
เป้ าหมาย
ให้ผลเป็นบุญ เกิดความสุข
บรรลุ
เป้ าหมาย
เป้ าหมายทาง
ศาสนา
ศาสนาพุทธ
นิพพาน (ภาวะหลุด
พ้นจากกิเลส)
ศาสนาพราหมณ์
โมกษะ (การเข้าไป
รวมกับพรหมัน)
ศาสนาคริสต์
อยู่ในดินแดนพระเจ้า
(สวรรค์นิรันดร)
ศาสนาอิสลาม
อยู่ในดินแดนพระเจ้า
(สวรรค์นิรันดร)
ความชั่ว
การกระทาที่
ทาให้ไม่บรรลุ
เป้ าหมาย
ให้ผลเป็น
บาป
เกิดความทุกข์
ไม่บรรลุ
เป้ าหมาย
ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว
ศาสนาพุทธ
ความดี ตรงกับศัพท์ภำษำบำลีว่ำ บุญและกุศล ส่วนความชั่วตรงกับภำษำบำลีว่ำ บำปและ
อกุศล
กุศลมีควำมหมำย ๔ ประกำร คือ
๑.) อาโรคยะ ควำมไม่มีโรค หมำยถึง จิตที่มีสุขภำพดี ไม่ถูกบีบคั้น ไม่กระสับกระส่ำย ใช้
งำนได้ดี
๒.) อนวัชชะ ไม่มีโทษ หรือไร้ตำหนิ หมำยถึง ไม่มัวหมอง ไม่ขุ่นมัว สะอำด
๓.) โกศลสัมภูต เกิดจำกปัญญำ หรือเกิดจำกควำมฉลำด หมำยถึง ภำวะที่จิตประกอบอยู่
ด้วยปัญญำ มองเห็นหรือรู้เท่ำทันควำมเป็นจริง
๔.) สุขวิบาก มีสุขเป็นผล หมำยถึง เป็นสภำพที่ทำให้มีควำมสุข
ส่วนอกุศลมีควำมหมำยตรงกันข้ำม คือ เป็นสภำพจิตที่มีโรค มีโทษ เกิดจำกอวิชชำ และมี
ทุกข์เป็นผล
ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว
ศาสนาพุทธ
เป้ ำหมำยในชีวิตต่ำงกัน  เกณฑ์กำรวัดควำมดีควำมชั่วของภิกษุและคฤหัสถ์จึง
ต่ำงกัน  ศีลจึงต้องต่ำงกัน
เกณฑ์ตัดสินความดี ความชั่ว
• ตำมหลักอธิปไตย ๓ (อัตตำธิปไตย, โลกำธิปไตย, ธรรมำธิปไตย)
• ตำมหลักในกำลำมสูตร (พึงรู้ด้วยตนเองว่ำสิ่งเหล่ำนี้เป็นกุศลหรืออกุศล เป็นคุณ
หรือโทษ เป็นประโยชน์หรือมิใช่ประโยชน์ วิญญูชนสรรเสริญหรือติเตียน)
• ตำมมติของพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ใช้ เกณฑ์หลัก (พิจำรณำมูลเหตุว่ำเป็น
เจตนำเกิดจำกกุศลมูล หรือเกิดจำกอกุศลมูล ช่วยให้กุศลธรรมทั้งหลำยเจริญงอก
งำมขึ้นหรือไม่) เกณฑ์รอง (พิจำรณำว่ำกำรกระทำนั้นตนเองติเตียนตนเองได้
หรือไม่ เสียควำมเคำรพตนเองหรือไม่ บัณฑิตชนยอมรับหรือไม่)
ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว
ศาสนาพราหมณ์
กำรปฏิบัติตำมคำสอนของเทพเจ้ำ ควำมดี มีผลเป็นบุญและควำมสุข
กำรละเมิดคำสอนของเทพเจ้ำ  ควำมชั่ว มีผลเป็นบำปและควำมทุกข์
ศำสนำพรำหมณ์มีควำมเชื่อเกี่ยวกับเรื่องควำมดี-ควำมชั่ว บุญ-บำป สุข-ทุกข์ ออกเป็น
๒ แนวทำง
แนวทางที่ ๑ เชื่อว่ำ ควำมดี-บุญ-ควำมสุข เกิดจำกเทพเจ้ำฝ่ำยดีบันดำล ส่วนควำม
ชั่ว-บำป-ควำมทุกข์ เกิดจำกเทพเจ้ำฝ่ำยมำรบันดำล
แนวทางที่ ๒ เชื่อว่ำ ทั้งควำมดี-ควำมชั่ว บุญ-บำป ควำมสุข-ควำมทุกข์ ล้วนเกิดจำก
เทพเจ้ำองค์เดียวกันบันดำล เพื่อสอนให้คนรู้จักควำมจริงของชีวิต
รองศำสตรำจำรย์ ฟื้น ดอกบัว, ศาสนาเปรียบเทียบ, (กรุงเทพมหำนคร : โสภณกำร
พิมพ์, ๒๕๓๗), หน้ำ ๒๘๔.
ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว
ศาสนาคริสต์
กำรเชื่อฟังพระเจ้ำ  เป็นควำมดี ทำให้มีควำมสุข เป็นบุญติดตำมไปยังโลกหน้ำ
ควำมชั่วหรือบำป  เกิดจำกกำรที่ซำตำนหลอกให้มนุษย์ไปติดกับโดยหลอกให้ขัด
คำสั่งพระเจ้ำ ดังเช่นที่อำดัมและอีวำขัดคำสั่งพระเจ้ำโดยกำรรับประทำนผลไม้ต้องห้ำม
|
V
ทำให้มนุษย์มีบำปกำเนิดติดตัวทุกคน
บำงทัศนะก็เชื่อว่ำ ซำตำนก็อยู่ภำยใต้กำรควบคุมของพระเจ้ำ มีหน้ำที่ยุยงให้คนทำชั่ว
เพื่อเป็นกำรทดสอบจิตใจ และทดสอบศรัทธำของคริสต์ศำสนิกชนที่มีต่อพระเจ้ำ และ
เพื่อพัฒนำจิตให้มีควำมมุ่งมั่นต่อพระเจ้ำเป็นลำดับขึ้นไป รองศำสตรำจำรย์ ฟื้น ดอกบัว, ศาสนา
เปรียบเทียบ, หน้ำ ๒๘๗.
ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว
ศาสนาอิสลาม
กำรเชื่อฟังพระอัลเลำะห์  เป็นควำมดี มีผลเป็นบุญและควำมสุขติดตัว
ไปยังภพหน้ำ ควำมชั่ว หรือบำป  เกิดจำกไซตอน หรือซำตำน หลอกให้
คนออกนอกเส้นทำงที่พระอัลเลำะห์วำงไว้
แต่บำงทัศนะก็มีควำมเชื่อว่ำ แม้แต่ควำมชั่วก็เป็นสิ่งที่พระอัลเลำะห์สร้ำง
ขึ้นมำ ด้วยเหตุผล ๒ ประกำรคือ เพื่อลงโทษคนทำชั่วให้หลำบจำ และเพื่อ
เป็นเครื่องพิสูจน์ศรัทธำต่อพระองค์
รองศำสตรำจำรย์ ฟื้น ดอกบัว, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๒๘๗.
สรุปความหมายของความดีความชั่ว
ในศาสนาต่างๆ
ศาสนา ความดี ความชั่ว
ศาสนาพุทธ กำรกระทำที่ไม่เป็นโทษ ไม่
เบียดเบียนตนเองหรือผู้อื่น
พัฒนำจิตใจให้บรรลุ
เป้ ำหมำยคือควำมหลุดพ้น
(พระนิพพำน)
กำรกระทำที่เป็นโทษ
เบียดเบียนตนเองหรือผู้อื่น ทำ
ให้จิตใจตกต่ำ มัวเมำ
ศาสนาพราหมณ์ กำรปฏิบัติตำมคำสอนของ
เทพเจ้ำ
กำรละเมิดคำสอนของเทพเจ้ำ
ศาสนาคริสต์ กำรเชื่อฟังพระเจ้ำ กำรขัดคำสั่งพระเจ้ำ
ศาสนาอิสลาม กำรเชื่อฟังพระอัลเลำะห์ กำรขัดคำสั่งพระอัลเลำะห์
ความหมายของบุญและบาป
บุญ เป็นสิ่งที่มีควำมหมำยในทำงดี มีควำมหมำยโดยรวมเป็นผลที่
ได้จำกกำรทำควำมดี นำมำซึ่งควำมสุข
บาป มีควำมหมำยในทำงไม่ดี มีควำมหมำยโดยรวมเป็นผลที่ได้
จำกกำรทำควำมชั่ว นำมำซึ่งควำมทุกข์
ความหมายของบุญและบาป
ศาสนาพุทธ
ในศำสนำพุทธเชื่อว่ำบุญคือผลจำกกำรทำควำมดี
ผลบุญทำให้เกิดควำมสุข บุญจะติดตัวบุคคลไปถึง
ชำติหน้ำ ส่วนบำปเป็นผลที่เกิดจำกกำรทำควำมชั่ว
ผลบำปทำให้เกิดควำมทุกข์ สำมำรถติดตัวบุคคล
ไปยังชำติต่อไปเหมือนดังเช่นผลบุญ
ความหมายของบุญและบาป
ศาสนาพุทธ
บาปในศาสนาพุทธหมายถึง การที่มีสภาวะจิตตกต่าลง มีลักษณะส่งผลให้ถึงทุคติ (ภพภูมิเบื้อง
ต่า) สิ่งที่ทาให้เกิดบาปคือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ในจิตใจมนุษย์
นอกจากคาว่า บาป แล้ว ในศาสนาพุทธยังมีอีกหลายคาที่ใช้เรียกแทนคาว่าบาป ดังนี้
บาป คือ การให้ถึงความพินาศ ให้ถึงคติชั่ว
กิมพิส คือ การให้ถูกลงโทษ ถูกจองจา
เวร คือ ทาให้เกียจชัง
อม คือ ทาให้เศร้า ไม่สดชื่นแจ่มใส ทาให้เจ็บปวดใจ
ทุจริต คือ ประพฤติชั่วทางกาย วาจา ใจ
ทุกกฎ คือ ทาชั่วทางกาย วาจา ใจ
อปุญญ คือ หมดบุญ ไม่บริสุทธิ์
อกุศล คือ เสียหาย หมดดี
กันหะ คือ ทาลายความสุข ถูกรังเกียจ
อาคุ คือ ทาให้ขุ่นเคือง ทาให้เป็นคนร้ายกาจ
วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ,
(กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำวิทยำลัย
รำมคำแหง, ๒๕๔๗), หน้ำ ๑๑๐.
ความหมายของบุญและบาป
ศาสนาพราหมณ์
บุญ  เป็นผลจำกกำรทำตำมคำสอนของเทพเจ้ำ ทำให้เกิดควำมสุข ส่งผลให้ไปเกิดในที่ดี
ในชำติต่อไป
บาป เป็นผลจำกกำรไม่เชื่อฟังคำสอนของเทพเจ้ำ ทำให้เกิดควำมทุกข์
(เชื่อว่ำทั้งบุญและบำปเป็นกำรบันดำลของเทพเจ้ำ)
สิ่งที่ทำให้มนุษย์ทำบำปก็คือ กำม ควำมโกรธ อันเกิดจำกคุณคือระชะ (ควำมรู้สึกสุขที่เจือปน
ด้วยควำมเศร้ำหมอง) บำปในศำสนำพรำหมณ์มีทั้งส่วนที่เป็นบำปจำกกำรกระทำของมนุษย์
เอง แบ่งเป็น บำปหนักคือ กำรฆ่ำพรำหมณ์ กำรฆ่ำเด็กที่ยังไม่เกิด กำรขโมยทองคำ กำรร่วม
ประเวณีกับผู้ทรงศีล เป็นต้น ส่วนบำปเล็กน้อยคือ กำรดื่มสุรำ เฆี่ยนตีสตรี และกำรเล่นกำร
พนัน เป็นต้น
นอกจำกบำปที่เกิดจำกกำรกระทำของมนุษย์เองแล้ว ยังมีบำปที่เกิดขึ้นจำกกำรที่มนุษย์ไม่ทำ
ตำมคำสอน หรือพิธีกรรมทำงศำสนำอีกด้วย วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๐๙.
ความหมายของบุญและบาป
ศาสนาคริสต์
บุญ  เกิดจำกกำรเชื่อฟังพระเจ้ำ
บาป  เกิดจำกกำรที่ซำตำนหลอกให้มนุษย์
ไปติดกับและไม่เชื่อฟังพระเจ้ำ
ศำสนำคริสต์เชื่อว่ำมนุษย์ทุกคนมีบำปกำเนิดติดตัวมำ จำกกำรที่อำดัมและอี
วำฝืนคำสั่งพระเจ้ำ บำปกำเนิดที่ติดตัวมนุษย์มำตั้งแต่เกิดนี้จะเป็นสิ่งที่สั่งให้
มนุษย์ทำชั่ว บำปที่สำคัญคือควำมห่ำงเหินจำกพระเจ้ำ ยิ่งมนุษย์ทำชั่วตำมที่
บำปสั่งให้ทำ ก็จะยิ่งทำให้มนุษย์ห่ำงเหินพระเจ้ำมำกขึ้นเรื่อยๆซึ่งเป็นควำม
บำปที่ร้ำยแรง วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๑๐.
ความหมายของบุญและบาป
ศาสนาอิสลาม
บุญ  เป็นผลมำจำกกำรเชื่อฟังพระอัลเลำะห์ ผลบุญสำมำรถติดตำมไปยังภพหน้ำ
บาป  เกิดจำกกำรที่ซำตำนหลอกให้คนไม่เชื่อฟังพระอัลเลำะห์ บำปหนักที่สุดในศำสนำอิสลำมเรียกว่ำ
“ชีร์ก” (Shirk)
