SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
บทที่ 6
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
พราหมณ์ – ฮินดู
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก
เริ่มแรกเรียกตัวเองว่า “พราหมณ์”
คาว่า พราหมณ์ หมายถึง คนในวรรณะที่สูงที่สุดของ
สังคมอินเดีย มีหน้าที่สอนความรู้เกี่ยวกับพระเวทและทา
หน้าที่ติดต่อเทพเจ้า ผู้ที่เป็นพราหมณ์เป็นโดยกาเนิด คือบุตร
ของพราหมณ์ก็จะมีสถานภาพเป็นพราหมณ์ด้วย ต่อมาศาสนา
พราหมณ์ได้เสื่อมความนิยมลงระยะหนึ่ง เนื่องจากอิทธิพล
ของศาสนาพุทธ
อาบน้า
ศักดิ์สิทธิ์
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
นับเป็นเทศกาลที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของการบูชาพระพิฆเนศ
จะกระทาในวันแรม 4 ค่า เดือน 9 และวันแรม 4 ค่า เดือน 10
ซึ่งถือว่าเป็นวันกาเนิดของพระพิฆเนศ เชื่อกันว่าพระองค์จะ
เสด็จลงมาสู่โลกมนุษย์เพื่อประทานพรอันประเสริฐสูงสุดแก่ผู้
ศรัทธาพระองค์ท่าน
1. เทศกาลคเณศจตุรถี
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
เทศกาลนี้มีการจัดพิธีกรรมบูชาและการเฉลิมฉลองอย่าง
ยิ่งใหญ่ทั่วอินเดียและทั่วโลก มีการจัดสร้างเทวรูปพระพิฆเนศขนาด
ใหญ่โตมโหฬาร เพื่อเข้าพิธีบูชา จากนั้นจะแห่องค์เทวรูปไปทั่วเมือง
และมุ่งหน้าไปสู่แม่น้าศักดิ์สิทธิ์สายต่างๆ ถนนหนทางทั่วทุกหนแห่ง
จะมีแต่ผู้คนออกมาชมการแห่องค์เทวรูปนับร้อยนับพันองค์ ผู้ศรัทธา
ทุกคนแต่งชุดส่าหรีสีสันสวยงาม ขบวนแห่จะไปสิ้นสุดที่แม่น้า
ศักดิ์สิทธิ์ เช่น แม่น้าคงคา แม่น้าสรัสวตี ฯลฯ แล้วทาพิธีลอยเทวรู
ปลงสู่แม่น้าหรือทะเล
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
เทศกาล
คเณศจตุรถี
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
ช่วงเดือนกันยายน พ.ศ.2538 มีเหตุการณ์ที่ฮือฮากัน
มากที่สุดก็คือ ปรากฏการณ์ที่เทวรูปดื่มนมสดก็ปรากฏขึ้นมาทั่ว
โลกรวมทั้งประเทศไทยด้วยซึ่งตรงกับเทศกาลประกอบพิธี
คเณศจตุรถี หรือพิธีอุทิศต่อพระคเณศพอดีทาให้ปรากฏการ
ดังกล่าวได้รับความสนใจไปทั่วโลก หนังสือพิมพ์ที่ตีพิมพ์
เรื่องราวดังกล่าวขายดีเป็นเทน้าเทท่า ผู้คนแตกตื่นพากันไปดู
เทวรูปดื่มน้านมกันแพร่หลาย
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
วันที่ประกอบพิธีคเณศจตุรถีนั้น ประชาชน
ทั้งหลายต่างพากันมาทาสักการะบูชารูปเคารพของพระ
คเณศที่ปั้นด้วยดิน (เผา ) เครื่องบูชาจะประกอบไปด้วย
ดอกไม้ (โดยเฉพาะดอกไม้สีสดใส เช่น สีแดง, สีเหลือง, สี
แสด)ขนมต้ม, มะพร้าวอ่อน, กล้วย, อ้อย, นมเปรี้ยว,
(แบบแขก) ขณะทาการบูชา ผู้บูชาจะท่อง พระนาม 108
ของพระองค์
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
2. เทศกาลนวราตรี
นวราตรี เป็น เทศกาลของชาวฮินดูเพื่อทาการสักการบูชา
แด่พระแม่ศักติมหาเทวี คา”นวราตรี” หมายถึง เก้า คืน ใน
ภาษาสันสกฤต ความหมาย เก้า คือ “นว” และ “ราตรี” คือ
กลางคืน หมายความว่า ใน เก้าคืนกับอีกสิบวัน ในการบูชา
ศักติเทวี ทั้ง 9 ปาง ( อวตารของพระแม่ทุรคาเทวี ) และเทวีองค์
อื่นๆ ในศาสนาฮินดูด้วยเช่นกัน
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
เทศกาล
งาน นวราตรี
วัดแขก(สีลม)
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
สาหรับโบสถ์ฮินดู ทีนับถือลัทธิ ศักติ จะทาการบูชาพระแม่ทุรคา
ทั้ง 9 ปาง ใน 9 วันแห่งพิธีกรรมโดยแบ่งทาพิธีดังนี้
วันแรก - ทาการบูชาพระแม่ทุรคาในปางที่ เรียกว่า ปางไศลปุตรี
ธิดาของหิมพาน ราชาแห่งภูเขา ซึ่งเป็นรูปแบบของศักติที่เป็นสหาย
ของพระอิศวร
วันที่สอง - จะทาการบูชาพระแม่ทุรคาในปางที่ เรียกว่า ปาง
พรหมจาริณี ชื่อเป็นที่มาของคาว่า 'พระพรหม' ซึ่งหมายถึง 'ทาปะ'
หรือ การลงทัณฑ์ (มาตา ศักติ)
นวราตรี ของลัทธิศักติ ตันตระ
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
การประกอบพิธี
นวราตรี
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
วันที่สาม - ทาการบูชาพระแม่ทุรคาในปางที่ เรียกว่า ปางจันทร
ฆัณฎา ทรงปราบอสูรด้วยเสียงระฆัง สัญลักษณ์ของความงามและความ
กล้าหาญ
วันที่สี่ - ทาการบูชาพระแม่ทุรคาในปางที่ เรียกว่า ปางกูษามาณฑา
ผู้สร้างของจักรวาลทั้งหมด
ห้าวัน - ทาการบูชาพระแม่ทุรคาในปางที่ เรียกว่า ปางสกันทมาตา
แม่ของพระขันทกุมารนักรบผู้กล้าหาญ โอรสผู้เกิดจากพระศิวะ
วันที่หก - ทาการบูชาพระแม่ทุรคาในปางที่ เรียกว่า ปางกาตยานี
