SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
ศาสนาคริสต์
“ศาสนาแห่งความรัก
ต่อ พระเจ้าและ มนุษยชาติ”
โดย อ.สรณีย์ สายศร
• “...เพราะว่าพระเจ้าทรงรักโลก จึงได้ทรงส่งพระบุตรองค์เดียวของ
พระองค์ลงมา เพื่อทุกคนที่วางใจในพระบุตรนั้นจะไม่พินาศ.....
แต่มีชีวิตนิรันดร”
 ศาสนาคริสต์ (Christianity) เป็นศาสนาแห่งความรัก เพราะ
พระเจ้าทรงรักมนุษย์ ทรงรักประชากรของพระองค์ทรงสร้างสัตว์
ต่างๆขึ้นมาเพื่อรับใช้ ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่นับถือศรัทธาใน
พระเจ้าองค์เดียวเชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกและทุกสิ่งทุกอย่าง
รวมถึงมนุษย์
 ศาสนาคริสต์ วิวัฒนาการมาจากศาสนายูดาย(ฮิบบรู)หรือ
ศาสนายิว นับถือพระเจ้าองค์เดียวกัน คือ พระยะโฮวา
ความสาคัญ
ประวัติศาสนา
 ประวัติศาสตร์ของศาสนาคริสต์มีความสัมพันธ์กับศาสนายิว
และคนยิวอย่างใกล้ชิด เพราะเป็นที่ยอมรับกันว่าทั้งสองศาสนานี้เกิดมา
จากคนยิวมีลักษณะเป็นศาสนาแห่งประวัติศาสตร์ที่ไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
และเป็นประวัติศาสตร์ที่ยึดโยงกับพระเจ้าและกาหนดมรรคาแห่งชีวิตที่ทุกคน
จะต้องดาเนินไปตามคัมภีร์
 บุคคลในประวัติศาสตร์ของทั้งสองศาสนานี้อาทิเช่น อับราฮัม (Abraham)
โยเซฟ (Joseph) โมเสส (Moses) และกษัตริย์โซโลมอน (Solomon) ฯลฯ ล้วนเป็น
บุคคลที่พระเจ้าได้ทรงกาหนดให้เป็นไปตามแผนที่พระองค์ได้วางไว้เพื่อ
ช่วยชีวิตมนุษย์ให้ถึงความรอด (Salvation) คัมภีร์ไบเบิลทั้งสองภาค (พันธสัญญา)
จึงเป็นคัมภีร์ที่มีความสาคัญยิ่ง โดยเฉพาะในด้านประวัติศาสตร์ของทั้งสองศาสนา
อับราฮัม โมเสส กษัตริย์โซโลมอน
ประวัติศาสนา
• - ศาสนาคริสต์เป็น “เอกเทวนิยม” นับถือ “พระยะโฮวาห์”
• - เป็น 1 ใน 3 ศาสนาของโลก
• -เกิดในปาเลสไตน์ พ.ศ.543 ในปีเกิดของพระเยซู พัฒนามาจากศาสนายิว
• - มีพระเยซู (JESUS) เป็นพระศาสดา และ พระเมสสิอาห์ (MESSIAH)
• - ศาสนาคริสต์เจริญแพร่หลายโดยการเผยแผ่ของสาวกและศาสนิกชน หลังจาก
พระเยซูสิ้นชีพแล้ว เช่น ในสมัยพระเจ้าคอนสแตนตินแห่งโรมันและเจริญอย่าง
ต่อเนื่อง ตั้งแต่ พ.ศ. 868-1597 ในหลายภูมิภาคทั่วโลก
• - ตั้งแต่ พ.ศ.1597-2060 สันตะปาปา หรือ โป๊ ป เป็นตัวแทนของพระเจ้า มีอานาจ
สูงสุด
• - ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2060 มาร์ติน ลูเธอร์ นักบวชชาวเยอรมัน ต่อต้านอานาจของโป๊ ป
และ พิธีการที่ฟุ้ งเฟ้ อบิดเบือน ยึดมั่นในคาสอนที่แท้ของพระเยซู เกิดนิกาย
โปรเตสแตนท์
• ศาสดาของศาสนาคริสต์ คือ พระเยซู เกิดเมื่อ พ.ศ. 543 ในวันที่ 25
ธันวาคม ที่หมู่บ้านเบธเลเฮ็ม แคว้นยูเดีย ปาเลสไตน์ เจริญเติบโตที่เมือง
นาซาเรท แคว้นกาลิลี
• มารดา ชื่อ มาเรีย บิดา ชื่อ โจเซฟ ท่านเกิดจากพระครรภ์บริสุทธิ์ เป็น