ควำมบำปกำหนดจำกเจตนำเป็นเครื่องตัดสิน เจตนำที่ทำให้เกิดควำมบำปจะต้องมีองค์ประกอบ ๒ ประกำร
คือ
๑.) บรรลุนิติภำวะทำงศำสนำ (ชำย – เริ่มมีอสุจิครั้งแรก, หญิง – เริ่มมีประจำเดือนครั้งแรก)
๒.) มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์
ถ้ำบุคคลใดไม่ทำตำมหลักสำคัญทำงศำสนำเช่น กำรทำละหมำด กำรบริจำคทำน เป็นต้น นั่นคือควำมบำป
ในศำสนำอิสลำม ดังข้อควำมในอัลกุรอำนว่ำ “ผู้ใดประพฤติควำมดีงำมหนึ่ง แน่นอนควำมดีนั้นย่อมเป็นคุณ
แก่ตัวเขำเอง และผู้ใดประพฤติชั่ว ควำมชั่วนั้นจะตอบสนองแก่ตัวเขำเอง แล้วหลังจำกนั้นพวกเขำก็ต้องถูก
นำตัวกลับคืนสู่องค์อภิบำลของพวกเขำ (เพื่อรอรับกำรพิจำรณำ)”***วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๑๑.
**คัมภีร์อัลกุรอาน ๔๕ : ๑๕.
“ชีร์ก” (Shirk) คือกำรนำสิ่งอื่นหรือคนอื่นไปเทียบกับพระเจ้ำ*
สรุปความหมายของบุญและบาปในศาสนาต่างๆ
ศาสนา บุญ ที่มาของบุญ บาป ที่มาของบาป
ศาสนาพุทธ สภำวะจิตใจที่
ปลอดโปร่ง
จิตใจที่บริสุทธิ์ สภำวะจิตใจที่ตกต่ำ โลภ, โกรธ, หลง
ศาสนา
พราหมณ์
ควำมสดชื่น ละกำมและโกรธ,
ทำพิธีกรรม
ควำมเศร้ำหมอง กำม, ควำมโกรธ และ
กำรไม่ทำพิธีกรรม
ศาสนา
คริสต์
กำรได้อยู่ใกล้ชิด
พระเจ้ำ
เชื่อฟังคำสอนของ
พระเจ้ำ
ควำมห่ำงเหินจำก
พระเจ้ำ
บำปกำเนิดติดตัวมนุษย์
ทุกคนมำตั้งแต่เกิด และ
ซำตำนหลอกให้ทำชั่ว
ศาสนา
อิสลาม
กำรที่พระเจ้ำ
คุ้มครอง
เชื่อฟังคำสอนของ
พระเจ้ำ
กำรขัดคำสั่ง, หรือไม่
นับถือพระอัลเลำะห์
มีเจตนำของกำรทำ
ควำมชั่ว
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
ความดี  กำรกระทำเพื่อให้บรรลุเป้ ำหมำยสูงสุดของบุคคล หรือศำสนำนั้นๆ
ความชั่ว  กำรกระทำที่ขัดกับแนวทำงเพื่อกำรบรรลุเป้ ำหมำยสูงสุดนั่นเอง
ดังนั้นหลักคำสอนเรื่องควำมดีของศำสนำต่ำงๆ ก็คือหลักคำสอนที่เป็นไป
เพื่อให้บรรลุเป้ ำหมำยสูงสุดของศำสนำนั้นๆนั่นเอง
ทุกศำสนำมีควำมเชื่อว่ำบำปให้ผลเป็นควำมทุกข์ ควำมตกต่ำ และนำพำให้ไปเกิด
ในภพภูมิที่ไม่ดี ดังนั้น แต่ละศำสนำจึงมีคำสอนถึงวิธีกำรกระทำเพื่อให้พ้นจำกบำป
เพื่อเป็นหนทำงไปสู่ควำมสุข หรือควำมหลุดพ้นจำกควำมทุกข์ในที่สุดนั่นเอง
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
แบ่งตามลาดับขั้นของประโยชน์จากการทาความดี
๑.) ทิฏฐธรรมิกัตถประโยชน์ (ประโยชน์ในขั้นต้น) คือ อุฏฐำนสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยควำม
ขยันหมั่นเพียร), อำรักขสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยกำรรักษำโภคทรัพย์), กัลยำณมิตตตำ (คบคนดีเป็นมิตร) สม
ชีวิตำ (มีควำมเป็นอยู่เหมำะสม) หรือ โภควิภาค ๔ (หลักกำรจัดสรรทรัพย์) คือ เอเกน โภเค ภุญฺเชยฺย (๑
ส่วน ใช้จ่ำยเลี้ยงตนและทำประโยชน์), ทฺวีหิ กมฺม ปโยชเย (๒ ส่วน ใช้ลงทุนประกอบกำรงำน) จตุตฺถญฺจ
นิธำเปยฺย (อีก ๑ ส่วน เก็บไว้ใช้ในครำวจำเป็น)
๒.) สัมปรายิกัตถประโยชน์ (ประโยชน์ในขั้นกลำง) คือ สัทธำสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยศรัทธำ), สีลสัมปทำ
(ถึงพร้อมด้วยศีล), จำคสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยกำรเสียสละ) และ ปัญญำสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยปัญญำ)
๓.) ปรมัตถประโยชน์ (ประโยชน์ขั้นสูงสุด) คือ กำรปฏิบัติเพื่อเป้ ำหมำยสูงสุดในพุทธศำสนำ คือ พระ
นิพพำน (ภำวะซึ่งพ้นจำกกิเลสทั้งปวง) ด้วยวิธีกำรแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ คือ
สัมมำทิฏฐิ (มีควำมเข้ำใจถูกต้อง) สัมมำสังกัปปะ (มีควำมคิดถูกต้อง) สัมมำวำจำ (มีวำจำถูกต้อง)
สัมมำกัมมันตะ (มีกำรงำนถูกต้อง) สัมมำวำยำมะ (มีอำชีพถูกต้อง) สัมมำวำยำมะ (มีควำมเพียรพยำยำม
ถูกต้อง) สัมมำสติ (มีควำมระลึกรู้ตัวทั่วพร้อมในสติปัฏฐำน ๔) สัมมำสติ (ควำมมีใจมั่นคงถูกต้องในฌำน
๔) ดูรำยละเอียดใน องฺ.อฏฺฐก. (ไทย) ๒๓/๕๔/๓๔๐., ที.ปำ. (ไทย) ๑๑/๒๖๕/๒๑๑., องฺ.อฏฐก. (ไทย) ๒๓/๕๔/๓๔๐.
ศาสนาพุทธ
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
ศาสนาพุทธ
แบ่งตามความละเอียดของการทาความดี
จริยธรรมขั้นต้น คือ เบญศีล (ไม่ฆ่ำสัตว์, ไม่ขโมย, ไม่ผิดในกำม, ไม่พูดปด, ไม่เสพ
ของมึนเมำ) เบญจธรรม (เมตตำ-กรุณำ, สัมมำอำชีวะ, กำมสังวร, สัจจะ, สติ-
สัมปชัญญะ)
จริยธรรมขั้นกลาง คือ กรรมบถ ๑๐ (กำยสุจริต, วจีสุจริต, มโนสุจริต)
จริยธรรมขั้นสูง คือ มรรค ๘
สำมำรถสรุปได้ว่ำหลักคำสอนเรื่องควำมดีควำมชั่วทั้งหลำยในศำสนำพุทธสำมำรถรวม
ลงได้ในหลักไตรสิกขำ คือ ศีล สมำธิ ปัญญำ นั่นเอง
ดูรำยละเอียดใน ที.ปำ. (ไทย) ๑๑/๓๑๕/๓๐๒., องฺ.ปญฺจก. (ไทย) ๒๒/๑๗๑/๑๘๒., ม.มู. ๑๒/๔๘๕/๓๖๗
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
พุทธศำสนำมีควำมเชื่อในเรื่องโลกหน้ำ
ดังที่พระพุทธเจ้ำทรงใช้คำว่ำ “ปรโลก”
เป็นประจำเมื่อตรัสสอนถึงหลักควำมดี
และควำมชั่ว โดยเฉพำะคำสอนเรื่อง
“สังสำรวัฏ” ซึ่งเป็นแนวคิดที่อธิบำยถึง
กำรเวียนว่ำยตำยเกิด ซึ่งไปตำมผล
กรรมที่บุคคลได้ทำควำมดีหรือควำมชั่ว
ไว้
สยำม รำชวัตร, “วิธีกำรอ้ำงอิงเหตุผลเพื่อยืนยันควำมมีอยู่ของโลกหน้ำใน
พระพุทธศำสนำเถรวำท”, ใน วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, รวบรวมจัดพิมพ์โดย
มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, (กรุงเทพมหำนคร, ๒๕๕๔), ๑๑๔.
ศาสนาพุทธ จะสำมำรถอ้ำงเหตุผลเพื่อยืนยันควำมมีอยู่ของ
โลกหน้ำตำมแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำทได้
อย่ำงไร?
- อ้ำงด้วยตถำคตโพธิศรัทธำ
- อ้ำงด้วยทฤษฎีกระบวนกำร
- อ้ำงด้วยกำรเปรียบเทียบ
- อ้ำงด้วยประสบกำรณ์
- อ้ำงด้วยทฤษฏีสังสำรวัฏ
- อ้ำงด้วยทฤษฎีโลก
- อ้ำงด้วยทฤษฎีกำเนิด
- อ้ำงด้วยทฤษฎีอภิญญำ
- อ้ำงด้วยประโยชน์กำรปฏิบัติ
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
ศาสนาพราหมณ์
อาศรม ๔ (แนวทำงในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของบุคคล)
พรหมจรรย์ – ตั้งแต่เกิดจนถึงช่วงอำยุ ๒๕ ปี ต้องอยู่ในอำศรมและศึกษำเล่ำเรียน
จำกอำจำรย์
คฤหัสถ์ – เมื่อสำเร็จกำรศึกษำแล้วต้องออกมำแต่งงำน สร้ำงครอบครัว และทำหน้ำที่
ตำมวรรณะของตนจนถึงอำยุ ๕๐ ปี ต้องบำเพ็ญมหำยัญ ๕ คือ บริจำคทรัพย์แก่
พรำหมณ์, บวงสรวงเทวดำ, บูชำบรรพบุรุษ, เลี้ยงดูสัตว์ และ เลี้ยงดูต้อนรับแขกผู้มำ
เยือน
วานปรัสถ์ – เมื่อบุตรธิดำโตเป็นคฤหัสถ์ ก็มอบทรัพย์ให้บุตรธิดำ และออกมำอยู่ป่ำ
เพื่อทำงำนให้ส่วนรวมจนถึงอำยุ ๗๕ ปี
สันยาสี – เมื่ออำยุ ๗๕ ปีก็สละโลก บำเพ็ญสมำธิเพื่อควำมหลุดพ้น หรือโมกษะ
วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๒๓.
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
ศาสนาพราหมณ์
การปฏิบัติโยคะ ๘ (กำรปฏิบัติบำเพ็ญเพียร)
ยะมะ คือ กำรสำรวมระวัง ๕ ประกำร เน้นกำรไม่เบียดเบียน กำรไม่โลภ และกำรรักษำ
พรหมจรรย์
นิยามะ คือ กำรฝึกฝนตนเองให้บริสุทธิ์ทั้งร่ำงกำยและจิตใจ
อาสนะ คือ กำรควบคุมร่ำงกำยในอิริยำบถต่ำงๆ
ปราณยามะ คือ กำรควบคุมลมหำยใจเข้ำออก
ปรัตยาหาระ คือ กำรควบคุมประสำทสัมผัสด้วยกำรเพ่งจิต
ธารณะ คือ กำรควบคุมจิตใจให้แน่วแน่
ธยานะ คือ กำรตั้งจิตให้แน่วแน่อย่ำงสม่ำเสมอ
สมาธิ คือ กำรที่จิตดื่มด่ำในอำรมณ์สมำธิอย่ำงเต็มที่
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
คัมภีร์ฤคเวท (คัมภีร์สอนพระมหำกษัตริย์) “ให้ปฏิบัติชอบต่อประชำชนอย่ำงอ่อนโยนต่อเขำ อย่ำ
เบียดเบียนเขำ จงเป็นเพื่อนของประชำชน เข้ำกันกับประชำชนได้ในกำรบำเพ็ญกิจทำงศำสนำ คือ
กำรบูชำยัญ จงพูดกับประชำชนด้วยดี”
คัมภีร์อถรรพเวท “ขอให้บุตรเป็นผู้ประพฤติสืบต่อคำปฏิญญำของบิดำให้สมบูรณ์ จงแสดงควำม
เคำรพต่อมำรดำ ขอให้ภริยำใช้ถ้อยคำอ่อนหวำน เป็นที่ปลอบประโลมใจต่อสำมี”
คัมภีร์อุปนิษัท “ขอให้มำรดำของเจ้ำ จงเป็นเทพเจ้ำของเจ้ำ ขอบิดำของเจ้ำจงได้รับกำรปฏิบัติ
เสมือนหนึ่งเทพเจ้ำ ขอให้อำจำรย์ของเจ้ำจงได้รับเกียรติดั่งเทพเจ้ำ ขอให้แขกของเจ้ำ จงได้รับกำร
ต้อนรับเอำใจใส่ประหนึ่งเทพเจ้ำ”
คัมภีร์มนูธรรมศาสตร์ “อย่ำทำให้ผู้อื่นบำดเจ็บ ไม่พึงทำร้ำยผู้อื่นทำงใจหรือทำงกำย ไม่พึงเปล่ง
วำจำที่ก่อควำมเจ็บใจแก่เพื่อนมนุษย์ทั้งหลำย”
คัมภีร์มหาภารตะ “กำรต้อนรับด้วยควำมเอื้ออำรี ควรทำแม้ต่อศัตรูผู้เป็นแขกมำหำ เหมือนต้นไม้
ให้ร่มเงำอันเกิดแก่ใบของตนแก่คนที่โค่นตนฉันนั้น” คัมภีร์ฤคเวท, ๑ : ๑๗๐., คัมภีร์อุปนิษัท, ไตตฺติรย-อุปนิษัท, หน้ำ ๖๔.,
คัมภีร์มนูธรรมศาสตร์, ๒ : ๑๖๑., คัมภีร์มหาภารตะ, ๑๒ : ๕๕๒๘.
ศาสนาพราหมณ์
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
หลักบัญญัติ ๑๐ ประการในพระคัมภีร์เก่า
• จงนมัสกำร องค์พระผู้เป็นเจ้ำ พระเจ้ำพระองค์เดียวของท่ำน
• อย่ำออกพระนำมพระเจ้ำโดยไม่สมเหตุ
• อย่ำลืมฉลองวันพระเจ้ำเป็นวันศักดิ์สิทธิ์ (วันสปำโต คือวันเสำร์ วันที่พระเจ้ำหยุดสร้ำงโลก)
• จงนับถือบิดำมำรดำ
• อย่ำฆ่ำคน
• อย่ำผิดประเวณี
• อย่ำลักขโมย
• อย่ำพูดเท็จใส่ร้ำยผู้อื่น
• อย่ำปลงใจผิดประเวณี
• อย่ำมักได้ทรัพย์สินของผู้อื่น
สเฐียร พันธรังสี, ศาสนาเปรียบเทียบ
, (กรุงเทพมหำนคร : สำนักพิมพ์แพร่
พิทยำ, ๒๕๒๑), หน้ำ ๕๓๕.
ศาสนาคริสต์
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
ศาสนาคริสต์
จำกพระบัญญัติ ๑๐ ข้อนี้พระเยซูได้สรุปรวมลงเป็นควำมรัก ๒ ประกำรคือ
จงรักพระเจ้าอย่างสุดจิตสุดใจ (ปรำกฏในพระคัมภีร์เก่ำ พระบัญญัติบทที่ ๓๐ ข้อที่ ๖)
จงรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง (ปรำกฏในพระคัมภีร์เก่ำ เลวีติโก บทที่ ๑๙ ข้อที่ ๑๘ และ
เอกโซโด บทที่ ๒๓ ข้อที่ ๒๒ ปรำกฏในพระคัมภีร์ใหม่ ลูกำ บทที่ ๑๘ ข้อที่ ๗-๘)
หลักคำสอนในพระคัมภีร์ใหม่มีลักษณะใฝ่สงบ สร้ำงสันติ และมีเมตตำกรุณำ
“ผู้ใดตบแก้มของท่ำนข้ำงหนึ่ง จงหันอีกข้ำงหนึ่งให้เขำด้วย และผู้ใดแย่งเอำเสื้อคลุมของท่ำน
ไป ถ้ำเขำจะเอำเสื้อธรรมดำด้วย ก็อย่ำดึงไว้จำกเขำ จงให้แก่ทุกคนที่ขอจำกท่ำน และถ้ำใคร
เอำของของท่ำนไป ก็อย่ำทวงคืน ท่ำนทั้งหลำยปรำรถนำจะให้เขำทำแก่ท่ำนอย่ำงไร ท่ำน
ทั้งหลำยจงกระทำอย่ำงนั้นแก่เขำเหมือนกัน” พระคัมภีร์ใหม่, ลูกำ, ๖ : ๒๙-๓๑.
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
กำรจะรอดพ้นจำกบำปกำเนิดได้นั้น สำมำรถกระทำได้ ๒ วิธีคือ
๑.) ยอมรับความทุกข์เข้ามาในการทนทุกข์ทรมานของพระเยซู เพรำะควำมทุกข์เป็นเรื่อง
ปกติที่มนุษย์ทุกคนต้องประสบ พระเยซูยอมทนทุกข์ทรมำนบนไม้กำงเขนก็เพื่อช่วยไถ่บำปให้
มนุษย์ ดังนั้น เมื่อบุคคลพบควำมทุกข์จึงต้องแปรเปลี่ยนทุกข์เป็นพลังมำช่วยงำนของศำสนจักร
เพื่อให้ตนเองแข็งแกร่งขึ้น
๒.) ยอมรับการช่วยให้รอด เพรำะมนุษย์เป็นคนบำปจึงต้องมีผู้ช่วยให้รอดจำกควำมบำป
มนุษย์สำมำรถยอมรับกำรช่วยให้รอดได้โดย กำรอภัยโทษบำป, กำรกลับใจ, ควำมศรัทธำ, กำรมี
ชีวิตที่สนิทกับพระเจ้ำ
“การไถ่บาป” คือกำรที่พระเยซูทรงเสียสละตนเอง เพื่อไถ่บำปให้มนุษย์รอดพ้นจำกบำปกำเนิด
และเข้ำถึงดินแดนพระเจ้ำได้
“การล้างบาป” คือ กำรให้ผู้อื่นล้ำงบำปให้
“การสารภาพบาป” คือกำรเล่ำเรื่องที่ตนเองทำผิดให้ผู้อื่นฟัง เพื่อให้ผู้อื่นช่วยล้ำงบำปให้
วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๒๘.
ศาสนาคริสต์
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
ศาสนาอิสลาม
บุคคลสำมำรถแสดงศรัทธำต่อพระอัลเลำะห์ได้ ๒ วิธีคือ
การปฏิบัติ ๕ ประการ คือ กำรปฏิญำณตนประกำศศรัทธำ, กำรบำเพ็ญนมัสกำร,
กำรถือบวช, กำรบริจำคซะกำต (บริจำคเงินร้อยละ ๑๐ ที่เหลือจำกค่ำใช้จ่ำยจำเป็น
ให้แก่คลังของกลุ่มมุสลิม หรือวะเกล) และ กำรไปแสวงบุญที่มักกะฮ์
การศรัทธา ๖ ประการ คือ ศรัทธำในพระเจ้ำ, ศรัทธำในเทวทูต, ศรัทธำในคัมภีร์,
ศรัทธำในศำสนทูต, ศรัทธำในวันพิพำกษำ (อำคิเรำะฮ์) และ ศรัทธำในลิขิตของพระเจ้ำ
หำกปฏิบัติตำมหลักทั้ง ๑๑ ประกำร คือกำรปฏิบัติ ๕ และ ศรัทธำ ๖ ได้แล้ว ในวัน
พิพำกษำพระอัลเลำะห์ก็จะตัดสินให้บุคคลนั้นหลุดพ้นจำกบำป ได้อยู่ในสวรรค์อันเป็น
สุขนิรันดร์ วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๒๙.
หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
ศาสนาอิสลาม
“ถ้อยคาที่ให้อภัยอย่างอ่อนหวาน ย่อมดีกว่าการให้ทานแล้วทาร้ายทีหลัง”
“อย่าบูชาผู้ใดเว้นแต่อัลเลาะห์ จงเป็นคนดีต่อบิดามารดา ต่อญาติ ต่อเด็ก
กาพร้า และคนที่ยากจน จงพูดไพเราะต่อมนุษยชาติ จงตั้งการบูชา และจ่ายค่า
ช่วยเหลือคนจน”
“ผู้ใดก็ตามที่ประกอบกรรมชั่ว ย่อมชื่อว่าทาความชั่วเพื่อเป็นปฏิปักษ์ต่อตนเอง
เท่านั้น พระอัลเลาะห์ทรงรู้และฉลาดเสมอ”
“ดูก่อนผู้มีศรัทธา สุราและการพนันเป็นสิ่งชั่วที่เป็นฝีมือของพญามาร จงละทิ้ง
เสียเพื่อว่าเจ้าจะเจริญ”
“จงต่อสู้ในทางของพระอัลเลาะห์ ต่อผู้ที่ต่อสู้เจ้า แต่จงอย่าก่อการสู้รบ (ก่อน)
พระอัลเลาะห์ไม่ทรงรักผู้รุกราน”
คัมภีร์อัลกุรอาน, ซูเรำะห์ที่ ๒:๒๖๓., ซูเรำะห์ที่ ๒:๘๓., ซูเรำะห์ที่ ๔:๑๑๑., ซูเรำะห์ที่ ๕:๙๐., ซูเรำะห์ที่ ๒:๑๙๐.
สรุปหลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว
ในศาสนาต่างๆ
ศาสนา การกระทาเพื่อให้พ้นจากบาป
ศาสนาพุทธ ทำน, ศีล, ภำวนำ, มรรค ๘
ศาสนาพราหมณ์ อำศรม ๔, โยคะ ๘
ศาสนาคริสต์ บัญญัติ ๑๐ ประกำร, รักพระเจ้ำสุดจิตสุดใจ,
รักเพื่อนบ้ำนเหมือนรักตนเอง, กำรกลับใจ
และเชื่อพระเจ้ำ, กำรยอมรับกำรช่วยให้รอด
ศาสนาอิสลาม ปฏิบัติ ๕, ศรัทธำ ๖
ผลลัพธ์ในโลกหน้า
เนื่องจำกควำมเชื่อเรื่องควำมดี-ควำมชั่ว บุญ-บำปในแต่ละศำสนำ มี
ควำมสัมพันธ์อย่ำงใกล้ชิดกับควำมเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ เพรำะทุก
ศำสนำต่ำงเชื่อว่ำกำรทำควำมดีให้ผลเป็นบุญและส่งผลให้ได้ไปเกิดใน
สวรรค์ กำรทำควำมชั่ว ให้ผลเป็นบำปและส่งผลให้ไปเกิดในนรก ในเมื่อ
ควำมเชื่อเรื่องควำมดี-ควำมชั่ว บุญ-บำปในแต่ละศำสนำมีควำม
แตกต่ำงกัน
จึงเป็นเรื่องที่น่ำสนใจเป็นอย่ำงยิ่ง ที่จะ
ศึกษำควำมเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ของแต่ละ
ศำสนำควบคู่กันไป เพื่อให้เข้ำใจในภำพรวม
ของแต่ละศำสนำได้ดียิ่งขึ้น
ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์
นรก คือ ภพภูมิหรือสภำนที่อยู่สำหรับผู้ที่ทำบำปไว้ และบำปส่งผลขณะกำลังจะไปเกิดในภพใหม่ มี
หลำยระดับตำมระดับของบำปที่บุคคลสะสมมำ ดังนี้
• มหานรก มี ๘ ขุม สำหรับผู้ที่เคยฆ่ำหรือทรมำนมนุษย์และสัตว์ เคยเบียดเบียนผู้ทรงศีล
• อุสสุทนรก มี ๑๒๘ ขุม เช่น คูตนรก กุกกุลนรก อสิปัตตนรก เป็นต้น
• ยมโลกินรก มี ๓๒๐ ขุม เช่น โลหกุมภีนรก สิมพลีนรก เป็นต้น
• โลกันตนรก เป็นนรกที่อยู่นอกเขตจักรวำล
สวรรค์ คือ ภพภูมิหรือสถำนที่อยู่ของเทวดำ ผู้ที่มีผลบุญติดตัวมำจะได้ไปเกิดใหม่ในภพภูมิสวรรค์
สวรรค์ก็มีหลำยระดับเช่นเดียวกับนรก แตกต่ำงกันตำมระดับของบุญที่บุคคลสะสมมำ ประกอบด้วย
• อรูปภพ เป็นสวรรค์ชั้นสูงสุด เป็นที่อยู่ของอรูปพรหม คือพรหมที่ไม่มีรูปกำย มีแต่จิต แบ่งเป็น ๔
ระดับชั้น
• รูปภพ เป็นสวรรค์ชั้นรองลงมำ เรียกว่ำ “รูปำวจรภูมิ” เป็นที่อยู่ของพรหมที่มีรูปกำยและจิต แบ่งเป็น
๑๖ ระดับชั้น
• กามภพ เป็นสวรรค์ชั้นต่ำที่สุด เป็นที่อยู่ของเหล่ำเทวดำที่เสพกำม แบ่งเป็น ๖ ระดับชั้น
วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๘๘.
ศาสนาพุทธ
ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์
ศาสนาพราหมณ์
นรก เป็นที่อยู่ของคนที่ประพฤติชั่ว หมอผีและปีศำจที่น่ำ
ขยะแขยง มีแต่ควำมมืดและทรมำน ศำสนำพรำหมณ์เชื่อว่ำ
นรกเป็นสถำนที่แห่งหนึ่งอยู่ลึกลงไปใต้พื้นดิน
สวรรค์ เป็นที่อยู่ของคนที่ประพฤติดี เทพและบรรพบุรุษ เป็นที่
รวมแห่งควำมสุข มีแต่ควำมสว่ำง มีพระอำทิตย์ พระจันทร์
และดวงดำว ศำสนำพรำหมณ์เชื่อว่ำสวรรค์เป็นสถำนที่ที่อยู่สูง
เหนือจำกโลกและอำกำศขึ้นไป
วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๘๕.
ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์
ศาสนาคริสต์
นรก เป็นที่อยู่ของเหล่ำมำร ซำตำน และผู้ที่ปฏิเสธพระ
เจ้ำ ผู้ที่อยู่ในนรกจะได้รับแต่ควำมทุกข์ทรมำนเช่น ถูกโยน
ลงในบึงไฟ และถูกทรมำนตลอดกลำงวันและกลำงคืน
สวรรค์ เป็นสถำนที่ที่พระเจ้ำทรงสร้ำงไว้ เป็นสถำนที่
ประทับของพระเจ้ำและพระเยซู และยังเป็นรำงวัลแก่ผู้ที่มี
ศรัทธำต่อพระเจ้ำ ศำสนำคริสต์เชื่อว่ำสวรรค์เป็นสถำนที่ที่
ทำด้วยอัญมณีและทองคำบริสุทธิ์ เป็นอณำจักรที่ยั่งยืน
ตลอดกำล
วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๘๗.
ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์
ศาสนาอิสลาม
นรก เป็นที่อยู่ของผู้ที่ไม่ศรัทธำในพระอัลเลำะห์ เป็นกำรลงโทษที่มีแต่ควำมทุกข์ทรมำน
เริ่มจำกนรกยะฮันนัม ซึ่งชำวนรกจะถูกบังคับให้ดื่มน้ำหนองที่ไหลออกจำกชำวนรก
ด้วยกัน เมื่อออกจำกนรกยะฮันนัม ก็จะต้องถูกคล้องตรวนมือเข้ำกับต้นคอ และอยู่ในที่
คับแคบที่สุดอย่ำงนิรันดร
สวรรค์ เป็นสถำนที่ประทับของพระอัลเลำะห์ และผู้ที่เคำรพศรัทธำพระองค์ เป็น
สถำนที่สวยงำมมีธำรน้ำหลำยสำยอยู่เบื้องใต้ ไม่มีควำมเหนื่อยยำกใดๆ ผู้ที่ได้รับกำร
อนุมัติจำกพระอัลเลำะห์จะได้อยู่ในสวรรค์ตลอดกำล
วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๘๙.
สรุปความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ในศาสนาต่างๆ
ศาสนา พุทธ พราหมณ์ คริสต์ อิสลาม
นรก
สร้างโดย ธรรมชำติ เทพเจ้ำ พระยะโฮวำ พระอัลเลำะห์
เป็นที่อยู่ของ ผู้ทำควำมชั่ว ผู้ทำควำมชั่ว มำร,ซำตำน และผู้ที่ไม่
ศรัทธำพระเจ้ำ
ผู้ไม่ศรัทธำพระอัลเลำะห์
ลักษณะ มีหลำยระดับตำม
ระดับควำมบำป
มีแต่ควำมมืดและ
ทรมำน
ถูกทรมำนโดยโยนลงบึงไฟ ถูกทรมำนและขังไว้ชั่วนิรันดร์
ที่ตั้ง เป็นภพภูมิ อยู่ลึกใต้ดิน อยู่ใต้โลก อยู่ใต้โลก
สวรรค์
สร้างโดย ธรรมชำติ เทพเจ้ำ พระยะโฮวำ พระอัลเลำะห์
เป็นที่อยู่ของ ผู้ทำควำมดี ผู้ทำควำมชั่ว พระเจ้ำ, พระเยซู และผู้ที่
ศรัทธำพระเจ้ำ
พระอัลเลำะห์และผู้ที่ศรัทธำ
พระองค์
ลักษณะ มีหลำยระดับตำม
ระดับของบุญ
มีแต่ควำมสว่ำงและ
ควำมสุข
สร้ำงจำกทองคำ อัญมณี มี
แต่ควำมสุขนิรันดร์
สวยงำม มีธำรน้ำไหลเบื้องล่ำง ไม่มี
ควำมเหนื่อยยำก
ที่ตั้ง เป็นภพภูมิ อยู่เหนือโลกและอำกำศ อยู่เหนือโลก อยู่เหนือโลก
ผลลัพธ์ในโลกนี้
ความทุกข์ เป็นปัญหำใหญ่ของคนทุกชนชำติ ทุกศำสนำ เป็นเรื่องที่เป็นผล
โดยตรงกับกำรทำควำมดีควำมชั่วในหลักศำสนำสำกล คือ ทุกศำสนำเชื่อว่ำ
กำรทำควำมดีให้ผลเป็นบุญ เกิดควำมสุข ส่วนกำรทำควำมชั่วให้ผลเป็นบำป
เกิดควำมทุกข์ คนในทุกศำสนำล้วนต้องกำรควำมสุข เกลียดควำมทุกข์ จึงควร
ศึกษำเพิ่มเติมในเรื่องควำมเชื่อเรื่องควำมทุกข์ในศำสนำต่ำงๆเพิ่มเติมพอ
สังเขป เพื่อให้เข้ำใจแนวคิดของแต่ละศำสนำอย่ำงละเอียดยิ่งขึ้น
ความเชื่อเรื่องความทุกข์
ทุกข์  ควำมทนได้ยำก และ ภำวะที่ไม่ปรำรถนำ
ทุกข์เป็นภำวะที่เป็นไปตำมกฎธรรมชำติ ซึ่งทำให้สิ่งต่ำงๆไม่สำมำรถคงสภำพเดิมไว้ได้ รวมถึงภำวะบีบ
คั้นทำงจิตใจต่ำงๆ กล่ำวได้ว่ำทุกข์นั้นแยกได้เป็น ๒ ประเภทคือ ทุกข์กำยและทุกข์ใจ (ควำมเกิด ควำม
ชรำ ควำมตำย ควำมโศก ควำมคร่ำครวญ ควำมทุกข์กำย ควำมทุกข์ใจ ควำมคับแค้นใจ ควำมต้อง
ประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ควำมพลัดพรำกจำกสิ่งที่เป็นที่รัก และควำมปรำรถนำสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น)
ศาสนาพุทธ
สาเหตุ
กำรยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ ๕ คือ ควำมยึดมั่นถือมั่นในตนเอง และตัณหา (ควำม
อยำกในกำมคุณ ๕ (กำมวัตถุ) และ ควำมใคร่ที่อยู่ในใจ (กิเลสกำม คือ ภวตัณหำ ควำม
อยำกมีอยำกเป็นและ วิภวตัณหำ ควำมไม่อยำกมีไม่อยำกเป็น))
ความเชื่อเรื่องความทุกข์
ทุกข์  มำยำที่เกิดขึ้นกับมนุษย์
• สาเหตุ ๓ ประกำรคือ จำกธรรมชำติภำยในร่ำงกำย จำกธรรมชำติภำยนอกร่ำงกำย
และ สิ่งเหนือธรรมชำติภำยนอกร่ำงกำย
• มำจำกกรรมที่สะสมมำในอดีต กรรมที่ให้ผลในชำตินี้และกรรมในปัจจุบัน
• สิ่งทั้งหลำยที่มนุษย์รับรู้นั้นเป็นมำยำซึ่งเป็นผลจำกกรรม เช่น ควำมสว่ำงและควำม
ร้อนเป็นมำยำของพระอำทิตย์ ควำมเย็นเป็นมำยำของหิมะ เป็นต้น ส่วนทุกข์และสุขที่
เกิดขึ้นนั้นเป็นมำยำจำกปรมำตมันนั่นเอง
• มำยำเหล่ำนี้มีสภำพที่ปรำศจำกสัมปชัญญะ ตรงข้ำมกับพรหมันซึ่งเป็นควำมสุข
เมื่อใดมนุษย์ไม่ติดกับมำยำก็จะได้พบกับควำมสุขสูงสุด
วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๑๒.
ศาสนาพราหมณ์
ความเชื่อเรื่องความทุกข์
ศาสนาพราหมณ์
ในศรีมัทภควัทคีตากล่ำวว่ำ “สำหรับผู้ซึ่งข้องอยู่ในเครื่องอุปโภค บริโภคมีจิตอันคำ
สอนนั้นครอบงำแล้ว พุทธิอันมั่นคงย่อมไม่ดิ่งลงสู่สมำธิได้” และ “อำตมำถูกมำยำแห่ง
โยคะหุ้มไว้แล้วไม่สำแดงให้ปรำกฏแห่งสรรพ สัตว์โลกนี้เป็นผู้งมงำยจึงไม่รู้จักอำตมำ”
ศรีมัทภควัทคีตา โศลกที่ ๔๔ อัธยำยที่ ๒., ศรีมัทภควัทคีตา โศลกที่ ๒๕ อัธยำยที่ ๗.
ความเชื่อเรื่องความทุกข์ ศาสนาคริสต์
ทุกข์  ควำมเดือดร้อน เจ็บปวด ผิดหวัง คับแค้นใจ เกิดทั้งทำงร่ำงกำยและจิตใจ
ในคัมภีร์ไบเบิลได้กล่ำวถึงควำมทุกข์ไว้มำกมำย แบ่งเป็นหลำยประเภทดังนี้
ควำมทุกข์เนื่องจำกควำมกลัวตำย, เนื่องจำกควำมรัก, เนื่องจำกไม่มีบุตรสืบสกุล, เนื่องจำก
ถูกข่มเหงรังแก, เนื่องมำจำกได้รับกำรดูถูกดูหมิ่น, เนื่องมำจำกต้องพลัดพรำกจำกสิ่งที่ตนเอง
รัก, เนื่องมำจำกควำมโลภ, เนื่องมำจำกควำมยำกจน, เนื่องมำจำกควำมหิวโหย, เนื่องจำก
พระคริสต์ (ควำมทุกข์ที่เกิดขึ้นเนื่องมำกจำกกำรเผยแพร่คำสอนของศำสนำ), เนื่องมำจำก
ควำมห่วงใยในทรัพย์สมบัติ, เนื่องมำจำกกำรถูกทอดทิ้ง, เนื่องมำจำกกำรที่พระเจ้ำทดสอบ
มนุษย์ (กำรที่พระเจ้ำทรงทดสอบควำมอดทนของมนุษย์ด้วยกำรให้พบกับควำมยำกลำบำก),
เนื่องมำจำกกำรที่พระเจ้ำต้องกำรปรับปรุงนิสัยของมนุษย์, เนื่องมำจำกกำรถูกคุมขัง,
เนื่องมำจำกโรคภัยไข้เจ็บ, เนื่องมำจำกผีเข้ำ, เนื่องมำจำกกำรถูกลงโทษบำป
สาเหตุ - เกิดมำจำกควำมบำป ที่อำดัมกับอีวำได้ล่วงละเมิดพระบัญญัติของพระเจ้ำนั่นเอง
ความเชื่อเรื่องความทุกข์
ทุกข์และความสุข  เกิดขึ้นจำกกำรกระทำของมนุษย์ซึ่งถูกอำนำจ ๒ ฝ่ำยแนะนำ ฝ่ำยดีคือ
มลำอิกะฮ์ หรือเทวทูต และฝ่ำยขัดขืนคือ ชัยฏอย หรือมำร
สาเหตุ
• กำรที่พระเจ้ำประทำนควำมทุกข์ให้มนุษย์ได้รู้จัก เพรำะวันข้ำงหน้ำมนุษย์จะได้พบทุกข์ที่ยิ่งใหญ่
มำกกว่ำ
• เป็นกำรลงโทษของพระเจ้ำ เพรำะมนุษย์ไม่ทำในสิ่งที่พระเจ้ำสั่งสอน หรือ ทำในสิ่งที่พระเจ้ำทรงห้ำม
• เป็นกำรที่พระเจ้ำทรงทดสอบศักยภำพและควำมมั่นคงในศรัทธำของมนุษย์ที่มีต่อพระเจ้ำ
ดังที่พระอัลเลำะห์ตรัสว่ำ “เรำได้บันดำลบำงส่วนของพวกเจ้ำให้เป็นข้อทดสอบสำหรับอีกบำงส่วน (ให้
บำงคนมั่งมี บำงคนยำกจน) พวกเจ้ำจะอดทนได้หรือไม่? ทุกๆชีวิตย่อมได้ลิ้มรสควำมตำยและเรำจะ
ทดสอบพวกเจ้ำอย่ำงจริงจังด้วยควำมยำกแค้นและควำมสุขสบำย (ที่สลับหมุนเวียนกันไป) และพวก
เจ้ำจะถูกนำตัวกลับมำยังเรำ (เพื่อรอรับกำรพิพำกษำต่อไป)” คัมภีร์อัลกุรอาน ๒๑ : ๓๕.
ศาสนาอิสลาม
สรุปความเชื่อเรื่องความทุกข์ในศาสนาต่างๆ
หัวข้อ พุทธ พราหมณ์ คริสต์ อิสลาม
ความหมาย
ของความทุกข์
สภำพที่ทนได้ยำก มำยำที่เกิดขึ้น ควำมเจ็บปวดทำง
ร่ำงกำยและวิญญำณ
ควำมไม่สบำยกำยไม่
สบำยใจ
ประเภทความ
ทุกข์
๑.ทุกข์จำกภำยใน
ร่ำงกำย
๒. ทุกข์จำก
ภำยนอกร่ำงกำย
๓.ทุกข์จำกสิ่ง
เหนือธรรมชำติ
ทุกข์กำยและทุกข์
ใจ
ทุกข์กำยและทุกข์ใจ ทุกข์กำยและทุกข์ใจ
สาเหตุแห่ง
ทุกข์
ควำมชั่วและควำม
หลงผิด
กำมตัณหำ,
ภวตัณหำ,
วิภวตัณหำ
พระเจ้ำลงโทษ, พระ
เจ้ำทดสอบจิตใจ และ
พระเจ้ำปรับปรุงนิสัย
พระเจ้ำประทำน, พระ
เจ้ำลงโทษ และพระ
เจ้ำทดสอบศรัทธำ
ขอขอบพระคุณในการติดตามชม หวังว่าการนาเสนอครั้งนี้จะทาให้ท่านได้เข้าใจในความเชื่อ
เรื่องความดีความชั่ว บุญบาป ในศาสนาต่างๆมากขึ้น
และเกิดประโยชน์แก่การศึกษาพระพุทธศาสนาของทุกท่านต่อไป
และขออนุโมทนาสาธุในบุญทุกประการของทุกท่าน ขอให้เจริญร่มเย็นในธรรม ตลอดกาล
เทอญ สาธุ
พระอธิการสุทิน อตฺตทีโป
นางสาวอัญชลี จตุรานน

More Related Content

What's hot

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 

What's hot (20)

แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 

Similar to เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ

เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
Tongsamut vorasan
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy48
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
 

Similar to เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ (16)

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ประเพณีทำบุญตายาย
ประเพณีทำบุญตายายประเพณีทำบุญตายาย
ประเพณีทำบุญตายาย
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 

More from Anchalee BuddhaBucha

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
Anchalee BuddhaBucha
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
Anchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
Anchalee BuddhaBucha
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Anchalee BuddhaBucha
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
Anchalee BuddhaBucha
 

More from Anchalee BuddhaBucha (15)

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 

เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ

  • 1. เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความ ดีความชั่วในศาสนาต่างๆ จัดทาโดย พระอธิการสุทิน อตฺตทีโป นางสาวอัญชลี จตุรานน นำเสนอ อำจำรย์ ดร. สยำม รำชวัตร ในรำยวิชำ ศำสนำเปรียบเทียบ ตำมหลักสูตรปริญญำพุทธศำสตรมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตเชียงใหม่ ภำคเรียนที่ ๒ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๕ และเพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำ ธรรมบูชำ สังฆบูชำ
  • 2. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อศึกษำควำมหมำยของควำมดีควำมชั่วในศำสนำต่ำงๆ ๒. เพื่อศึกษำควำมหมำยของบุญและบำปในศำสนำต่ำงๆ ๓. เพื่อศึกษำหลักคำสอนเกี่ยวกับควำมดีควำมชั่วในศำสนำต่ำงๆ ๔. เพื่อศึกษำควำมเชื่อเรื่องผลลัพธ์ของกำรทำควำมดีควำมชั่วต่อ ชีวิตหลังควำมตำย ๕. เพื่อศึกษำควำมเชื่อเรื่องผลลัพธ์ของกำรทำควำมดีควำมชั่วต่อ ชีวิตปัจจุบัน ๖. เพื่อให้เข้ำใจแนวคิดของแต่ละศำสนำเพื่อนำมำซึ่งควำมเข้ำใจ กำรให้อภัยกัน และสันติภำพของโลก
  • 3. หัวข้อการเปรียบเทียบ ๑. ควำมหมำยของควำมดีควำมชั่วในศำสนำต่ำงๆ ๒. ควำมหมำยของบุญและบำปในศำสนำต่ำงๆ ๓. หลักคำสอนเกี่ยวกับควำมดีควำมชั่วในศำสนำต่ำงๆ ๔. ควำมเชื่อเรื่องผลลัพธ์ของกำรทำควำมดีควำมชั่วต่อชีวิตหลัง ควำมตำย ๕. เควำมเชื่อเรื่องผลลัพธ์ของกำรทำควำมดีควำมชั่วต่อชีวิต ปัจจุบัน
  • 5. สาเหตุที่ควรศึกษาความเชื่อเรื่องความดี ความชั่วในศาสนาต่างๆ • ศำสนำทุกศำสนำสอนให้คนเป็นคนดี แต่ ก็ยังเกิดควำมขัดแย้งและสงครำม ศำสนำ • ทุกศำสนำสอนให้คนเป็นคนดี แต่ควำมเชื่อในเรื่องควำมดี-ควำมชั่วในแต่ละ ศำสนำนั้นไม่เหมือนกัน • คนต่ำงศำสนำมีประสบกำรณ์ศำสนำต่ำงกัน ทำให้ไม่เข้ำใจกันและกัน • คนคลั่งศำสนำอำจมีกำรตีควำมคำสอนผิดไป ซึ่งเป็นเหตุนำไปสู่ควำมรุนแรงและ ควำมขัดแย้งระหว่ำงศำสนำ • กำรทำควำมเข้ำใจในควำมเชื่อเรื่องควำมดี-ควำมชั่ว ของแต่ละศำสนำ ด้วยความ เป็นกลาง จะทำให้เข้ำใจกันมำกขึ้น และนำมำซึ่งสันติภำพ
  • 6. ศึกษาเปรียบเทียบอย่างเป็นกลาง “แต่ละคนจะไม่บูชำแต่ศำสนำของตนเองและกล่ำวหำศำสนำของคนอื่น แต่จะต้องบูชำศำสนำของ ตนเองด้วยเหตุผลนี้หรือเหตุผลนั้น ดังนี้จะช่วยให้ศำสนำของตนเองเจริญก้ำวหน้ำและรับใช้ศำสนำ ของคนอื่นๆด้วย ถ้ำไม่เป็นเช่นนั้นแล้ว ก็เหมือนกับกำรขุดหลุมฝังศำสนำของตนเอง และให้โทษแก่ ศำสนำของคนอื่น ที่ทำไปเพรำะศรัทธำในศำสนำของตนเอง โดยคิดเอำเองว่ำข้ำจะให้สิริมงคลแก่ ศำสนำของข้ำฯ แต่ตรงกันข้ำมเขำจะทำร้ำยศำสนำของตนเองอย่ำงสำหัส สำมัคคีนั่นแหละดี จงฟัง เถิดจงมีควำมตั้งใจที่จะฟังศำสนำของคนอื่นด้วย” Rahula Walpala, พระพุทธเจ้าสอนอะไร, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๒๕๓๒), หน้ำ ๔๔-๔๕. “ถ้ำทำกำรเปรียบเทียบด้วยเจตนำที่บริสุทธิ์แล้ว เรำจะพบว่ำ ทุกศำสนำมีเจตนำตรงกันและอำจร่วมมือกันได้ในกำรสร้ำง สันติสุขหรือสันติภำพให้แก่ชีวิตทั้งหลำยในสำกลโลก” พุทธทำสภิกขุ, พุทธ-คริสต์ในทัศนะท่านพุทธทาส, (กรุงเทพมหำนคร : พลพันธ์กำรพิมพ์, ๒๕๒๗), หน้ำ ๑๓.
  • 7. ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว ความดี การกระทา เพื่อให้บรรลุ เป้ าหมาย ให้ผลเป็นบุญ เกิดความสุข บรรลุ เป้ าหมาย เป้ าหมายทาง ศาสนา ศาสนาพุทธ นิพพาน (ภาวะหลุด พ้นจากกิเลส) ศาสนาพราหมณ์ โมกษะ (การเข้าไป รวมกับพรหมัน) ศาสนาคริสต์ อยู่ในดินแดนพระเจ้า (สวรรค์นิรันดร) ศาสนาอิสลาม อยู่ในดินแดนพระเจ้า (สวรรค์นิรันดร) ความชั่ว การกระทาที่ ทาให้ไม่บรรลุ เป้ าหมาย ให้ผลเป็น บาป เกิดความทุกข์ ไม่บรรลุ เป้ าหมาย
  • 8. ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว ศาสนาพุทธ ความดี ตรงกับศัพท์ภำษำบำลีว่ำ บุญและกุศล ส่วนความชั่วตรงกับภำษำบำลีว่ำ บำปและ อกุศล กุศลมีควำมหมำย ๔ ประกำร คือ ๑.) อาโรคยะ ควำมไม่มีโรค หมำยถึง จิตที่มีสุขภำพดี ไม่ถูกบีบคั้น ไม่กระสับกระส่ำย ใช้ งำนได้ดี ๒.) อนวัชชะ ไม่มีโทษ หรือไร้ตำหนิ หมำยถึง ไม่มัวหมอง ไม่ขุ่นมัว สะอำด ๓.) โกศลสัมภูต เกิดจำกปัญญำ หรือเกิดจำกควำมฉลำด หมำยถึง ภำวะที่จิตประกอบอยู่ ด้วยปัญญำ มองเห็นหรือรู้เท่ำทันควำมเป็นจริง ๔.) สุขวิบาก มีสุขเป็นผล หมำยถึง เป็นสภำพที่ทำให้มีควำมสุข ส่วนอกุศลมีควำมหมำยตรงกันข้ำม คือ เป็นสภำพจิตที่มีโรค มีโทษ เกิดจำกอวิชชำ และมี ทุกข์เป็นผล
  • 9. ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว ศาสนาพุทธ เป้ ำหมำยในชีวิตต่ำงกัน  เกณฑ์กำรวัดควำมดีควำมชั่วของภิกษุและคฤหัสถ์จึง ต่ำงกัน  ศีลจึงต้องต่ำงกัน เกณฑ์ตัดสินความดี ความชั่ว • ตำมหลักอธิปไตย ๓ (อัตตำธิปไตย, โลกำธิปไตย, ธรรมำธิปไตย) • ตำมหลักในกำลำมสูตร (พึงรู้ด้วยตนเองว่ำสิ่งเหล่ำนี้เป็นกุศลหรืออกุศล เป็นคุณ หรือโทษ เป็นประโยชน์หรือมิใช่ประโยชน์ วิญญูชนสรรเสริญหรือติเตียน) • ตำมมติของพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ใช้ เกณฑ์หลัก (พิจำรณำมูลเหตุว่ำเป็น เจตนำเกิดจำกกุศลมูล หรือเกิดจำกอกุศลมูล ช่วยให้กุศลธรรมทั้งหลำยเจริญงอก งำมขึ้นหรือไม่) เกณฑ์รอง (พิจำรณำว่ำกำรกระทำนั้นตนเองติเตียนตนเองได้ หรือไม่ เสียควำมเคำรพตนเองหรือไม่ บัณฑิตชนยอมรับหรือไม่)
  • 10. ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว ศาสนาพราหมณ์ กำรปฏิบัติตำมคำสอนของเทพเจ้ำ ควำมดี มีผลเป็นบุญและควำมสุข กำรละเมิดคำสอนของเทพเจ้ำ  ควำมชั่ว มีผลเป็นบำปและควำมทุกข์ ศำสนำพรำหมณ์มีควำมเชื่อเกี่ยวกับเรื่องควำมดี-ควำมชั่ว บุญ-บำป สุข-ทุกข์ ออกเป็น ๒ แนวทำง แนวทางที่ ๑ เชื่อว่ำ ควำมดี-บุญ-ควำมสุข เกิดจำกเทพเจ้ำฝ่ำยดีบันดำล ส่วนควำม ชั่ว-บำป-ควำมทุกข์ เกิดจำกเทพเจ้ำฝ่ำยมำรบันดำล แนวทางที่ ๒ เชื่อว่ำ ทั้งควำมดี-ควำมชั่ว บุญ-บำป ควำมสุข-ควำมทุกข์ ล้วนเกิดจำก เทพเจ้ำองค์เดียวกันบันดำล เพื่อสอนให้คนรู้จักควำมจริงของชีวิต รองศำสตรำจำรย์ ฟื้น ดอกบัว, ศาสนาเปรียบเทียบ, (กรุงเทพมหำนคร : โสภณกำร พิมพ์, ๒๕๓๗), หน้ำ ๒๘๔.
  • 11. ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว ศาสนาคริสต์ กำรเชื่อฟังพระเจ้ำ  เป็นควำมดี ทำให้มีควำมสุข เป็นบุญติดตำมไปยังโลกหน้ำ ควำมชั่วหรือบำป  เกิดจำกกำรที่ซำตำนหลอกให้มนุษย์ไปติดกับโดยหลอกให้ขัด คำสั่งพระเจ้ำ ดังเช่นที่อำดัมและอีวำขัดคำสั่งพระเจ้ำโดยกำรรับประทำนผลไม้ต้องห้ำม | V ทำให้มนุษย์มีบำปกำเนิดติดตัวทุกคน บำงทัศนะก็เชื่อว่ำ ซำตำนก็อยู่ภำยใต้กำรควบคุมของพระเจ้ำ มีหน้ำที่ยุยงให้คนทำชั่ว เพื่อเป็นกำรทดสอบจิตใจ และทดสอบศรัทธำของคริสต์ศำสนิกชนที่มีต่อพระเจ้ำ และ เพื่อพัฒนำจิตให้มีควำมมุ่งมั่นต่อพระเจ้ำเป็นลำดับขึ้นไป รองศำสตรำจำรย์ ฟื้น ดอกบัว, ศาสนา เปรียบเทียบ, หน้ำ ๒๘๗.
  • 12. ความหมายของคาว่า ความดี-ความชั่ว ศาสนาอิสลาม กำรเชื่อฟังพระอัลเลำะห์  เป็นควำมดี มีผลเป็นบุญและควำมสุขติดตัว ไปยังภพหน้ำ ควำมชั่ว หรือบำป  เกิดจำกไซตอน หรือซำตำน หลอกให้ คนออกนอกเส้นทำงที่พระอัลเลำะห์วำงไว้ แต่บำงทัศนะก็มีควำมเชื่อว่ำ แม้แต่ควำมชั่วก็เป็นสิ่งที่พระอัลเลำะห์สร้ำง ขึ้นมำ ด้วยเหตุผล ๒ ประกำรคือ เพื่อลงโทษคนทำชั่วให้หลำบจำ และเพื่อ เป็นเครื่องพิสูจน์ศรัทธำต่อพระองค์ รองศำสตรำจำรย์ ฟื้น ดอกบัว, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๒๘๗.
  • 13. สรุปความหมายของความดีความชั่ว ในศาสนาต่างๆ ศาสนา ความดี ความชั่ว ศาสนาพุทธ กำรกระทำที่ไม่เป็นโทษ ไม่ เบียดเบียนตนเองหรือผู้อื่น พัฒนำจิตใจให้บรรลุ เป้ ำหมำยคือควำมหลุดพ้น (พระนิพพำน) กำรกระทำที่เป็นโทษ เบียดเบียนตนเองหรือผู้อื่น ทำ ให้จิตใจตกต่ำ มัวเมำ ศาสนาพราหมณ์ กำรปฏิบัติตำมคำสอนของ เทพเจ้ำ กำรละเมิดคำสอนของเทพเจ้ำ ศาสนาคริสต์ กำรเชื่อฟังพระเจ้ำ กำรขัดคำสั่งพระเจ้ำ ศาสนาอิสลาม กำรเชื่อฟังพระอัลเลำะห์ กำรขัดคำสั่งพระอัลเลำะห์
  • 14. ความหมายของบุญและบาป บุญ เป็นสิ่งที่มีควำมหมำยในทำงดี มีควำมหมำยโดยรวมเป็นผลที่ ได้จำกกำรทำควำมดี นำมำซึ่งควำมสุข บาป มีควำมหมำยในทำงไม่ดี มีควำมหมำยโดยรวมเป็นผลที่ได้ จำกกำรทำควำมชั่ว นำมำซึ่งควำมทุกข์
  • 16. ความหมายของบุญและบาป ศาสนาพุทธ บาปในศาสนาพุทธหมายถึง การที่มีสภาวะจิตตกต่าลง มีลักษณะส่งผลให้ถึงทุคติ (ภพภูมิเบื้อง ต่า) สิ่งที่ทาให้เกิดบาปคือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ในจิตใจมนุษย์ นอกจากคาว่า บาป แล้ว ในศาสนาพุทธยังมีอีกหลายคาที่ใช้เรียกแทนคาว่าบาป ดังนี้ บาป คือ การให้ถึงความพินาศ ให้ถึงคติชั่ว กิมพิส คือ การให้ถูกลงโทษ ถูกจองจา เวร คือ ทาให้เกียจชัง อม คือ ทาให้เศร้า ไม่สดชื่นแจ่มใส ทาให้เจ็บปวดใจ ทุจริต คือ ประพฤติชั่วทางกาย วาจา ใจ ทุกกฎ คือ ทาชั่วทางกาย วาจา ใจ อปุญญ คือ หมดบุญ ไม่บริสุทธิ์ อกุศล คือ เสียหาย หมดดี กันหะ คือ ทาลายความสุข ถูกรังเกียจ อาคุ คือ ทาให้ขุ่นเคือง ทาให้เป็นคนร้ายกาจ วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์มหำวิทยำลัย รำมคำแหง, ๒๕๔๗), หน้ำ ๑๑๐.
  • 17. ความหมายของบุญและบาป ศาสนาพราหมณ์ บุญ  เป็นผลจำกกำรทำตำมคำสอนของเทพเจ้ำ ทำให้เกิดควำมสุข ส่งผลให้ไปเกิดในที่ดี ในชำติต่อไป บาป เป็นผลจำกกำรไม่เชื่อฟังคำสอนของเทพเจ้ำ ทำให้เกิดควำมทุกข์ (เชื่อว่ำทั้งบุญและบำปเป็นกำรบันดำลของเทพเจ้ำ) สิ่งที่ทำให้มนุษย์ทำบำปก็คือ กำม ควำมโกรธ อันเกิดจำกคุณคือระชะ (ควำมรู้สึกสุขที่เจือปน ด้วยควำมเศร้ำหมอง) บำปในศำสนำพรำหมณ์มีทั้งส่วนที่เป็นบำปจำกกำรกระทำของมนุษย์ เอง แบ่งเป็น บำปหนักคือ กำรฆ่ำพรำหมณ์ กำรฆ่ำเด็กที่ยังไม่เกิด กำรขโมยทองคำ กำรร่วม ประเวณีกับผู้ทรงศีล เป็นต้น ส่วนบำปเล็กน้อยคือ กำรดื่มสุรำ เฆี่ยนตีสตรี และกำรเล่นกำร พนัน เป็นต้น นอกจำกบำปที่เกิดจำกกำรกระทำของมนุษย์เองแล้ว ยังมีบำปที่เกิดขึ้นจำกกำรที่มนุษย์ไม่ทำ ตำมคำสอน หรือพิธีกรรมทำงศำสนำอีกด้วย วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๐๙.
  • 18. ความหมายของบุญและบาป ศาสนาคริสต์ บุญ  เกิดจำกกำรเชื่อฟังพระเจ้ำ บาป  เกิดจำกกำรที่ซำตำนหลอกให้มนุษย์ ไปติดกับและไม่เชื่อฟังพระเจ้ำ ศำสนำคริสต์เชื่อว่ำมนุษย์ทุกคนมีบำปกำเนิดติดตัวมำ จำกกำรที่อำดัมและอี วำฝืนคำสั่งพระเจ้ำ บำปกำเนิดที่ติดตัวมนุษย์มำตั้งแต่เกิดนี้จะเป็นสิ่งที่สั่งให้ มนุษย์ทำชั่ว บำปที่สำคัญคือควำมห่ำงเหินจำกพระเจ้ำ ยิ่งมนุษย์ทำชั่วตำมที่ บำปสั่งให้ทำ ก็จะยิ่งทำให้มนุษย์ห่ำงเหินพระเจ้ำมำกขึ้นเรื่อยๆซึ่งเป็นควำม บำปที่ร้ำยแรง วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๑๐.
  • 19. ความหมายของบุญและบาป ศาสนาอิสลาม บุญ  เป็นผลมำจำกกำรเชื่อฟังพระอัลเลำะห์ ผลบุญสำมำรถติดตำมไปยังภพหน้ำ บาป  เกิดจำกกำรที่ซำตำนหลอกให้คนไม่เชื่อฟังพระอัลเลำะห์ บำปหนักที่สุดในศำสนำอิสลำมเรียกว่ำ “ชีร์ก” (Shirk) ควำมบำปกำหนดจำกเจตนำเป็นเครื่องตัดสิน เจตนำที่ทำให้เกิดควำมบำปจะต้องมีองค์ประกอบ ๒ ประกำร คือ ๑.) บรรลุนิติภำวะทำงศำสนำ (ชำย – เริ่มมีอสุจิครั้งแรก, หญิง – เริ่มมีประจำเดือนครั้งแรก) ๒.) มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์ ถ้ำบุคคลใดไม่ทำตำมหลักสำคัญทำงศำสนำเช่น กำรทำละหมำด กำรบริจำคทำน เป็นต้น นั่นคือควำมบำป ในศำสนำอิสลำม ดังข้อควำมในอัลกุรอำนว่ำ “ผู้ใดประพฤติควำมดีงำมหนึ่ง แน่นอนควำมดีนั้นย่อมเป็นคุณ แก่ตัวเขำเอง และผู้ใดประพฤติชั่ว ควำมชั่วนั้นจะตอบสนองแก่ตัวเขำเอง แล้วหลังจำกนั้นพวกเขำก็ต้องถูก นำตัวกลับคืนสู่องค์อภิบำลของพวกเขำ (เพื่อรอรับกำรพิจำรณำ)”***วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๑๑. **คัมภีร์อัลกุรอาน ๔๕ : ๑๕. “ชีร์ก” (Shirk) คือกำรนำสิ่งอื่นหรือคนอื่นไปเทียบกับพระเจ้ำ*
  • 20. สรุปความหมายของบุญและบาปในศาสนาต่างๆ ศาสนา บุญ ที่มาของบุญ บาป ที่มาของบาป ศาสนาพุทธ สภำวะจิตใจที่ ปลอดโปร่ง จิตใจที่บริสุทธิ์ สภำวะจิตใจที่ตกต่ำ โลภ, โกรธ, หลง ศาสนา พราหมณ์ ควำมสดชื่น ละกำมและโกรธ, ทำพิธีกรรม ควำมเศร้ำหมอง กำม, ควำมโกรธ และ กำรไม่ทำพิธีกรรม ศาสนา คริสต์ กำรได้อยู่ใกล้ชิด พระเจ้ำ เชื่อฟังคำสอนของ พระเจ้ำ ควำมห่ำงเหินจำก พระเจ้ำ บำปกำเนิดติดตัวมนุษย์ ทุกคนมำตั้งแต่เกิด และ ซำตำนหลอกให้ทำชั่ว ศาสนา อิสลาม กำรที่พระเจ้ำ คุ้มครอง เชื่อฟังคำสอนของ พระเจ้ำ กำรขัดคำสั่ง, หรือไม่ นับถือพระอัลเลำะห์ มีเจตนำของกำรทำ ควำมชั่ว
  • 21. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว ความดี  กำรกระทำเพื่อให้บรรลุเป้ ำหมำยสูงสุดของบุคคล หรือศำสนำนั้นๆ ความชั่ว  กำรกระทำที่ขัดกับแนวทำงเพื่อกำรบรรลุเป้ ำหมำยสูงสุดนั่นเอง ดังนั้นหลักคำสอนเรื่องควำมดีของศำสนำต่ำงๆ ก็คือหลักคำสอนที่เป็นไป เพื่อให้บรรลุเป้ ำหมำยสูงสุดของศำสนำนั้นๆนั่นเอง ทุกศำสนำมีควำมเชื่อว่ำบำปให้ผลเป็นควำมทุกข์ ควำมตกต่ำ และนำพำให้ไปเกิด ในภพภูมิที่ไม่ดี ดังนั้น แต่ละศำสนำจึงมีคำสอนถึงวิธีกำรกระทำเพื่อให้พ้นจำกบำป เพื่อเป็นหนทำงไปสู่ควำมสุข หรือควำมหลุดพ้นจำกควำมทุกข์ในที่สุดนั่นเอง
  • 22. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว แบ่งตามลาดับขั้นของประโยชน์จากการทาความดี ๑.) ทิฏฐธรรมิกัตถประโยชน์ (ประโยชน์ในขั้นต้น) คือ อุฏฐำนสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยควำม ขยันหมั่นเพียร), อำรักขสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยกำรรักษำโภคทรัพย์), กัลยำณมิตตตำ (คบคนดีเป็นมิตร) สม ชีวิตำ (มีควำมเป็นอยู่เหมำะสม) หรือ โภควิภาค ๔ (หลักกำรจัดสรรทรัพย์) คือ เอเกน โภเค ภุญฺเชยฺย (๑ ส่วน ใช้จ่ำยเลี้ยงตนและทำประโยชน์), ทฺวีหิ กมฺม ปโยชเย (๒ ส่วน ใช้ลงทุนประกอบกำรงำน) จตุตฺถญฺจ นิธำเปยฺย (อีก ๑ ส่วน เก็บไว้ใช้ในครำวจำเป็น) ๒.) สัมปรายิกัตถประโยชน์ (ประโยชน์ในขั้นกลำง) คือ สัทธำสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยศรัทธำ), สีลสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยศีล), จำคสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยกำรเสียสละ) และ ปัญญำสัมปทำ (ถึงพร้อมด้วยปัญญำ) ๓.) ปรมัตถประโยชน์ (ประโยชน์ขั้นสูงสุด) คือ กำรปฏิบัติเพื่อเป้ ำหมำยสูงสุดในพุทธศำสนำ คือ พระ นิพพำน (ภำวะซึ่งพ้นจำกกิเลสทั้งปวง) ด้วยวิธีกำรแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ คือ สัมมำทิฏฐิ (มีควำมเข้ำใจถูกต้อง) สัมมำสังกัปปะ (มีควำมคิดถูกต้อง) สัมมำวำจำ (มีวำจำถูกต้อง) สัมมำกัมมันตะ (มีกำรงำนถูกต้อง) สัมมำวำยำมะ (มีอำชีพถูกต้อง) สัมมำวำยำมะ (มีควำมเพียรพยำยำม ถูกต้อง) สัมมำสติ (มีควำมระลึกรู้ตัวทั่วพร้อมในสติปัฏฐำน ๔) สัมมำสติ (ควำมมีใจมั่นคงถูกต้องในฌำน ๔) ดูรำยละเอียดใน องฺ.อฏฺฐก. (ไทย) ๒๓/๕๔/๓๔๐., ที.ปำ. (ไทย) ๑๑/๒๖๕/๒๑๑., องฺ.อฏฐก. (ไทย) ๒๓/๕๔/๓๔๐. ศาสนาพุทธ
  • 23. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว ศาสนาพุทธ แบ่งตามความละเอียดของการทาความดี จริยธรรมขั้นต้น คือ เบญศีล (ไม่ฆ่ำสัตว์, ไม่ขโมย, ไม่ผิดในกำม, ไม่พูดปด, ไม่เสพ ของมึนเมำ) เบญจธรรม (เมตตำ-กรุณำ, สัมมำอำชีวะ, กำมสังวร, สัจจะ, สติ- สัมปชัญญะ) จริยธรรมขั้นกลาง คือ กรรมบถ ๑๐ (กำยสุจริต, วจีสุจริต, มโนสุจริต) จริยธรรมขั้นสูง คือ มรรค ๘ สำมำรถสรุปได้ว่ำหลักคำสอนเรื่องควำมดีควำมชั่วทั้งหลำยในศำสนำพุทธสำมำรถรวม ลงได้ในหลักไตรสิกขำ คือ ศีล สมำธิ ปัญญำ นั่นเอง ดูรำยละเอียดใน ที.ปำ. (ไทย) ๑๑/๓๑๕/๓๐๒., องฺ.ปญฺจก. (ไทย) ๒๒/๑๗๑/๑๘๒., ม.มู. ๑๒/๔๘๕/๓๖๗
  • 24. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว พุทธศำสนำมีควำมเชื่อในเรื่องโลกหน้ำ ดังที่พระพุทธเจ้ำทรงใช้คำว่ำ “ปรโลก” เป็นประจำเมื่อตรัสสอนถึงหลักควำมดี และควำมชั่ว โดยเฉพำะคำสอนเรื่อง “สังสำรวัฏ” ซึ่งเป็นแนวคิดที่อธิบำยถึง กำรเวียนว่ำยตำยเกิด ซึ่งไปตำมผล กรรมที่บุคคลได้ทำควำมดีหรือควำมชั่ว ไว้ สยำม รำชวัตร, “วิธีกำรอ้ำงอิงเหตุผลเพื่อยืนยันควำมมีอยู่ของโลกหน้ำใน พระพุทธศำสนำเถรวำท”, ใน วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, รวบรวมจัดพิมพ์โดย มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, (กรุงเทพมหำนคร, ๒๕๕๔), ๑๑๔. ศาสนาพุทธ จะสำมำรถอ้ำงเหตุผลเพื่อยืนยันควำมมีอยู่ของ โลกหน้ำตำมแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำทได้ อย่ำงไร? - อ้ำงด้วยตถำคตโพธิศรัทธำ - อ้ำงด้วยทฤษฎีกระบวนกำร - อ้ำงด้วยกำรเปรียบเทียบ - อ้ำงด้วยประสบกำรณ์ - อ้ำงด้วยทฤษฏีสังสำรวัฏ - อ้ำงด้วยทฤษฎีโลก - อ้ำงด้วยทฤษฎีกำเนิด - อ้ำงด้วยทฤษฎีอภิญญำ - อ้ำงด้วยประโยชน์กำรปฏิบัติ
  • 25. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว ศาสนาพราหมณ์ อาศรม ๔ (แนวทำงในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของบุคคล) พรหมจรรย์ – ตั้งแต่เกิดจนถึงช่วงอำยุ ๒๕ ปี ต้องอยู่ในอำศรมและศึกษำเล่ำเรียน จำกอำจำรย์ คฤหัสถ์ – เมื่อสำเร็จกำรศึกษำแล้วต้องออกมำแต่งงำน สร้ำงครอบครัว และทำหน้ำที่ ตำมวรรณะของตนจนถึงอำยุ ๕๐ ปี ต้องบำเพ็ญมหำยัญ ๕ คือ บริจำคทรัพย์แก่ พรำหมณ์, บวงสรวงเทวดำ, บูชำบรรพบุรุษ, เลี้ยงดูสัตว์ และ เลี้ยงดูต้อนรับแขกผู้มำ เยือน วานปรัสถ์ – เมื่อบุตรธิดำโตเป็นคฤหัสถ์ ก็มอบทรัพย์ให้บุตรธิดำ และออกมำอยู่ป่ำ เพื่อทำงำนให้ส่วนรวมจนถึงอำยุ ๗๕ ปี สันยาสี – เมื่ออำยุ ๗๕ ปีก็สละโลก บำเพ็ญสมำธิเพื่อควำมหลุดพ้น หรือโมกษะ วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๒๓.
  • 26. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว ศาสนาพราหมณ์ การปฏิบัติโยคะ ๘ (กำรปฏิบัติบำเพ็ญเพียร) ยะมะ คือ กำรสำรวมระวัง ๕ ประกำร เน้นกำรไม่เบียดเบียน กำรไม่โลภ และกำรรักษำ พรหมจรรย์ นิยามะ คือ กำรฝึกฝนตนเองให้บริสุทธิ์ทั้งร่ำงกำยและจิตใจ อาสนะ คือ กำรควบคุมร่ำงกำยในอิริยำบถต่ำงๆ ปราณยามะ คือ กำรควบคุมลมหำยใจเข้ำออก ปรัตยาหาระ คือ กำรควบคุมประสำทสัมผัสด้วยกำรเพ่งจิต ธารณะ คือ กำรควบคุมจิตใจให้แน่วแน่ ธยานะ คือ กำรตั้งจิตให้แน่วแน่อย่ำงสม่ำเสมอ สมาธิ คือ กำรที่จิตดื่มด่ำในอำรมณ์สมำธิอย่ำงเต็มที่
  • 27. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว คัมภีร์ฤคเวท (คัมภีร์สอนพระมหำกษัตริย์) “ให้ปฏิบัติชอบต่อประชำชนอย่ำงอ่อนโยนต่อเขำ อย่ำ เบียดเบียนเขำ จงเป็นเพื่อนของประชำชน เข้ำกันกับประชำชนได้ในกำรบำเพ็ญกิจทำงศำสนำ คือ กำรบูชำยัญ จงพูดกับประชำชนด้วยดี” คัมภีร์อถรรพเวท “ขอให้บุตรเป็นผู้ประพฤติสืบต่อคำปฏิญญำของบิดำให้สมบูรณ์ จงแสดงควำม เคำรพต่อมำรดำ ขอให้ภริยำใช้ถ้อยคำอ่อนหวำน เป็นที่ปลอบประโลมใจต่อสำมี” คัมภีร์อุปนิษัท “ขอให้มำรดำของเจ้ำ จงเป็นเทพเจ้ำของเจ้ำ ขอบิดำของเจ้ำจงได้รับกำรปฏิบัติ เสมือนหนึ่งเทพเจ้ำ ขอให้อำจำรย์ของเจ้ำจงได้รับเกียรติดั่งเทพเจ้ำ ขอให้แขกของเจ้ำ จงได้รับกำร ต้อนรับเอำใจใส่ประหนึ่งเทพเจ้ำ” คัมภีร์มนูธรรมศาสตร์ “อย่ำทำให้ผู้อื่นบำดเจ็บ ไม่พึงทำร้ำยผู้อื่นทำงใจหรือทำงกำย ไม่พึงเปล่ง วำจำที่ก่อควำมเจ็บใจแก่เพื่อนมนุษย์ทั้งหลำย” คัมภีร์มหาภารตะ “กำรต้อนรับด้วยควำมเอื้ออำรี ควรทำแม้ต่อศัตรูผู้เป็นแขกมำหำ เหมือนต้นไม้ ให้ร่มเงำอันเกิดแก่ใบของตนแก่คนที่โค่นตนฉันนั้น” คัมภีร์ฤคเวท, ๑ : ๑๗๐., คัมภีร์อุปนิษัท, ไตตฺติรย-อุปนิษัท, หน้ำ ๖๔., คัมภีร์มนูธรรมศาสตร์, ๒ : ๑๖๑., คัมภีร์มหาภารตะ, ๑๒ : ๕๕๒๘. ศาสนาพราหมณ์
  • 28. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว หลักบัญญัติ ๑๐ ประการในพระคัมภีร์เก่า • จงนมัสกำร องค์พระผู้เป็นเจ้ำ พระเจ้ำพระองค์เดียวของท่ำน • อย่ำออกพระนำมพระเจ้ำโดยไม่สมเหตุ • อย่ำลืมฉลองวันพระเจ้ำเป็นวันศักดิ์สิทธิ์ (วันสปำโต คือวันเสำร์ วันที่พระเจ้ำหยุดสร้ำงโลก) • จงนับถือบิดำมำรดำ • อย่ำฆ่ำคน • อย่ำผิดประเวณี • อย่ำลักขโมย • อย่ำพูดเท็จใส่ร้ำยผู้อื่น • อย่ำปลงใจผิดประเวณี • อย่ำมักได้ทรัพย์สินของผู้อื่น สเฐียร พันธรังสี, ศาสนาเปรียบเทียบ , (กรุงเทพมหำนคร : สำนักพิมพ์แพร่ พิทยำ, ๒๕๒๑), หน้ำ ๕๓๕. ศาสนาคริสต์
  • 29. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว ศาสนาคริสต์ จำกพระบัญญัติ ๑๐ ข้อนี้พระเยซูได้สรุปรวมลงเป็นควำมรัก ๒ ประกำรคือ จงรักพระเจ้าอย่างสุดจิตสุดใจ (ปรำกฏในพระคัมภีร์เก่ำ พระบัญญัติบทที่ ๓๐ ข้อที่ ๖) จงรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง (ปรำกฏในพระคัมภีร์เก่ำ เลวีติโก บทที่ ๑๙ ข้อที่ ๑๘ และ เอกโซโด บทที่ ๒๓ ข้อที่ ๒๒ ปรำกฏในพระคัมภีร์ใหม่ ลูกำ บทที่ ๑๘ ข้อที่ ๗-๘) หลักคำสอนในพระคัมภีร์ใหม่มีลักษณะใฝ่สงบ สร้ำงสันติ และมีเมตตำกรุณำ “ผู้ใดตบแก้มของท่ำนข้ำงหนึ่ง จงหันอีกข้ำงหนึ่งให้เขำด้วย และผู้ใดแย่งเอำเสื้อคลุมของท่ำน ไป ถ้ำเขำจะเอำเสื้อธรรมดำด้วย ก็อย่ำดึงไว้จำกเขำ จงให้แก่ทุกคนที่ขอจำกท่ำน และถ้ำใคร เอำของของท่ำนไป ก็อย่ำทวงคืน ท่ำนทั้งหลำยปรำรถนำจะให้เขำทำแก่ท่ำนอย่ำงไร ท่ำน ทั้งหลำยจงกระทำอย่ำงนั้นแก่เขำเหมือนกัน” พระคัมภีร์ใหม่, ลูกำ, ๖ : ๒๙-๓๑.
  • 30. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว กำรจะรอดพ้นจำกบำปกำเนิดได้นั้น สำมำรถกระทำได้ ๒ วิธีคือ ๑.) ยอมรับความทุกข์เข้ามาในการทนทุกข์ทรมานของพระเยซู เพรำะควำมทุกข์เป็นเรื่อง ปกติที่มนุษย์ทุกคนต้องประสบ พระเยซูยอมทนทุกข์ทรมำนบนไม้กำงเขนก็เพื่อช่วยไถ่บำปให้ มนุษย์ ดังนั้น เมื่อบุคคลพบควำมทุกข์จึงต้องแปรเปลี่ยนทุกข์เป็นพลังมำช่วยงำนของศำสนจักร เพื่อให้ตนเองแข็งแกร่งขึ้น ๒.) ยอมรับการช่วยให้รอด เพรำะมนุษย์เป็นคนบำปจึงต้องมีผู้ช่วยให้รอดจำกควำมบำป มนุษย์สำมำรถยอมรับกำรช่วยให้รอดได้โดย กำรอภัยโทษบำป, กำรกลับใจ, ควำมศรัทธำ, กำรมี ชีวิตที่สนิทกับพระเจ้ำ “การไถ่บาป” คือกำรที่พระเยซูทรงเสียสละตนเอง เพื่อไถ่บำปให้มนุษย์รอดพ้นจำกบำปกำเนิด และเข้ำถึงดินแดนพระเจ้ำได้ “การล้างบาป” คือ กำรให้ผู้อื่นล้ำงบำปให้ “การสารภาพบาป” คือกำรเล่ำเรื่องที่ตนเองทำผิดให้ผู้อื่นฟัง เพื่อให้ผู้อื่นช่วยล้ำงบำปให้ วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๒๘. ศาสนาคริสต์
  • 31. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว ศาสนาอิสลาม บุคคลสำมำรถแสดงศรัทธำต่อพระอัลเลำะห์ได้ ๒ วิธีคือ การปฏิบัติ ๕ ประการ คือ กำรปฏิญำณตนประกำศศรัทธำ, กำรบำเพ็ญนมัสกำร, กำรถือบวช, กำรบริจำคซะกำต (บริจำคเงินร้อยละ ๑๐ ที่เหลือจำกค่ำใช้จ่ำยจำเป็น ให้แก่คลังของกลุ่มมุสลิม หรือวะเกล) และ กำรไปแสวงบุญที่มักกะฮ์ การศรัทธา ๖ ประการ คือ ศรัทธำในพระเจ้ำ, ศรัทธำในเทวทูต, ศรัทธำในคัมภีร์, ศรัทธำในศำสนทูต, ศรัทธำในวันพิพำกษำ (อำคิเรำะฮ์) และ ศรัทธำในลิขิตของพระเจ้ำ หำกปฏิบัติตำมหลักทั้ง ๑๑ ประกำร คือกำรปฏิบัติ ๕ และ ศรัทธำ ๖ ได้แล้ว ในวัน พิพำกษำพระอัลเลำะห์ก็จะตัดสินให้บุคคลนั้นหลุดพ้นจำกบำป ได้อยู่ในสวรรค์อันเป็น สุขนิรันดร์ วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๒๙.
  • 32. หลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว ศาสนาอิสลาม “ถ้อยคาที่ให้อภัยอย่างอ่อนหวาน ย่อมดีกว่าการให้ทานแล้วทาร้ายทีหลัง” “อย่าบูชาผู้ใดเว้นแต่อัลเลาะห์ จงเป็นคนดีต่อบิดามารดา ต่อญาติ ต่อเด็ก กาพร้า และคนที่ยากจน จงพูดไพเราะต่อมนุษยชาติ จงตั้งการบูชา และจ่ายค่า ช่วยเหลือคนจน” “ผู้ใดก็ตามที่ประกอบกรรมชั่ว ย่อมชื่อว่าทาความชั่วเพื่อเป็นปฏิปักษ์ต่อตนเอง เท่านั้น พระอัลเลาะห์ทรงรู้และฉลาดเสมอ” “ดูก่อนผู้มีศรัทธา สุราและการพนันเป็นสิ่งชั่วที่เป็นฝีมือของพญามาร จงละทิ้ง เสียเพื่อว่าเจ้าจะเจริญ” “จงต่อสู้ในทางของพระอัลเลาะห์ ต่อผู้ที่ต่อสู้เจ้า แต่จงอย่าก่อการสู้รบ (ก่อน) พระอัลเลาะห์ไม่ทรงรักผู้รุกราน” คัมภีร์อัลกุรอาน, ซูเรำะห์ที่ ๒:๒๖๓., ซูเรำะห์ที่ ๒:๘๓., ซูเรำะห์ที่ ๔:๑๑๑., ซูเรำะห์ที่ ๕:๙๐., ซูเรำะห์ที่ ๒:๑๙๐.
  • 33. สรุปหลักคาสอนเรื่องความดีความชั่ว ในศาสนาต่างๆ ศาสนา การกระทาเพื่อให้พ้นจากบาป ศาสนาพุทธ ทำน, ศีล, ภำวนำ, มรรค ๘ ศาสนาพราหมณ์ อำศรม ๔, โยคะ ๘ ศาสนาคริสต์ บัญญัติ ๑๐ ประกำร, รักพระเจ้ำสุดจิตสุดใจ, รักเพื่อนบ้ำนเหมือนรักตนเอง, กำรกลับใจ และเชื่อพระเจ้ำ, กำรยอมรับกำรช่วยให้รอด ศาสนาอิสลาม ปฏิบัติ ๕, ศรัทธำ ๖
  • 34. ผลลัพธ์ในโลกหน้า เนื่องจำกควำมเชื่อเรื่องควำมดี-ควำมชั่ว บุญ-บำปในแต่ละศำสนำ มี ควำมสัมพันธ์อย่ำงใกล้ชิดกับควำมเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ เพรำะทุก ศำสนำต่ำงเชื่อว่ำกำรทำควำมดีให้ผลเป็นบุญและส่งผลให้ได้ไปเกิดใน สวรรค์ กำรทำควำมชั่ว ให้ผลเป็นบำปและส่งผลให้ไปเกิดในนรก ในเมื่อ ควำมเชื่อเรื่องควำมดี-ควำมชั่ว บุญ-บำปในแต่ละศำสนำมีควำม แตกต่ำงกัน จึงเป็นเรื่องที่น่ำสนใจเป็นอย่ำงยิ่ง ที่จะ ศึกษำควำมเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ของแต่ละ ศำสนำควบคู่กันไป เพื่อให้เข้ำใจในภำพรวม ของแต่ละศำสนำได้ดียิ่งขึ้น
  • 35. ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ นรก คือ ภพภูมิหรือสภำนที่อยู่สำหรับผู้ที่ทำบำปไว้ และบำปส่งผลขณะกำลังจะไปเกิดในภพใหม่ มี หลำยระดับตำมระดับของบำปที่บุคคลสะสมมำ ดังนี้ • มหานรก มี ๘ ขุม สำหรับผู้ที่เคยฆ่ำหรือทรมำนมนุษย์และสัตว์ เคยเบียดเบียนผู้ทรงศีล • อุสสุทนรก มี ๑๒๘ ขุม เช่น คูตนรก กุกกุลนรก อสิปัตตนรก เป็นต้น • ยมโลกินรก มี ๓๒๐ ขุม เช่น โลหกุมภีนรก สิมพลีนรก เป็นต้น • โลกันตนรก เป็นนรกที่อยู่นอกเขตจักรวำล สวรรค์ คือ ภพภูมิหรือสถำนที่อยู่ของเทวดำ ผู้ที่มีผลบุญติดตัวมำจะได้ไปเกิดใหม่ในภพภูมิสวรรค์ สวรรค์ก็มีหลำยระดับเช่นเดียวกับนรก แตกต่ำงกันตำมระดับของบุญที่บุคคลสะสมมำ ประกอบด้วย • อรูปภพ เป็นสวรรค์ชั้นสูงสุด เป็นที่อยู่ของอรูปพรหม คือพรหมที่ไม่มีรูปกำย มีแต่จิต แบ่งเป็น ๔ ระดับชั้น • รูปภพ เป็นสวรรค์ชั้นรองลงมำ เรียกว่ำ “รูปำวจรภูมิ” เป็นที่อยู่ของพรหมที่มีรูปกำยและจิต แบ่งเป็น ๑๖ ระดับชั้น • กามภพ เป็นสวรรค์ชั้นต่ำที่สุด เป็นที่อยู่ของเหล่ำเทวดำที่เสพกำม แบ่งเป็น ๖ ระดับชั้น วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๘๘. ศาสนาพุทธ
  • 36. ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ ศาสนาพราหมณ์ นรก เป็นที่อยู่ของคนที่ประพฤติชั่ว หมอผีและปีศำจที่น่ำ ขยะแขยง มีแต่ควำมมืดและทรมำน ศำสนำพรำหมณ์เชื่อว่ำ นรกเป็นสถำนที่แห่งหนึ่งอยู่ลึกลงไปใต้พื้นดิน สวรรค์ เป็นที่อยู่ของคนที่ประพฤติดี เทพและบรรพบุรุษ เป็นที่ รวมแห่งควำมสุข มีแต่ควำมสว่ำง มีพระอำทิตย์ พระจันทร์ และดวงดำว ศำสนำพรำหมณ์เชื่อว่ำสวรรค์เป็นสถำนที่ที่อยู่สูง เหนือจำกโลกและอำกำศขึ้นไป วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๘๕.
  • 37. ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ ศาสนาคริสต์ นรก เป็นที่อยู่ของเหล่ำมำร ซำตำน และผู้ที่ปฏิเสธพระ เจ้ำ ผู้ที่อยู่ในนรกจะได้รับแต่ควำมทุกข์ทรมำนเช่น ถูกโยน ลงในบึงไฟ และถูกทรมำนตลอดกลำงวันและกลำงคืน สวรรค์ เป็นสถำนที่ที่พระเจ้ำทรงสร้ำงไว้ เป็นสถำนที่ ประทับของพระเจ้ำและพระเยซู และยังเป็นรำงวัลแก่ผู้ที่มี ศรัทธำต่อพระเจ้ำ ศำสนำคริสต์เชื่อว่ำสวรรค์เป็นสถำนที่ที่ ทำด้วยอัญมณีและทองคำบริสุทธิ์ เป็นอณำจักรที่ยั่งยืน ตลอดกำล วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๘๗.
  • 38. ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ ศาสนาอิสลาม นรก เป็นที่อยู่ของผู้ที่ไม่ศรัทธำในพระอัลเลำะห์ เป็นกำรลงโทษที่มีแต่ควำมทุกข์ทรมำน เริ่มจำกนรกยะฮันนัม ซึ่งชำวนรกจะถูกบังคับให้ดื่มน้ำหนองที่ไหลออกจำกชำวนรก ด้วยกัน เมื่อออกจำกนรกยะฮันนัม ก็จะต้องถูกคล้องตรวนมือเข้ำกับต้นคอ และอยู่ในที่ คับแคบที่สุดอย่ำงนิรันดร สวรรค์ เป็นสถำนที่ประทับของพระอัลเลำะห์ และผู้ที่เคำรพศรัทธำพระองค์ เป็น สถำนที่สวยงำมมีธำรน้ำหลำยสำยอยู่เบื้องใต้ ไม่มีควำมเหนื่อยยำกใดๆ ผู้ที่ได้รับกำร อนุมัติจำกพระอัลเลำะห์จะได้อยู่ในสวรรค์ตลอดกำล วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๘๙.
  • 39. สรุปความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ในศาสนาต่างๆ ศาสนา พุทธ พราหมณ์ คริสต์ อิสลาม นรก สร้างโดย ธรรมชำติ เทพเจ้ำ พระยะโฮวำ พระอัลเลำะห์ เป็นที่อยู่ของ ผู้ทำควำมชั่ว ผู้ทำควำมชั่ว มำร,ซำตำน และผู้ที่ไม่ ศรัทธำพระเจ้ำ ผู้ไม่ศรัทธำพระอัลเลำะห์ ลักษณะ มีหลำยระดับตำม ระดับควำมบำป มีแต่ควำมมืดและ ทรมำน ถูกทรมำนโดยโยนลงบึงไฟ ถูกทรมำนและขังไว้ชั่วนิรันดร์ ที่ตั้ง เป็นภพภูมิ อยู่ลึกใต้ดิน อยู่ใต้โลก อยู่ใต้โลก สวรรค์ สร้างโดย ธรรมชำติ เทพเจ้ำ พระยะโฮวำ พระอัลเลำะห์ เป็นที่อยู่ของ ผู้ทำควำมดี ผู้ทำควำมชั่ว พระเจ้ำ, พระเยซู และผู้ที่ ศรัทธำพระเจ้ำ พระอัลเลำะห์และผู้ที่ศรัทธำ พระองค์ ลักษณะ มีหลำยระดับตำม ระดับของบุญ มีแต่ควำมสว่ำงและ ควำมสุข สร้ำงจำกทองคำ อัญมณี มี แต่ควำมสุขนิรันดร์ สวยงำม มีธำรน้ำไหลเบื้องล่ำง ไม่มี ควำมเหนื่อยยำก ที่ตั้ง เป็นภพภูมิ อยู่เหนือโลกและอำกำศ อยู่เหนือโลก อยู่เหนือโลก
  • 40. ผลลัพธ์ในโลกนี้ ความทุกข์ เป็นปัญหำใหญ่ของคนทุกชนชำติ ทุกศำสนำ เป็นเรื่องที่เป็นผล โดยตรงกับกำรทำควำมดีควำมชั่วในหลักศำสนำสำกล คือ ทุกศำสนำเชื่อว่ำ กำรทำควำมดีให้ผลเป็นบุญ เกิดควำมสุข ส่วนกำรทำควำมชั่วให้ผลเป็นบำป เกิดควำมทุกข์ คนในทุกศำสนำล้วนต้องกำรควำมสุข เกลียดควำมทุกข์ จึงควร ศึกษำเพิ่มเติมในเรื่องควำมเชื่อเรื่องควำมทุกข์ในศำสนำต่ำงๆเพิ่มเติมพอ สังเขป เพื่อให้เข้ำใจแนวคิดของแต่ละศำสนำอย่ำงละเอียดยิ่งขึ้น
  • 41. ความเชื่อเรื่องความทุกข์ ทุกข์  ควำมทนได้ยำก และ ภำวะที่ไม่ปรำรถนำ ทุกข์เป็นภำวะที่เป็นไปตำมกฎธรรมชำติ ซึ่งทำให้สิ่งต่ำงๆไม่สำมำรถคงสภำพเดิมไว้ได้ รวมถึงภำวะบีบ คั้นทำงจิตใจต่ำงๆ กล่ำวได้ว่ำทุกข์นั้นแยกได้เป็น ๒ ประเภทคือ ทุกข์กำยและทุกข์ใจ (ควำมเกิด ควำม ชรำ ควำมตำย ควำมโศก ควำมคร่ำครวญ ควำมทุกข์กำย ควำมทุกข์ใจ ควำมคับแค้นใจ ควำมต้อง ประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ควำมพลัดพรำกจำกสิ่งที่เป็นที่รัก และควำมปรำรถนำสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น) ศาสนาพุทธ สาเหตุ กำรยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ ๕ คือ ควำมยึดมั่นถือมั่นในตนเอง และตัณหา (ควำม อยำกในกำมคุณ ๕ (กำมวัตถุ) และ ควำมใคร่ที่อยู่ในใจ (กิเลสกำม คือ ภวตัณหำ ควำม อยำกมีอยำกเป็นและ วิภวตัณหำ ควำมไม่อยำกมีไม่อยำกเป็น))
  • 42. ความเชื่อเรื่องความทุกข์ ทุกข์  มำยำที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ • สาเหตุ ๓ ประกำรคือ จำกธรรมชำติภำยในร่ำงกำย จำกธรรมชำติภำยนอกร่ำงกำย และ สิ่งเหนือธรรมชำติภำยนอกร่ำงกำย • มำจำกกรรมที่สะสมมำในอดีต กรรมที่ให้ผลในชำตินี้และกรรมในปัจจุบัน • สิ่งทั้งหลำยที่มนุษย์รับรู้นั้นเป็นมำยำซึ่งเป็นผลจำกกรรม เช่น ควำมสว่ำงและควำม ร้อนเป็นมำยำของพระอำทิตย์ ควำมเย็นเป็นมำยำของหิมะ เป็นต้น ส่วนทุกข์และสุขที่ เกิดขึ้นนั้นเป็นมำยำจำกปรมำตมันนั่นเอง • มำยำเหล่ำนี้มีสภำพที่ปรำศจำกสัมปชัญญะ ตรงข้ำมกับพรหมันซึ่งเป็นควำมสุข เมื่อใดมนุษย์ไม่ติดกับมำยำก็จะได้พบกับควำมสุขสูงสุด วิโรจ นำคชำตรี, ศาสนาเปรียบเทียบ, หน้ำ ๑๑๒. ศาสนาพราหมณ์
  • 43. ความเชื่อเรื่องความทุกข์ ศาสนาพราหมณ์ ในศรีมัทภควัทคีตากล่ำวว่ำ “สำหรับผู้ซึ่งข้องอยู่ในเครื่องอุปโภค บริโภคมีจิตอันคำ สอนนั้นครอบงำแล้ว พุทธิอันมั่นคงย่อมไม่ดิ่งลงสู่สมำธิได้” และ “อำตมำถูกมำยำแห่ง โยคะหุ้มไว้แล้วไม่สำแดงให้ปรำกฏแห่งสรรพ สัตว์โลกนี้เป็นผู้งมงำยจึงไม่รู้จักอำตมำ” ศรีมัทภควัทคีตา โศลกที่ ๔๔ อัธยำยที่ ๒., ศรีมัทภควัทคีตา โศลกที่ ๒๕ อัธยำยที่ ๗.
  • 44. ความเชื่อเรื่องความทุกข์ ศาสนาคริสต์ ทุกข์  ควำมเดือดร้อน เจ็บปวด ผิดหวัง คับแค้นใจ เกิดทั้งทำงร่ำงกำยและจิตใจ ในคัมภีร์ไบเบิลได้กล่ำวถึงควำมทุกข์ไว้มำกมำย แบ่งเป็นหลำยประเภทดังนี้ ควำมทุกข์เนื่องจำกควำมกลัวตำย, เนื่องจำกควำมรัก, เนื่องจำกไม่มีบุตรสืบสกุล, เนื่องจำก ถูกข่มเหงรังแก, เนื่องมำจำกได้รับกำรดูถูกดูหมิ่น, เนื่องมำจำกต้องพลัดพรำกจำกสิ่งที่ตนเอง รัก, เนื่องมำจำกควำมโลภ, เนื่องมำจำกควำมยำกจน, เนื่องมำจำกควำมหิวโหย, เนื่องจำก พระคริสต์ (ควำมทุกข์ที่เกิดขึ้นเนื่องมำกจำกกำรเผยแพร่คำสอนของศำสนำ), เนื่องมำจำก ควำมห่วงใยในทรัพย์สมบัติ, เนื่องมำจำกกำรถูกทอดทิ้ง, เนื่องมำจำกกำรที่พระเจ้ำทดสอบ มนุษย์ (กำรที่พระเจ้ำทรงทดสอบควำมอดทนของมนุษย์ด้วยกำรให้พบกับควำมยำกลำบำก), เนื่องมำจำกกำรที่พระเจ้ำต้องกำรปรับปรุงนิสัยของมนุษย์, เนื่องมำจำกกำรถูกคุมขัง, เนื่องมำจำกโรคภัยไข้เจ็บ, เนื่องมำจำกผีเข้ำ, เนื่องมำจำกกำรถูกลงโทษบำป สาเหตุ - เกิดมำจำกควำมบำป ที่อำดัมกับอีวำได้ล่วงละเมิดพระบัญญัติของพระเจ้ำนั่นเอง
  • 45. ความเชื่อเรื่องความทุกข์ ทุกข์และความสุข  เกิดขึ้นจำกกำรกระทำของมนุษย์ซึ่งถูกอำนำจ ๒ ฝ่ำยแนะนำ ฝ่ำยดีคือ มลำอิกะฮ์ หรือเทวทูต และฝ่ำยขัดขืนคือ ชัยฏอย หรือมำร สาเหตุ • กำรที่พระเจ้ำประทำนควำมทุกข์ให้มนุษย์ได้รู้จัก เพรำะวันข้ำงหน้ำมนุษย์จะได้พบทุกข์ที่ยิ่งใหญ่ มำกกว่ำ • เป็นกำรลงโทษของพระเจ้ำ เพรำะมนุษย์ไม่ทำในสิ่งที่พระเจ้ำสั่งสอน หรือ ทำในสิ่งที่พระเจ้ำทรงห้ำม • เป็นกำรที่พระเจ้ำทรงทดสอบศักยภำพและควำมมั่นคงในศรัทธำของมนุษย์ที่มีต่อพระเจ้ำ ดังที่พระอัลเลำะห์ตรัสว่ำ “เรำได้บันดำลบำงส่วนของพวกเจ้ำให้เป็นข้อทดสอบสำหรับอีกบำงส่วน (ให้ บำงคนมั่งมี บำงคนยำกจน) พวกเจ้ำจะอดทนได้หรือไม่? ทุกๆชีวิตย่อมได้ลิ้มรสควำมตำยและเรำจะ ทดสอบพวกเจ้ำอย่ำงจริงจังด้วยควำมยำกแค้นและควำมสุขสบำย (ที่สลับหมุนเวียนกันไป) และพวก เจ้ำจะถูกนำตัวกลับมำยังเรำ (เพื่อรอรับกำรพิพำกษำต่อไป)” คัมภีร์อัลกุรอาน ๒๑ : ๓๕. ศาสนาอิสลาม
  • 46. สรุปความเชื่อเรื่องความทุกข์ในศาสนาต่างๆ หัวข้อ พุทธ พราหมณ์ คริสต์ อิสลาม ความหมาย ของความทุกข์ สภำพที่ทนได้ยำก มำยำที่เกิดขึ้น ควำมเจ็บปวดทำง ร่ำงกำยและวิญญำณ ควำมไม่สบำยกำยไม่ สบำยใจ ประเภทความ ทุกข์ ๑.ทุกข์จำกภำยใน ร่ำงกำย ๒. ทุกข์จำก ภำยนอกร่ำงกำย ๓.ทุกข์จำกสิ่ง เหนือธรรมชำติ ทุกข์กำยและทุกข์ ใจ ทุกข์กำยและทุกข์ใจ ทุกข์กำยและทุกข์ใจ สาเหตุแห่ง ทุกข์ ควำมชั่วและควำม หลงผิด กำมตัณหำ, ภวตัณหำ, วิภวตัณหำ พระเจ้ำลงโทษ, พระ เจ้ำทดสอบจิตใจ และ พระเจ้ำปรับปรุงนิสัย พระเจ้ำประทำน, พระ เจ้ำลงโทษ และพระ เจ้ำทดสอบศรัทธำ
  • 47. ขอขอบพระคุณในการติดตามชม หวังว่าการนาเสนอครั้งนี้จะทาให้ท่านได้เข้าใจในความเชื่อ เรื่องความดีความชั่ว บุญบาป ในศาสนาต่างๆมากขึ้น และเกิดประโยชน์แก่การศึกษาพระพุทธศาสนาของทุกท่านต่อไป และขออนุโมทนาสาธุในบุญทุกประการของทุกท่าน ขอให้เจริญร่มเย็นในธรรม ตลอดกาล เทอญ สาธุ พระอธิการสุทิน อตฺตทีโป นางสาวอัญชลี จตุรานน