ทรงปราบอสูร ด้วยปางที่มีสามเนตรและสี่กร
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
วันที่เจ็ด - ทาการบูชาพระแม่ทุรคาในปางที่ เรียกว่า
ปางกาลราตรี หรือกาลี ทรงเสวยเลือดอสูร หมายถึงการทาให้
ผู้ที่ชื่นชอบความกล้าหาญ
วันที่แปด - ทาการบูชาพระแม่ทุรคาในปางที่ เรียกว่า
ปางมหาเคารี ทรงเป็นเจ้าแม่แห่งธัญชาติ ทาให้พืชพันธุ์อุดม
สมบูรณ์
วันที่เก้า - ทาการบูชาพระแม่ทุรคาในปางที่ เรียกว่า
ปางสิทธิธาตรี ทรงเป็นเจ้าแม่แห่งความสาเร็จ
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
3. เทศกาลมหาศิวะราตรี
มหาศิวะราตรี ความยิ่งใหญ่แห่งพิธีกรรมการบูชาพระศิวะ
มหาเทพพระเทวาธิเทวะ มหาเทวะ (พระศิวะ) พระองค์ทรง
เป็นเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ พระผู้สร้างทุกสิ่งทุกอย่าง พระผู้เกิดก่อน
ทุกสิ่ง พระผู้ไม่มีวันเกิดและตาย พระองค์มีพระนามมากมาย
แต่ละพระนามนั้นมีความหมายดีในตัวเอง พระนามของพระ
มหาเทพที่กล่าวถึงในโศลกมี 240 พระนาม
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
เทศกาล
มหาศิวะราตรี
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
4. เทศกาลดีปาวลี
Diwali (ดิวาลี) หรือ ดีปาวาลี หมายถึง แถวหรือแนวของตะเกียง
ไฟ (rows of lighted lamps) ดังนั้น Diwali จึงเป็นเทศกาลแห่งแสงไฟ
และความรื่นเริง เพื่อต้อนรับปีใหม่ของชาวฮินดู อีกทั้งยังเป็นการเฉลิม
ฉลองชัยชนะของคุณงามความดีที่มีต่อความชั่วร้าย และแสงสว่างที่อยู่
เหนือความมืดมน ยังแสดงถึงการเริ่มต้นฤดูหนาวอีกด้วย จริงๆ แล้ว
Diwali นั้นเป็นการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติแด่ พระราม และ นางสีดา
พระมเหสี ในการเสด็จกลับมาสู่พระนคร อโยธยา (Ayodhya) ตาม
ความเชื่อของชาวฮินดู
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
เทศกาล
ดีปาวลี
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
วันของเทศกาลดิวาลีนั้นขึ้น 4 วันโดยในแต่ละวันเพื่อเฉลิมฉลอง
แต่ละตานานในแต่ละวัน และแต่ละตานานมีเรื่องราวของเป็นตัวเอง
ดังต่อไปนี้
ตำนำนที่ 1 นั้นคือ วันแรกของเทศกาลนารากะจตุรถีซึ่งเฉลิมฉลอง
การสังหารอสูร Naraka (นาระกะ)โดย พระกฤษณะ
ตำนำนที่ 2 บูชาพระแม่มหาลักษมีเทพีแห่งความมั่งคั่ง ทรัพย์สิน
การเงิน พระองค์ได้เมตตาที่จะประทานพรให้กับเหล่ามวลมนุษย์และ
สานุศิษย์แห่งท่าน ตานานยังได้กล่าวอีกว่า เป็นวันเฉลิมฉลองชัยชนะ
แห่งวามนาวตาร(พราหมณ์แคระซึ่งเป็นอวตารหนึ่งแห่งพระวิษณุ) ที่
ได้รับชัยชนะจากการปราบอสูรพาลี
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
ตำนำนที่ 3 หลังจากที่อสูรพาลีได้พ่ายแพ้ต่อพระวิษณุ
พระองค์ได้เมตตาให้พรอสูรพาลีมีโอกาสที่จะได้ครองโลก 1
วันภายใน 1 ปี และก้าวออกมาจากนรกและสามารถที่จะ
ปกครองโลกได้เพียงวันเดียวเท่านั้น (ตานานนี้เป็นตานานแห่ง
เหล่าผู้บูชาอสูรพาลี เหล่าชาวเมืองพาลีก็จะจุดประทีปโคมไฟ
ทั่วเมืองและแห่แหนร้องราทาเพลงเฉลิมฉลองการกลับมาแห่ง
ราชาพาลี)
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
ศำสนำพรำหมณ์ – ฮินดูกับสังคมไทย
ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมไทยนั้น
คือช่วงที่เป็น ศาสนาพราหมณ์ โดยเข้ามายังประเทศไทยเมื่อใดนั้น ไม่
ปรากฏหลักฐานระยะเวลาที่แน่นอน นักประวัติศาสตร์ส่วนมาก
สันนิษฐานว่า ศาสนาพราหมณ์นี้ น่าจะเข้ามาก่อน สมัยสุโขทัย
โบราณสถานและรูปสลักเทพเจ้าเป็นจานวนมาก ได้แสดงให้เห็นถึง
อิทธิพลของศาสนา เช่น รูปสลักพระนารายณ์ 4 กร ถือสังข์ จักร คทา
ดอกบัว สวมหมวกกระบอก เข้าใจว่าน่าจะมีอายุประมาณพุทธ
ศตวรรษที่ 9-10 หรือเก่าไปกว่านั้น
ทาง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เทศกาลและพิธีกรรม
สรุป
พราหมณ์เข้ามาในประเทศไทยก่อนสมัยสุโขทัยโดยผ่านมาทาง
เขมรทางลุ่มน้าเจ้าพระยาและทางใต้ ศาสนาพราหมณ์คือ ศาสนาฮินดู
ดั้งเดิม ชาวอินเดียได้เข้ามาพร้อมกับศาสนาฮินดู โดยเฉพาะในสมัยกรุง
รัตนโกสินทร์นี้ คัมภีร์ดั้งเดิมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คือคัมภีร์พระ
เวท แปลว่า ความรู้มาจากพระเจ้าพระผู้ประเสริฐ คือ พรหม คัมภีร์พระ
เวทจึง เป็นคาสอนของพระเจ้า มีเทพเจ้าทั้งหลายเป็นที่เคารพนับถือ เช่น
พระอัคนีเทพ พระอินทรเทพ พระอัศวินเทพ สาวิตรีเทพ สุริยเทพ
วรุณเทพ อุสาเทพ โสมเทพ วิษณุเทพ เป็นต้น ชาวฮินดูเลือกบูชาเทพ
องค์หนึ่งองค์ใดที่ตนเองเคารพนับถือเป็นพิเศษ
The End