บุตรของพระเจ้า
• ท่านเกิดในยุคที่ชาวยิวได้รับทุกข์หนัก เพราะถูกกดขี่จากพวกโรมัน
ประวัติศาสดา
• คาว่า คริสต์(Christ) มาจากภาษากรีก ว่า Christos หมายถึง
เมสสิอาห์ (ผู้ที่พระเจ้าทรงเจิมไว้) ในภาษายิว ทั้งนี้ชาวคริสต์
ส่วนใหญ่จะเชื่อว่า พระเยซู คือ เมสสิอาห์ ที่พระเจ้าประทานมา
• พระเยซูได้รับการศึกษาจากโรงเรียนในหมู่บ้าน
• ศึกษาพระคัมภีร์เก่าของศาสนายิวจนมีความรู้แตกฉาน
ประวัติศาสดา
 หลังจากนั้นพระเยซู(ผู้เป็นยิว)ได้ออกเทศนาทั่วประเทศเพื่อประกาศ "ข่าวดี"
อันเป็นหนทางแห่งความรอดพ้นจากบาปไปสู่ชีวิตนิรันดร์ การประกาศศาสนาของพระ
เยซูนั้นไม่ใช่เพื่อล้มล้างศาสนายูดาย แต่เป็นการปฏิรูปศาสนาเดิมให้มีความสมบูรณ์
ยิ่งขึ้น โดยเน้นความรักต่อพระเจ้าและความรักต่อเพื่อนมนุษย์ ในขณะนั้นได้มีผู้สนใจ
คาสอนของพระเยซู แต่ส่วนมากเป็นชนชั้นชาวบ้าน ที่ยากจนและชาวประมง พระเยซู
ได้คัดเลือกสาวกจากบุคคลเหล่านี้ได้ทั้งหมด 12 คน
มีข่าวดีมาบอก
สืบเนื่องมาจากคาสอนของพระเยซู
มีส่วนทาให้ผู้นาศาสนา ยูดาย ขุนนาง
และคน ร่ารวยบังเกิดความไม่พอใจ
เพราะถูกตาหนิจึงโกรธแค้นคิดหาทาง
ทาร้าย ด้วยการจับตัวไปขึ้นศาลของ
เจ้าเมืองชาวโรมัน โดยยูดายรับอาสา
ชี้ตัวพระเยซู เมื่อวันที่ผู้นาศาสนา ยู
ดายมาจับตัวพระเยซูไป สาวกทั้ง 11
คน ได้รีบหลบหนีทิ้งให้พระเยซูถูกจับ
ไปลงโทษ โดยการตรึงกับไม้กางเขน
จนถึงแก่ชีวิตในขณะที่มีอายุได้ 33 ปี
เท่านั้น จึงใช้เวลาประกาศศาสนา
เพียง 3 ปี
• ชาวคริสต์เชื่อกันว่าหลังจากที่พระเยซูได้สิ้นไป 3 วันแล้วได้ฟื้นคืนชีพอีกครั้ง สาวกทั้ง 11
คน พวกเขาได้ทดสอบพระเยซูหลายครั้งจนมั่นใจว่าการฟื้นคืนชีพของพระเยซูนั้นไม่ใช่ เรื่อง
หลอกลวงแต่เป็นจริง ประกอบกับการเทศนาสั่งสอนย้าให้สาวกทั้งหลายมีความเข้าใจใน
พระคัมภีร์ พวกเขาทั้ง 11 คน ได้กลับไปกรุงเยรูซาเล็ม จึงร่วมกันอธิษฐานอย่าง
ขะมักเขม้น นับแต่นั้นมาอัครสาวกทั้ง 11 คน และ มัทธีอัส (Matthias) ซึ่งได้รับเลือกเข้ามา
ในภายหลังรวมเป็น 12 คน ได้ช่วยกันเผยแพร่ศาสนาอย่างมั่นคงทาให้มีผู้เข้ามาเป็นสาวก
ของพระเจ้ามากมาย แต่ในขณะเดียวกันการเผยแพร่ศาสนามีความลาบากเป็นอย่างมาก
เพราะถูกต่อต้านอยู่เสมอจากพวกที่นับถือศาสนายูดาย
 นักบุญเปโตร (Petro) ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น หัวหน้า
โดยนัยนี้ท่านจึงเป็นผู้นาสูงสุดของศาสนาคริสต์เป็นคนแรก
นักบุญเปโตรได้เผยแพร่ศาสนาถึงกรุงโรม และได้เลือกกรุงโรม
เป็นศูนย์กลางการดาเนินงานของศาสนจักร ในบั้นปลายชีวิตของ
ท่านนั้นได้ถูกพวกทหารโรมันจับทรมานและประหารชีวิต
 ความเจริญของศาสนาคริสต์ได้มีมา
ยาวนาน จนกระทั่งถึงยุคล่าอาณานิคมของพวก
จักรวรรดิ์นิยมชาวยุโรปและอเมริกัน ซึ่งอยู่ใน
ช่วงเวลาประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 15-16 ศาสนา
คริสต์ได้ถูกนาไปเผยแพร่ในประเทศต่าง ๆ ที่นัก
ล่าอาณานิคมเหล่านี้ไปถึง ทาให้คริสต์ศาสนิกชน
มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นทั้งในทวีปยุโรป อาฟริกา
อเมริกา เอเชีย และออสเตรเลีย
 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทยได้มีนัก
สอนศาสนาชาวโปรตุเกสและสเปนเข้ามา
เผยแพร่ โดยเดินทางมาพร้อมกับพวกทหารและ
พ่อค้าของประเทศเหล่านั้น ทาให้มีคนไทยนับถือ
ศาสนาคริสต์กระจัดกระจายไปทั่วประเทศ
สรุป
• ผู้ก่อตั้งคือ พระเยซู แห่งนาซาเรท
• มีฐานะเป็นทั้งศาสดาพยากรณ์และเทพบุตร
• มีพื้นฐานมาจากศาสนายิว (พระเยซูได้รับการสอนถึงพระบัญญัติ
อันศักดิ์สิทธิ์ของศาสนายูดา)
• เป็นศาสนาเอกเทวนิยม พระเจ้ามีพระนามว่า ยะโฮวาห์
• คือมีพื้นฐานความเชื่อว่า
• มีเทพเจ้าที่มีอานาจสูงสุด ที่มีอานาจเหนือธรรมชาติ
• ซึ่งมีชื่อว่า พระยะโฮวาห์ (GOD) โดยพระผู้เป็นเจ้านี้
» จะเป็นผู้ที่ดลบันดาลให้ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นไป
» คือเกิดขึ้น ตั้งอยู่ เปลี่ยนแปลง และดับสลายไป.
 มีผู้นับถือมากที่สุดเพราะอิทธิพลจากการเมืองใน
อดีต
 ได้ชื่อ Christ = Mesiah แปลว่า ผู้ไถ่บาป (พบกับ
จอห์นผู้ล้างบาปเมื่ออายุ 30)
 ทรงสอนศาสนาอยู่ได้ ๓ ปี ก็ถูกประหาร เพราะอ้าง
ตนเองว่าเป็นบุตรของพระยะโฮวาห์ ผิดกฎศาสนายิว
 คาสอนของศาสนาคริสต์จะอยู่ในคัมภีร์ใหม่ ส่วน
ใหญ่เป็นคาสอนในระดับศีลธรรม และการปฏิบัติใน
ชีวิตประจาวัน โดยเน้นไปที่ความเชื่อมั่นในพระเจ้า คือ
เชื่อว่าพระเจ้ามีอยู่จริง และปฏิบัติตามที่พระจ้าสั่งไว้โดย
ผ่านมาทางพระเยซู
 กล่าวโดยสรุป คาสอนของพระเยซูก็คือ "ปรัชญาแห่ง
ความรัก" คือรักพระเจ้า รักครอบครัว และรักเพื่อนมนุษย์ทั้ง
ปวง โดยไม่เลือกชนชั้นและเชื้อชาติ รวมทั้งการให้อภัยไม่
โกรธเกลียดแม้ผู้ที่มาทาร้ายตนเอง.
 ส่วนคาสอนในระดับอภิปรัชญานั้นถูกแต่งขึ้นโดยสาว
กรุ่นใหม่ ที่บวกเอาแนวคิดของนักปรัชญาเช่นอริสโตเติ้ลของ
ในยุคนั้นเข้าไว้ จึงทาให้ศาสนาคริสต์มีความแข็งแกร่งทางภูมิ
ปัญญามาก.
บ่อเกิดของศาสนาคริสต์
• ๑. ส่วนหนึ่งมาจากพันธะสัญญาเก่า (Old Testament)
• ๒. ส่วนหนึ่งมาจากความสานึกของสาวกเกี่ยวกับพระเยซู
• ๓. ส่วนหนึ่งมาจากวัฒนธรรมที่ได้สัมผัส ตามกระแสแห่ง
ประวัติศาสตร์
• ไม่มีวัฒนธรรมคริสต์ที่ตายตัว เพราะพระเยซูมิได้
ทรงกาหนดไว้ ชาวคริสต์อยู่ที่ไหน ก็เป็นคนของ
ถิ่นนั้น และมีวัฒนธรรมตามท้องถิ่นที่ตนสังกัด
• หลังจากพระเยซูเสด็จจากไป สานุศิษย์ได้ประชุม
ร่วมกัน เริ่มออกทาการเผยแผ่คาสอนของ
พระองค์ แยกตัวออกจากศาสนายิว และมาตั้ง
ศาสนาคริสต์ ตามชื่อของพระคริสต์ แปลว่า
พระผู้ช่วยให้รอด คือ พระเยซู
• ในคริสต์ศตวรรษที่ ๑ ได้มีสาวก ๔ คน คือ
มัตธาย มาธาโก ลูกา และโยฮัน เขียนพระ
ประวัติและคาสอนของพระเยซูรวมเรียกว่า
“พระกิตติคุณ” ต่อมาเป็น คัมภีร์ไบเบิล ฉบับ
พันธสัญญาใหม่
ลักษณะ
• มีความหวังในพระเมสซิอา
(ผู้จะมาไถ่ให้คนยิวพ้นจาก การถูกกดขี่ นาความหวังมาให้)
• เมสซิอา = ผู้นาการเมืองและศาสนาหรือผู้นาประเทศ
• พระเยซู เป็นผู้ให้กาเนิดศาสนา
• เซนต์ปอล เป็นผู้ประดิษฐาน
• ศาสนาคริสต์เดิมนั้นสอนให้ดาเนินตามแบบชาวยิว
- ต่อมา St. ปีเตอร์ ประกาศว่า คริสตชนที่เป็นยิวก็ทา
แบบยิวต่อไป คริสตชนที่เป็นกรีกก็เป็นคริสต์แบบกรีก
หลักความเชื่อดั้งเดิมของศาสนาคริสต์ (เครโค)
• ๑) ข้าพเจ้าเชื่อในพระเจ้าองค์เดียว พระบิดผู้ทรงสรรพานุภาพ
• ๒) เชื่อในพระเยซูคริสต์เจ้า พระบุตรแต่พระองค์เดียวของพระเป็นเจ้า
ทรงบังเกิดจากพระบิดา...เพราะเห็นแก่เรามนุษย์ เพื่อช่วยให้รอด
พระองค์จึงเสด็จจากสวรรค์
• ๓) ข้าพเจ้าเชื่อในพระจิตเจ้า ผู้ประทานชีวิต ทรงเนื่องมาจากพระบิดา
และพระบุตร พระองค์ดารัสทางประกาศ
• ๔) ข้าพเจ้าเชื่อในประกาศศาสนจักร หนึ่งเดียว ศักดิ์สิทธิ์ คาทอลิก
และสืบจากอัครสาวก
• ๖) ข้าพเจ้าเชื่อในการยกบาป ยอมรับว่าพิธีล้างที่ยกบาปมีแต่พิธีเดียว
• ๗) ข้าพเจ้าเชื่อในการคืนชีพของร่างกาย
หลักความเชื่อต่อมา
• เชื่อว่า พระบิดา พระบุตร และพระจิต เป็น ๓ บุคคล แต่ละบุคคล
เป็นพระเจ้าสมบูรณ์ในตนเองเสมอกัน ต่อเนื่องมาจากกัน
• พระบิดาทาให้บังเกิดพระบุตร และพระจิตเนื่องมาจากพระบิดา
และพระบุตร *** ทั้ง ๓ บุคคล รวมกันเป็นหนึ่งเดียว เรียกว่า
“ตรีเอกภาพ” (Trinity)
• ยกย่องพระเยซูว่ามี ๒ สภาวะ คือ สภาวะพระเจ้า และสภาวะ
มนุษย์
• ๓ วันหลังจากที่พระเยซูถูกตรึงกางเขน ได้ฟื้นคืนพระชนม์ พระองค์
ได้เสด็จไปสู่สวรรค์หลังจากได้ประทับอยู่กับสาวกเป็นเวลา ๔๐ วัน
พระผู้สร้าง
(พระยะโฮวา)
ผู้ไถ่บาป (พระเยซู)
ผู้เสด็จเพื่อนาทาง
ช่วยเหลือมนุษย์
ไปสู่พระเจ้า หรือ
เป็นมัคคุเทศก์
2. พระบุตร
( Jesus, Son
of God)
รวมกันเป็นพระเจ้าองค์เดียว
(ตรีเอกภาพ (Trinity)
3.พระจิต
(Holy Spirit)
1. พระบิดา
(God : the Father)
พระจิต
พระบุตร
พระบิดา
• ชาวคริสต์บางนิกาย ได้ยกย่อง
“พระนางมารีอา หรือมาเรีย” เป็น
พระมารดาของพระเจ้า หรือ
“แม่พระ”
• ก่อนที่พระเยซูจะเสด็จสู่สวรรค์ได้
ทรงสถาปนาพระนางให้เป็นแม่
พระของคริสต์ศาสนิกชนทุกคน
และพระนางได้ถูกยกขึ้นสวรรค์ทั้ง
ร่าง (Assumption)
• ทรงเป็นคนกลางระหว่างพระเจ้า
กับคริสต์ศาสนิกชน
• ชาวคริสต์เชื่อใน The last
judgment หรือการพิพากษา
ครั้งสุดท้าย >> เชื่อว่า เมื่อตาย
วิญญาณแยกจากร่ างกาย
ร่างกายจะเน่าเปื่ อย แต่จะ
กลับฟื้นคืนขึ้นใหม่ในวันสิ้น
โลก แล้วมารับวิญญาณ ส่วน
วิญญาณจะถูกพิพากษา ถ้าทา
ดีจะได้ไปอยู่ร่วมกับพระเจ้าใน
สวรรค์นิรันดร และถ้าทาชั่ว
จะถูกพิพากษาให้ ลงนรก
นิรันดรเช่นเดียวกัน
พระเยซู คือ พระเมสิอาห์
• พระเยซูเป็นนามเดิมของพระองค์ เมื่อชาวคริสต์สานึกได้ว่า
พระเยซู คือ พระเมสิอาห์ จึงได้ถวายสมญานามต่อท้ายให้ว่าคริสต์
ซึ่งมาจากศัพท์ภาษากรีกว่า “Christos” แปลว่า “เมสิอาห์”
เรียกตนเองว่า “คริสเตียน” แปลว่า “ผู้เป็นบริวารของพระเมสิอาห์”
• ชาวยิวมีความหวังในองค์เมสิอาห์ เมื่อพระเยซูมาเกิดและทาความ
ดีเป็นที่ประจักษ์ ชาวยิวส่วนหนึ่งจึงปลงใจว่า พระเยซูนี้เองคือองค์
เมสิอาห์ ที่พระเจ้าส่งลงมาเพื่อช่วยปลดเปลื้องความทุกข์
• “คริสต์ หรือ ไครสต์” หมายถึงพระวิญญาณของพระเจ้า ซึ่งมาสถิต
ในร่างของพระเยซู เพราะเป็นผู้บริสุทธิ์
การเผยแพร่ศาสนาคริสต์
• ผู้เป็นกาลังสาคัญในการเผยแพร่ศาสนาคริสต์ คือ เซนต์ ปอล >>
หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ไปแล้ว ๑๕ ปี
• **พระเยซูเป็นผู้ให้กาเนิดศาสนาคริสต์ แต่เซนต์ปอลเป็นผู้
ประดิษฐานศาสนาคริสต์ให้มั่นคง โดยได้ประกาศศาสนาคริสต์ที่
กรุงโรม
• เมื่อพระเยซูสิ้นพระชนม์ราวปี คศ. ๓๐ นักบุญเปโตร หรือ เซนต์ปี
เตอร์ได้ปฏิบัติตนเป็นหัวหน้าสาวก ได้เรียกประชุมสังคายนาครั้ง
แรกของคริสต์ศาสนา
• สังฆราชที่กรุงโรมได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้สืบตาแหน่งจากนักบุญ
เปรโตในตาแหน่งสันตะปาปา เป็นประมุขของศาสนจักร
การเผยแพร่ศาสนาคริสต์ (ต่อ)
• ปี ค.ศ. ๓๑๓ จักรพรรดิคอนสแตนติน ทรงอุปถัมภ์คริสต์ศาสนา
มอบหมายอานาจทางอาณาจักรให้สันตะปาปาปกครองกรุงโรม และ
เป็นประมุขของพระศาสนจักร
• พระเจ้าคอนสแตนติน ได้ย้ายราชธานีไปตั้งในดินแดนกรีก ให้ชื่อว่า
“คอนสแตนติโนเปิล” หรือ “กรุงโรมตะวันออก” กรุงโรมเดิม เรียกว่า
“กรุงโรมตะวันตก” ซึ่งเป็นศูนย์กลางของศาสนาคริสต์สืบมา ต่อมา
เรียกนิกายโรมันคาธอลิก
• ฝ่ายศาสนาคริสต์ในกรุงคอนสแตนติโนเปิล ถือว่าตนมีฐานะเท่าเทียม
กับสานักในกรุงโรมเดิม จึงแยกเป็นนิกาย “กรีก ออร์ธอดอกซ์”
กาเนิดและวิวัฒนาการของนิกาย
ที่สาคัญในศาสนาคริสต์
 ในรัชสมัยของ จักรพรรดิคอนสแตนติน (Constantine the Great) พระองค์
ได้ตั้งราชธานีใหม่ในภาคตะวันออก แถบประเทศตุรกีในปัจจุบัน และได้พระราชทาน
นามราชธานีนี้ว่า "คอนสแตนติโนเปิล" (Constantinople) หรือ โรมันตะวันออก
ซึ่งเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรไบแซนทีน (Byzantine) อาณาจักรนี้มีความอิสระ
แยกออกจาก โรมันตะวันตก ซึ่งมี โรม (Rome) เป็นศูนย์กลาง
จักรพรรดิคอนสแตนตินที่1
เมื่อนานวันอาณาจักรโรมันตะวันออกมีความเข้มแข็งและเป็นอิสระใน
ทุกด้าน จึงตีตนออกห่างและแยกการปกครองเป็นเอกเทศรวมไปถึงการ
ปกครองทางศาสนา มีความเป็นอิสระจากกรุงโรม ไม่ยอมรับในพระราช
อานาจของพระสันตะปาปา จึงทาให้เกิดการแตกแยกออกเป็นนิกาย
อาณาจักรโรมันตะวันตกนั้นได้รับอิทธิพลคาสอนของปีเตอร์ ซึ่ง
เข้าไปมีส่วนผสมกลมกลืนกับบทบาททางสังคมและการเมือง
ส่วนอาณาจักรโรมันตะวันออกได้รับอิทธิพลทาง
วัฒนธรรมของเอเชีย จากจุดนี้เองทาให้ศาสนา
คริสต์ต้องแยกออกเป็น 2 นิกาย คือ
1. นิกายโรมันคาทอลิก (Roman Catholic)
2. นิกายกรีกออร์ธอด็อกซ์ (Greek Orthodox)
นิกายโรมันคาทอลิก
(Roman Catholic)
• ใช้ภาษาละตินเป็นภาษาทางศาสนา
• เชื่อว่า pope (สันตะปาปา) มีสิทธิและหน้าที่ในการวางบัญญัติ
ใหม่ๆ ได้
• โดยมีพระสันตะปาปาแห่งนครวาติกัน ในกรุงโรมประเทศอิตาลี
เป็นประมุข ครองศาสนจักรและเป็นรัฐอิสระปกครองตนเองโดย
ไม่ขึ้นกับประเทศอิตาลี
• ประมุข คือ สันตะปาปา และมีพระที่เรียกว่า บาทหลวงต้องเป็นผู้
สืบทอดคาสอนจากพระเยซู
• เป็นนิกายเดียวที่เชื่อเรื่องนักบุญ และแดนชาระวิญญาณผู้ตาย
• รูปเคารพ คือ ไม้กางเขนที่พระเยซูถูกตรึงอยู่
นิกายกรีกออร์ธอดอกซ์
(Greek Orthodox)
ไม่มีศูนย์กลางอานาจในที่ใดโดยเฉพาะ เพราะให้
ความสาคัญต่อประมุขนิกายซึ่งอยู่ในประเทศต่างๆ
อย่างเท่าเทียมกัน โดยเรียกชื่อประมุขเหมือนกัน
หมดว่า ปาตริอาร์ค (Patriarch) หรือ
อาร์คบิชอบ (Archbishop)
– แยกจากคาทอลิคเพราะเหตุผลทางการเมือง
– รูปเคารพ คือ ภาพ 2 มิติ
โบส์ในนิกายออร์ธอด็อกซ์ : มหาวิหารเซนต์บาซิล
ตั้งอยู่ที่จัตุรัสแดง กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย สร้างโดยพระเจ้าอีวาน
ที่4 เพื่อฉลองชัยชนะเหนือพวกมองโกลที่กรีธาทัพมาเมืองคาซาน เมื่อ
ปี ค.ศ. 1552 ออกแบบโดยสถาปนิกชื่อปอสต์นิค ยาคอฟเลฟ ตามตานาน
เล่าว่า กษัตริย์อีวานจอมโหดทรงชื่นชอบความงดงามไม่มีที่ติของมหาวิหาร
แห่งนี้และ ไม่ประสงค์ให้สถาปนิกไปออกแบบให้ผู้อื่นให้สวยเทียมเท่านี้อีก
จึงมีรับสั่งให้ควักนัยน์ตาเขาทิ้งทั้งสองข้าง
 ประเทศที่นับถือนิกาย ออร์ธอด็อกซ์ส่วนมากเป็นพวกยุโรป
ตะวันออก เช่น โรมาเนีย ฮังการี โปแลนด์ ยูโกสลาเวีย รัสเซีย ฯลฯ
 สรุปได้ว่า นิกายออร์ธอด็อกซ์เป็ นนิกายแรก ที่แยกตัว
ออกมาเป็นอิสระจากสานัก วาติกันในกรุงโรม โดยมีสาเหตุ
ใหญ่ที่สุดคือ การปฏิเสธในอานาจของพระสันตะปาปา ประกอบ
กับมีพื้นภูมิประเทศที่ห่างไกลจากอานาจของโรมันตะวันตก
จึงเป็ นการง่ายที่จะตั้งตนเป็ นอิสระ และปฏิบัติพิธีกรรม
ความเชื่อไปตามวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนผสมผสมผสานกับ
ความเชื่อในคริสตศาสนา ดังนั้นนิกายออร์ธอด็อกซ์จึงมี
ลักษณะที่ค่อนข้างแปลกแยกจากพวกคาทอลิคและพวก
โปรเตสแตนด์
สิ่งที่นิกายออร์ธอดอกซ์ถือต่างจากนิกายโรมันคาทอลิกคือ
•ไม่บังคับการถือโสดของนักบวช
•ไม่บังคับเรื่องการอดอาหาร
•ไม่บังคับเรื่องการไว้หนวดไว้เครา
•ปฏิเสธเรื่องการไถ่บาป
•ปฏิเสธอานาจของสันตะปาปา
•จัดเป็นผู้เคร่งในหลักคาสอนและเชื่อแนวทางที่ตนดาเนินมานั้นถูกต้องเที่ยงตรง
•ไม่ให้ความสาคัญเรื่องพิธีกรรม
•ได้รับอิทธิพลจากกรีก
•ยอมรับศีลศักดิ์สิทธิ์ ๗ ประการเป็นหลักปฏิบัติเหมือนกัน
ลัทธิลูเธอร์น
(นิกายโปรเตสแตนท์)
 ต่อมาศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิคได้แตกแยกออกไปอีก โดยบาทหลวง
ชาวเยอรมันชื่อ มาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther) ท่านเกิดความไม่พอใจต่อสภาพการ
ปกครองของสานักวาติกัน จึงทาหนังสือถึงอาร์คบิชอบ (Archbishop) ผู้เกี่ยวข้อง แต่
กลับได้รับหมายขับออกจากพระศาสนจักรในปี ค.ศ. 1521 มาร์ติน ลูเธอร์ จึงแยก
ตนเองออกมาตั้งนิกายใหม่ คือ โปรเตสแตนต์ (Protestant)
• ไม่พอใจการกระทาคาสอนบางประการของ
สันตะปาปา ไม่นับถือโป๊ บ
• เน้นคัมภีร์ ไม่มีนักบวช ไม่นับถือไม้กางเขน
ว่าสาคัญ
• รับศีลศักดิ์สิทธิ์เพียง 2 ศีล คือ ศีลล้างบาป
และศีลมหาสนิท
สรุปว่า:นิกายใหญ่ๆในศาสนาคริสต์มี 3นิกาย
๑. นิกายโรมันคาทอลิค (คาทอลิคแปลว่าสากล)
๒. นิกายกรีซออร์ธอดอกซ์ ซึ่งนิกายนี้ไม่ขึ้นกับพระสันตะปาปาแห่งนครวาติกันในกรุงโรม
๓. นิกายโปรแตสแต๊นท์ เกิดขึ้นโดยนักบวชชื่อลูเทอร์เป็นผู้สถาปนาขึ้นที่ประเทศเยอรมัน
ซึ่งเป็นนิกายที่ยึดมั่นในคัมภีร์ และไม่ขึ้นกับพระสันตะปาปาแห่งนครวาติกัน.
คัมภีร์ในศาสนา
• คัมภีร์ที่สำคัญในศำสนำคริสต์ คือ
คัมภีร์ไบเบิ้ล
พระคัมภีร์เก่ำ (พันธสัญญำเดิม)
พระคัมภีร์ใหม่ (พันธสัญญำใหม่)
คัมภีร์ของศาสนาคริสต์
๑. คัมภีร์ไบเบิล  หนังสือ
๒. แบ่งเป็น ๒ ภาค
- The Old Testament ได้รับมาจากศาสนายิว
- The New Testament เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา
คริสต์โดยเฉพาะ บันทึกชีวิตและคาสอนของพระเยซู
๓. ยอมรับกันถึง ๓ ศาสนา โดยเฉพาะ The Old Testament
- ยิว คริสต์ และอิสลาม
*** เหตุที่เรียกพระคัมภีร์ว่า “พันธะสัญญา” เพราะถือว่าเป็นพระ
วจนะของพระเจ้า เป็นพันธสัญญาที่พระเจ้าได้มีต่อมนุษย์ผู้มี
ศรัทธาในพระองค์เป็นข้อผูกพันระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์
• คาสอนของศาสนาคริสต์จะอยู่ในคัมภีร์ใหม่ ส่วนใหญ่เป็น
คาสอนในระดับศีลธรรม และการปฏิบัติในชีวิตประจาวัน
โดยเน้นไปที่ความเชื่อมั่นในพระเจ้า คือเชื่อว่าพระเจ้ามีอยู่
จริง และปฏิบัติตามที่พระจ้าสั่งไว้โดยผ่านมาทางพระเยซู.
• กล่าวโดยสรุป คาสอนของพระเยซูก็คือ "ปรัชญาแห่งความ
รัก" คือรักพระเจ้า รักครอบครัว และรักเพื่อนมนุษย์ทั้งปวง
โดยไม่เลือกชนชั้นและเชื้อชาติ รวมทั้งการให้อภัยไม่โกรธ
เกลียดแม้ผู้ที่มาทาร้ายตนเอง.
• ส่วนคาสอนในระดับอภิปรัชญานั้นถูกแต่งขึ้นโดยสาวกรุ่น
ใหม่ ที่บวกเอาแนวคิดของนักปรัชญาเช่นอริสโตเติ้ลของใน
ยุคนั้นเข้าไว้ จึงทาให้ศาสนาคริสต์มีความแข็งแกร่งทางภูมิ
ปัญญามาก.
เป้ าหมายสูงสุด
• การเข้าถึงพระเจ้าและดารงชีวิตเป็น
อันหนึ่งอันเดียวกับพระเจ้า
• คือ การได้กลับไปอยู่กับพระเจ้าชั่ว
นิรันดร โดยมีความเชื่อมาดั้งเดิมว่าจะมี
พระเมสสิอาห์(พระคริสต์)มาเกิดและมา
ช่วยไถ่บาปให้มวลมนุษย์พ้นจากบาป
และได้ไปอยู่กับพระเจ้าชั่วนิรันดร ซึ่งวัน
นั้นจะเรียกว่า วันของพระเจ้า คือเป็น
วันที่คนชั่วคนบาปจะถูกลงโทษ ส่วนคนที่
เชื่อมั่นในพระเจ้าจะได้ไปอยู่กับพระเจ้า
ชั่วนิรันดร.
พิธีกรรมที่สาคัญ
ศาสนากิจ
1. ศีลล้างบาป ถือว่าทุกคนมีบาปติดตัวมา จาต้องทาพิธีล้างบาปเสีย
ก่อนที่จะนับถือศาสนาคริสต์
2. ศีลกาลัง เป็นพิธีรับพระจิตให้มาอยู่ในตัวพระสังฆราชเจิมน้ามันที่
หน้าผากของเด็กโตที่รู้รับผิดชอบแล้ว เป็นรูปกางเขน
3. ศีลมหาสนิท หรือเรียกอีกอย่างว่า มิสซา เป็นพิธีที่แสดงให้เห็นว่าผู้รับ
ศีลข้อนี้แล้วได้อยู่แนบสนิทกับพระเยซู และเพื่อระลึกถึงชีวิตและคา
สอนของพระเยซู
4. ศีลแก้บาปหรืออภัยบาป เป็นพิธีที่ชาวคริสต์ที่สานึกว่าตนได้ทาบาปลง
ไป โดยคุกเข่าลงต่อหน้าบาทหลวงและสารภาพความผิดที่ได้กระทา
ไป เป็นการปลดเปลื้องบาปของตน
5. ศีลสมรส เป็นพิธีที่ให้บ่าวสาวประกาศคามั่นว่าจะเป็นสามีภรรยากัน
ตลอดไปไม่หย่าร้าง แม้มีบุตรธิดาก็จะนับถือพระเจ้าตลอดไป
6. ศีลบวช พิธีนี้จะทากับผู้ที่เลื่อมใสมั่นคง พร้อมที่จะรับใช้ศาสนาคริสต์
แล้วก็จะเป็นบาทหลวง
7. ศีลเจิมครั้งสุดท้าย พิธีนี้จะทาให้เฉพาะคนป่วยหนัก ใกล้มรณะ
สัญลักษณ์ของศาสนา
สัญลักษณ์
- ไม้กางเขน
- รูปพระเยซู
- รูปพระแม่มาเรีย
ฐานะของศาสนาในปัจจุบัน
• ศาสนาคริสต์ในปัจจุบันมีผู้นับถือมากที่สุดในโลก มีศา
สนิกกว่า 1,000 ล้านคนทั่วโลก แต่ส่วนใหญ่จะอยู่ในทวีป
ยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย
จบการนาเสนอ
ขอให้พระเจ้าคุ้มครองทุกท่านค่ะ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์niralai
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 

What's hot (20)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 

Similar to ศาสนาคริสต์

ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Dnnaree Ny
 
สไลด์เรื่องศาสนาคริสต์เพื่อการศึกษาวิชาศาสนา.pdf
สไลด์เรื่องศาสนาคริสต์เพื่อการศึกษาวิชาศาสนา.pdfสไลด์เรื่องศาสนาคริสต์เพื่อการศึกษาวิชาศาสนา.pdf
สไลด์เรื่องศาสนาคริสต์เพื่อการศึกษาวิชาศาสนา.pdfmodem1709
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
Dhammadu listname
Dhammadu listnameDhammadu listname
Dhammadu listnameMahatai
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2Satheinna Khetmanedaja
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2Martin Trinity
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2Martin Trinity
 

Similar to ศาสนาคริสต์ (14)

ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
สไลด์เรื่องศาสนาคริสต์เพื่อการศึกษาวิชาศาสนา.pdf
สไลด์เรื่องศาสนาคริสต์เพื่อการศึกษาวิชาศาสนา.pdfสไลด์เรื่องศาสนาคริสต์เพื่อการศึกษาวิชาศาสนา.pdf
สไลด์เรื่องศาสนาคริสต์เพื่อการศึกษาวิชาศาสนา.pdf
 
สื่อการสอนครูรุ่งนภา คงเพ็ชรศักดิ์
สื่อการสอนครูรุ่งนภา คงเพ็ชรศักดิ์สื่อการสอนครูรุ่งนภา คงเพ็ชรศักดิ์
สื่อการสอนครูรุ่งนภา คงเพ็ชรศักดิ์
 
J & b
J & bJ & b
J & b
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
 
Chris
ChrisChris
Chris
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
Dhammadu listname
Dhammadu listnameDhammadu listname
Dhammadu listname
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

ศาสนาคริสต์

Editor's Notes

  1. http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B9%8C