More Related Content

What's hot

ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมnidkybynew
 
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1ssuserf72d20
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...Tongsamut vorasan
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
Dhammadu listname
Dhammadu listnameDhammadu listname
Dhammadu listnameMahatai
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมniralai
 

What's hot (17)

Boominone
BoominoneBoominone
Boominone
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรม
 
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
Dhammadu listname
Dhammadu listnameDhammadu listname
Dhammadu listname
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
รายงานวันลอยกระทง
รายงานวันลอยกระทงรายงานวันลอยกระทง
รายงานวันลอยกระทง
 

Similar to เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ปัญหาพุทธบุตร
ปัญหาพุทธบุตรปัญหาพุทธบุตร
ปัญหาพุทธบุตรWataustin Austin
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกTongsamut vorasan
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้Kasetsart University
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์sorrachat keawjam
 

Similar to เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู (20)

ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ปัญหาพุทธบุตร
ปัญหาพุทธบุตรปัญหาพุทธบุตร
ปัญหาพุทธบุตร
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University

การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University (20)

ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
ภาษา java sript
ภาษา java sriptภาษา java sript
ภาษา java sript
 
session cookies
session cookiessession cookies
session cookies
 
ภาษา css
ภาษา cssภาษา css
ภาษา css
 
ภาษา xhtml
ภาษา xhtmlภาษา xhtml
ภาษา xhtml
 
ภาษา html5
ภาษา html5ภาษา html5
ภาษา html5
 
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
Entity Relationship
Entity RelationshipEntity Relationship
Entity Relationship
 
แบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบแบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
 

เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู