SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
ผู้สอนอาจารย์ชัชวาลย์ชิงชัย ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาคการศึกษาที่๑๒๕๕๑ บทที่ ๒ ศาสนาในวัฒนธรรมไทย ๙๙๙๐๓๒ วิชาไทยศึกษา http://cyberlab.lh1.ku.ac.th
 
บทที่๒ศาสนาในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๑  ความนำ  :  วัฒนธรรม ๒ . ๒ พระพุทธศาสนาในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๓ ศาสนาพราหมณ์ในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๔ ศาสนาคริสต์ในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๕ ศาสนาอิสลามในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๖ ศาสนาอื่น ๆ ในวัฒนธรรมไทย
ศาสนาในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๑  ความนำ  :  วัฒนธรรม ๒ . ๑ . ๑ ความหมายของวัฒนธรรม ๒ . ๑ . ๒ วัฒนธรรมกับอารยธรรม ๒ . ๑ . ๓ บ่อเกิดของวัฒนธรรม ๒ . ๑ . ๔ ประเภทของวัฒนธรรม ๒ . ๑ . ๕ ศาสนากับวัฒนธรรม ๒ . ๑ . ๖ ศาสนาในวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมมี ๔ ประการ คือ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ศาสนามีความสำคัญต่อวัฒนธรรมในด้านการเป็นแรงบันดาลใจให้มนุษย์สร้างสรรค์วัฒนธรรมอื่น ๆ
คติธรรม คือวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดำเนินชีวิต เป็นเรื่องของจิตใจที่ได้มาจากศาสนา ตัวอย่าง  :  “ ตนเป็นที่พึ่งของตน”  “ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว” “ เกิดเป็นคนต้องขยันจนกว่าจะประสบความสำเร็จ” ๒ . ๑ . ๔ ประเภทของวัฒนธรรม
๒ . ๑ . ๕ ศาสนากับวัฒนธรรม สังคมไทย หมู่บ้าน ศาสนา ( ลัทธิผีสางเทวดา ) กสิกรรม หอผี วัด ปัจจุบันห้างสรรพสินค้า ( วัฒนธรรมพื้นฐาน )
วัฒนธรรมขั้นพื้นฐานของไทยคือการผสมผสานขององค์ประกอบที่สำคัญ ๒ ประการ คือ ,[object Object],[object Object]
๒ . ๑ . ๖ ศาสนาในวัฒนธรรมไทย คนไทย เดิม ลัทธิผีสางเทวดา ไสยศาสตร์ ต่อมา พุทธศาสนา ลัทธิพราหมณ์ เชื่อถือ พุทธ พราหมณ์ ผีสางเทวดา พิธีกรรม พุทธ พราหมณ์ ไสยศาสตร์ ต่อมา ลัทธิจีน ต่อมา เชื่อถือ ขงจื๋อ เต๋า พุทธ พิธีกรรม ไสยศาสตร์ พุทธ ศาสนาคริสต์ เชื่อถือ พระเจ้า พิธีกรรมแบบคริสต์ ต่อมา ศาสนาอิสลาม เชื่อถือ พระเจ้า พิธีกรรมแบบอิสลาม พุทธ พราหมณ์ ผี พระเจ้า วัฒน ธรรม ไทย
วัฒนธรรมไทยก่อตัวมาโดยลำดับชั้น โดยเริ่มต้นจากลัทธิผีสางเทวดาอันเป็นความเชื่อแบบไสยาศาสตร์ที่มีอยู่ทั่วไป จากนั้น จึงเป็นคติความเชื่อแบบศาสนาพราหมณ์  สุดท้าย จึงเป็นคติความเชื่อแบบพระพุทธศาสนา
ลัทธิผีสางเทวดา ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธ หัวใจของคนไทย สรุปด้วยภาพ
จำนวนผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ในโลก
1.  Christianity : 2.1 billion 2.  Islam :  1.5 billion 3. Secular / Nonreligious / Agnostic / Atheist : 1.1 billion 4.  Hinduism :  900 million 5.  Chinese traditional religion : 394 million 6.  Buddhism :  376 million 7.  primal - indigenous : 300 million 8.  African Traditional & Diasporic :  100 million 9.  Sikhism : 23 million 10.  Juche :  19 million 11.  Spiritism : 15 million จำนวนผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ในโลก  ( ต่อ )
12.  Judaism :  14 million 13.  Baha'i : 7 million 14.  Jainism :  4.2 million 15.  Shinto : 4 million 16.  Cao Dai :  4 million 17.  Zoroastrianism : 2.6 million 18.  Tenrikyo :  2 million 19.  Neo - Paganism : 1 million 20.  Unitarian-Universalism :  800 thousand 21.  Rastafarianism : 600 thousand 22.  Scientology :  500 thousand   จำนวนผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ในโลก  ( ต่อ )
จำนวนผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย ที่มา  : http :// service . nso . go . th / nso / g_data23 / stat_23 / toc_3/3.2.1-1 . xls 60,916,441   รวม 222,200 8.  ไม่ทราบ 164,396   7.  ไม่มีศาสนา 48,156   6.  อื่นๆ 6,925   5.  ขงจื้อ 52,631   4.  ฮินดู 486,840   3.  คริสต์ 2,777,542   2.  อิสลาม 57,157,751   1.  พุทธ รวม ศาสนา
๒ . ๓ . ๑ ความเป็นมาโดยสังเขป ๒ . ๓ . ๒ ลักษณะสำคัญของศาสนาพราหมณ์ ๒ . ๓ . ๓ คำสอนสำคัญของศาสนาพราหมณ์ ๒ . ๓ . ๔ อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๓ ศาสนาพราหมณ์ในวัฒนธรรมไทย
ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ปัจจุบันเรียกว่า ศาสนาฮินดู ไม่ปรากฏศาสดาผู้ตั้งศาสนา มีคัมภีร์  พระเวท เป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ แบ่งออกเป็น ๔ คัมภีร์  คือ ๑ )  ฤคเวท ๒ )  ยชุรเวท ๓ )  สามเวท และ ๔ )  อถัพเวท  พึ่งจะได้รับการรวมเป็นคัมภีร์ราว พ . ศ . ๑๗๐๐ ๓ คัมภีร์แรก มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเคารพ ยกย่องพระเจ้า  ส่วนคัมภีร์ที่ ๔ เป็นคัมภีร์ที่ใช้สวดเพื่อความเป็นสิริมงคลและใช้สวดเพื่อทำลายผู้อื่น เป็นที่มาของไสยาศาสตร์ ๒ . ๓ . ๑ ความเป็นมาโดยสังเขป
ศาสนาพราหมณ์ อาณาจักรเขมร  ( ละโว้หรือลพบุรี พุทธศตวรรษที่ ๑๖ ) นับจากนั้นเป็นต้นมา ศาสนาพราหมณ์ก็เริ่มเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในวัฒนธรรมไทย สรุป ๒ . ๓ . ๑ เส้นทางเดินอันยาวไกลของศาสนาพราหมณ์
๒ . ๓ . ๓ คำสอนสำคัญของศาสนาพราหมณ์ ๑ .  อาตมัน ต้นกำเนิด พรหมัน ปรมาตมัน อมตะ ในสรรพสัตว์ ชีวาตมัน ไม่ตาย ไม่เกิด อมตะ ตาย เวียนเกิด ศาสนาพราหมณ์มีความเชื่อว่า วิญญาณเล็กหรือ  ชีวาตมันเป็นอันเดียวกับวิญญาณใหญ่หรือพรหมัน
อาตมัน พรหมัน  ( ปรมาตมัน   =   วิญญาณใหญ่ )  ชีวาตมัน  =  วิญญาณเล็ก การเวียนว่ายตายเกิด
โอม มาจากอักษร ๓ ตัว คือ  อะ หมายถึง พระวิษณุ อุ หมายถึง พระศิวะ มะ หมายถึง พระพรหม ตรีมูรติ
เพื่อที่จะปรับตัวของศาสนาพราหมณ์ในการจะต่อสู้เพื่อแย่งชิงศาสนิกจากศาสนาพุทธ จึงทำให้ศาสนาพราหมณ์ทำการปฏิรูปตัวเองด้วยการสร้างเทพให้มี  3  องค์ชื่อว่า มูรติ  สัญลักษณ์ของโอมซึ่งมาจาก พระพรหม - ผู้สร้าง พระวิษณุ - ผู้รักษา พระศิวะ - ผู้ทำลาย วิษณุ - อ . ศิวะ - อุ . พรหม - ม . โอม  =   ๓
หลักกรรมของศาสนาพราหมณ์ มนุษย์เป็นผู้ทำกรรม พระเจ้าเป็นผู้ให้ผล ดี  –  สวรรค์ ชั่ว - นรก พระเจ้ากำหนด นรก สวรรค์
อาศรมสี่ ( ๒๕ )  พรหมจารี - วัยศึกษา ( ๒๕ )  คฤหัสถะ - วัยครองเรือน ( ๒๕ )  วานปรัสถะ - วัยเข้าป่า ( ๒๕ )  สันยัสตะ -  วัยสละโลก อาศรมสี่ ๑  -  ๒๕ ปี ๒๖  -  ๕๐  ปี ๕๑  -  ๗๕ ปี ๗๖  -  ๑๐๐ ปี
วรรณกรรมชิ้นสำคัญของโลก ชื่อว่ากามสูตร เกิดจากแนวคิดเรื่องอาศรมตอนที่ว่าด้วย คฤหัสถ์ เขียนโดย วัสยายนา มัลลานกะ
โมกษะ
[object Object],[object Object],[object Object]
๒ . ๓ . ๔ อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ในวัฒนธรรมไทย ๑ .  คติความเชื่อ ๒ .  พิธีกรรม ๓ .  ขนบประเพณี ๔ .  ศิลปกรรม ๕ .  วรรณกรรม
๑ .  คติความเชื่อ พุทธ + พราหมณ์ วิญญาณ นรก - สวรรค์ ตาย - เกิด ไสยศาสตร์ ความเชื่อ พิธีกรรม ๒ .  พิธีกรรม ประยุกต์กับศีลธรรมพุทธ เกี่ยวกับชีวิต ที่อยู่อาศัย อาชีพการงาน อื่น ๆ
๓ .  ขนบประเพณี เกี่ยวกับชีวิต เทศกาล ประยุกต์กับศีลธรรมพุทธ รูปแบบพิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์ที่ศาสนาพุทธรับเอามาใช้นั้น จะต้องไม่ขัดกับหลักศีลธรรมในศาสนาพุทธ
๔ .  ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม  –  ปรางค์ ลวดลาย ประติมากรรม  -  เทวรูป จิตรกรรม  –  ภาพเทวดา นรกสวรรค์
๕ .  วรรณกรรม รามายณะ  =   รามเกียรติ์ พระราม พระลักษมณ์
๒ . ๖ ศาสนาอื่น ๆ ในวัฒนธรรมไทย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],http :// www . duangden . com / sikhism / SikhinThai . html ๑ .  สิข   sikhism คุรุนานัก
ลักษณะสำคัญที่สุดของศาสนาสิข คือการผสมผสานระหว่างศาสนาฮินดูกับศาสนาอิสลาม แต่ทำไม่สำเร็จจึงทำให้ต้องเกิดศาสนาสิขขึ้นมา สัญลักษณ์เป็นรูปดาบไขว้และมีดาบสองคมหรือพระขรรค์อยู่กลาง มีวงกลมทับพระขรรค์อีกทีหนึ่ง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],http :// www . divinedigest . com / confu . htm ๒ . ขงจื๊อ  Confucius
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],http :// www . artic . edu / taoism / index . php ๓ .  เต๋า  Taoism
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],http :// www . bahai - religion . org / ๔ . บาไฮ  Bahaism
-  เน้นหลักธรรมสากล -  ศาสดาในทุกศาสนาล้วนแล้วแต่เป็นตัวแทนจากพระเจ้า -  มนุษยชาติเป็นอันเดียวกัน ต่างกันแต่เพียงภายนอก -  พระเจ้าเป็นองค์เดียวกัน หลักการรวมศาสนาสากล ๑ .  ยกศาสนาใดศาสนาหนึ่งขึ้นเป็นศาสนาสากล ๒ .  รวมเอาจุดเด่นของศาสนาต่าง ๆ มาตั้งขึ้นใหม่ ๓ .  ตั้งศาสนาใหม่เอี่ยม
ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ พระประมุขและทรงเป็นพุทธมามกะ ในขณะเดียวกัน พระองค์ก็ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ศาสนาต่างๆอย่างทั่วถึง เปิดโอกาสให้ประชาชนได้นับถือศาสนาต่างๆได้อย่างเสรี วัฒนธรรมไทยมีพระพุทธศาสนาเป็นพื้นฐาน สรุป ๒ . ๖ ศาสนาอื่น ๆ ในวัฒนธรรมไทย
๒ . ๒ พระพุทธศาสนาในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๒ . ๑ ความเป็นมาโดยสังเขป ๒ . ๒ . ๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๒ . ๒ . ๓ อิทธิพลและบทบาทของ   พระพุทธศาสนาในสังคมไทย
๒ . ๒ พระพุทธศาสนาในวัฒนธรรมไทย
๒ . ๒ . ๑ ความเป็นมาโดยสังเขป พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นในประเทศอินเดียเมื่อ ๔๕ ปี ก่อน พุทธศักราช หลังพุทธปรินิพพานราว ๒๐๐ ปีเศษ พุทธศาสนาจึงได้ แพร่หลายจากประเทศอินเดียไปยังดินแดนต่างประเทศ  ประเทศไทยได้รับพระพุทธศาสนาจากประเทศอินเดียตั้งแต่ในครั้งนั้นเป็นต้นมา โดยเชื่อกันว่า ชนชาติไทยได้นับถือพระพุทธศาสนามหายานมาก่อนต่อมา จึงหันมานับถือ พระพุทธศาสนาแบบเถรวาท หรือที่เรียกว่า นิกายฝ่ายใต้
พระเจ้าอโศกมหาราชขึ้นครองราชย์เมื่อ พ . ศ .  ๒๑๘ เป็นองค์ศาสนูปถัมภกในการทำสังคายนาครั้งที่ ๓ และทรงส่งสมณทูตไปประกาศพระศาสนา ๙ สาย มีสายที่สำคัญ ๒ สาย คือ ๑ .  สายที่ไปประเทศศรีลังกา ได้แก่ พระมหินทเถระ และ พระนางสังฆมิตตาเถรีผู้เป็นพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระองค์ ๒ .  สายที่มายังสุวรรณภูมิ ได้แก่ พระโสณะกับพระอุตตระ
 
เถรวาท คือ กลุ่มพระเถระมีพระมหากัสสปะเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๑ มีลักษณะเป็นแนวอนุรักษนิยม ยึดถือตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าไม่ยอมเปลี่ยนแปลงหลักการคำสอน  เจริญอยู่ประมาณ ๕๐๐ ปีหลังพุทธปรินิพพาน บางทีก็เรียกว่า “ชาวพุทธฝ่ายใต้” แต่ชาวพุทธฝ่ายเหนือเรียกชาวพุทธฝ่ายใต้ด้วยความดูถูกว่า “หีนยาน” แปลว่า ยานพาหนะที่เล็ก ขนคนไปนิพพานได้น้อย ปัจจุบัน องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกได้ประชุมและขอร้องให้ยกเลิกคำว่าหีนยานออกไป และใช้คำว่าเถรวาทแทน ปัจจุบันได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา เป็นต้น
อาจริยวาทหรือ มหายาน หมายถึง แนวคำสอนที่ยึดถือตามแนวคำสอนของอาจารย์เป็นหลัก เจริญประมาณ ๕๐๐ ปีต่อมา หลังจากที่ลัทธินิกายเถรวาทเสื่อมลง มีลักษณะหัวก้าวหน้า ปรับปรุงคำสอนเพื่อความพัฒนาของนิกายตนเอง นิกายนี้ เน้นความเป็นพระพุทธเจ้าเพื่อช่วยเหลือสัตว์โลกให้ไปสู่นิพพาน ปัจจุบันนี้ได้แก่ จีน เวียตนาม ญี่ปุ่น  นิกายมนตรยาน หรือวัชรยาน เป็นนิกายที่แยกตัวออกไปจากมหายานและเจริญก้าวหน้าในอีก ๕๐๐ ปีต่อมา
อินเดีย พุทธศาสนา เถรวาท ลังกา มอญ พม่า สุวรรณภูมิ ทวารวดี ละโว้ ล้านนา เขมร สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร์ เนปาล ธิเบต มหายาน ศรีวิชัย จีน
นักวิชาการมีความเชื่อกันว่า พุทธศาสนาเถรวาทที่เข้ามาสู่ดินแดนในประเทศไทยปัจจุบันนี้เป็นครั้งแรกมาจากประเทศอินเดียในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชโดยมีแหล่งหลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดคือ อาณาจักรทวาราวดีอันเป็นอาณาจักรของมอญโบราณ ส่วนพระพุทธศาสนาที่เข้ามาเผยแผ่อย่างต่อเนื่องจากอดีตจนถึงปัจจุบันอย่างไม่ขาดสาย มาจากประเทศศรีลังกา ส่วนพระพุทธศาสนาแบบมหายานนั้น เคยเจริญรุ่งเรืองอยู่ในอาณาจักรตอนใต้ของประเทศไทยที่รู้จักกันในนามว่ “ศรีวิชัย”
พุทธศาสนากับสังคมไทย พระมหากษัตริย์  ( รัฐ )   อุปถัมภ์ ด้านการบริหารปกครอง ด้านการศึกษา ด้านการสั่งสอนเผยแผ่ ด้านการปฏิบัติธรรม ด้านศาสนสถาน พุทธศาสนา พระมหากษัตริย์ไทยเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาในฐานะที่ตัวของพระองค์เองเป็นผู้ทรงทศพิธราชธรรม ในขณะเดียวกันพระองค์ก็เป็นผู้พิทักษ์คุ้มครองพระพุทธศาสนาด้วย
พระพุทธศาสนา ตรัสรู้ ธรรม คำสอน ปัญญา ให้ความสำคัญแก่มนุษย์สูงสุด เน้นการแก้ทุกข์ แก้ปัญหาชีวิตเป็นสำคัญ เน้นความเป็นจริงในปัจจุบัน เน้นการพึ่งตนเอง เป็นศาสนาแห่งการวิเคราะห์ เป็นคำสอนเพื่ออิสรภาพแห่งชีวิต เป็นคำสอนที่ยึดทางสายกลาง มนุษย์ อเทวนิยม ๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑ )  ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา
๒ )  คำสอนสำคัญของพุทธศาสนา ¤   หลักการทั่วไป  ¤ ๑ .  ไม่ทำชั่วทั้งปวง  ( เว้นชั่ว ) ๓ .  ชำระจิตใจให้บริสุทธิ์  ( ทำจิตให้สะอาด ) ๒ .  ทำความดีให้สมบูรณ์  ( ทำดี )
ประมวลคำสอนของพุทธศาสนา ๑ .  ธรรมชาติของทุกข์  ( ผล ) ๒ .  สาเหตุของทุกข์  ( เหตุ ) ๓ .  ผลการดับทุกข์  ( ผล ) ๔ .  วิธีดับทุกข์  ( เหตุ ) สภาพปัญหา การแก้ปัญหา ชีวิต คำสอนที่เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา คือ อริยสัจ ๔
ระบบศีลธรรมในพระพุทธศาสนา จะตั้งอยู่บนพื้นฐานคำสอนที่สำคัญที่สุดคือหลักกรรม หมายถึง กรรมดีและกรรมชั่ว คือมนุษย์จะเป็นไปตามผลกรรมที่ตัวเองสร้าง หลักคำสอนเรื่องปฏิจจสมุปบาท หมายถึง สรรพสิ่งทั้งหลายในโลกไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ แต่อาศัยเหตุ ปัจจัยเกิดขึ้น พระพุทธเจ้าปฏิเสธแนวคิดที่ผิด ๓ ประการ ดังต่อไปนี้ ๑ .  กรรมเก่าดลบันดาล ๒ .  บังเอิญ ๓ .  เทพดลบันดาล หลักการนี้เรียกว่า เด็ดดอกหญ้ากระเทือนถึงดวงดาว ทุกอย่างล้วนสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันหมด
หลักการปฏิบัติขั้นพื้นฐานที่พระพุทธศาสนาสอนให้ชาวบ้านทั่วไปปฏิบัติ มี ๓ ประการคือ ๑ .  ทาน การให้เพื่อขจัดความโลภและความตระหนี่ถี่เหนียว ๒ .  ศีล การมีปกติอยู่ด้วยการไม่เบียดเบียนผู้อื่นเพื่อขจัดความโกรธ ๓ .  ภาวนา คือการฝึกจิตให้สงบและเจริญปัญญาเพื่อการรู้เท่าทันสรรพสิ่งตามความเป็นจริงจะได้ปล่อยวางไม่ยึดมั่นถือมั่น
คำสอนอันเป็นเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา แก้ทุกข์ หรือดับทุกข์ของชีวิตได้สิ้นเชิงที่เรียกว่า นิพพาน อริยมรรคมีองค์   ๘ ความคิดชอบ คำพูดชอบ การกระทำทางกายชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ   ความตั้งใจมั่นชอบ ๑ .  สัมมาทิฎฐิ ๒ .  สัมมาสังกัปปะ   ๓ .  สัมมาวาจา   ๔ .  สัมมากัมมันตะ ๕ .  สัมมาอาชีวะ ความเห็นชอบ ๖ .  สัมมาวายามะ   ๗ .  สัมมาสติ   ๘ .  สัมมาสมาธิ อาชีพชอบ
ในอริยมรรคมีองค์ ๘ คือ ทางสายกลางเส้นเดียวที่เดินไปสู่พระนิพพานนั้นถือว่า ข้อที่ ๑ คือสัมมาทิฐิ สำคัญที่สุดเพราะถ้ามนุษย์มีความเชื่อหรือความเห็นที่ผิดแล้ว การทำ การพูด และทุกสิ่งทุกอย่างย่อมผิดตามไปหมด พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ในบรรดาความผิดทั้งหมด การมีมิจฉาทิฐิถือว่าเป็นโทษที่ร้ายแรงที่สุดยิ่งว่าอนันตริยกรรมเสียอีก” ผู้ที่ปฏิบัติตามหลักอริยมรรคมีองค์ ๘ จะทำให้ถึงซึ่งนิพพาน คือสภาวะที่จิตสะอาดปราศจากกิเลสและมีความสุขร่มเย็นตลอดไป เมื่อตายจากโลกนี้ก็ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป ฯ
อวสาน

More Related Content

What's hot

ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูบทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูDnnaree Ny
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์sorrachat keawjam
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 

What's hot (20)

ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูบทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
2
22
2
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 

Viewers also liked

ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทยbabyoam
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์babyoam
 
พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลาbabyoam
 
Paving a Career in Digital Communications
Paving a Career in Digital CommunicationsPaving a Career in Digital Communications
Paving a Career in Digital CommunicationsStella Lee
 
Overture: A Photo Collection
Overture: A Photo CollectionOverture: A Photo Collection
Overture: A Photo CollectionStella Lee
 
TwitChange: Analysis & Implications
TwitChange: Analysis & ImplicationsTwitChange: Analysis & Implications
TwitChange: Analysis & ImplicationsStella Lee
 
Social Media Case Study: Springfree Trampoline
Social Media Case Study: Springfree TrampolineSocial Media Case Study: Springfree Trampoline
Social Media Case Study: Springfree TrampolineStella Lee
 
Corporate profile R2E jan2014 - Retail Real Estate - Development advisory ser...
Corporate profile R2E jan2014 - Retail Real Estate - Development advisory ser...Corporate profile R2E jan2014 - Retail Real Estate - Development advisory ser...
Corporate profile R2E jan2014 - Retail Real Estate - Development advisory ser...Walter Kleinschmit CRX CSM CLS
 
Bioproduction of bioactive compounds screening of bioproduction conditions of...
Bioproduction of bioactive compounds screening of bioproduction conditions of...Bioproduction of bioactive compounds screening of bioproduction conditions of...
Bioproduction of bioactive compounds screening of bioproduction conditions of...ainia centro tecnológico
 
resultados obtenidos sobre la percepción que tienen los consumidores de los p...
resultados obtenidos sobre la percepción que tienen los consumidores de los p...resultados obtenidos sobre la percepción que tienen los consumidores de los p...
resultados obtenidos sobre la percepción que tienen los consumidores de los p...ainia centro tecnológico
 
Functional aspects of microalgae as novel food ingredients
Functional aspects of microalgae as novel food ingredientsFunctional aspects of microalgae as novel food ingredients
Functional aspects of microalgae as novel food ingredientsainia centro tecnológico
 
Power point Règlement des différends avec les autorités fiscales
Power point   Règlement des différends avec les autorités fiscalesPower point   Règlement des différends avec les autorités fiscales
Power point Règlement des différends avec les autorités fiscalesSelexionLapointe
 
Power point Règlement de conflits en milieur de travail
Power point   Règlement de conflits en milieur de travailPower point   Règlement de conflits en milieur de travail
Power point Règlement de conflits en milieur de travailSelexionLapointe
 
Comment pourrai-je trouver un emploi via les réseaux sociaux ?
Comment pourrai-je trouver un  emploi via les réseaux sociaux ?Comment pourrai-je trouver un  emploi via les réseaux sociaux ?
Comment pourrai-je trouver un emploi via les réseaux sociaux ?Nouha Belaid
 
Retour d'expérience sur une utilisation avancée du MetaCPAN - journée Perl 2012
Retour d'expérience sur une utilisation avancée du MetaCPAN - journée Perl 2012Retour d'expérience sur une utilisation avancée du MetaCPAN - journée Perl 2012
Retour d'expérience sur une utilisation avancée du MetaCPAN - journée Perl 2012Erwan 'Labynocle' Ben Souiden
 
Webschool Tours - droit à l'oubli
Webschool Tours - droit à l'oubliWebschool Tours - droit à l'oubli
Webschool Tours - droit à l'oubliwebschooltours
 
Guide ecocentres
Guide ecocentres Guide ecocentres
Guide ecocentres Jean Pouly
 

Viewers also liked (20)

55555
5555555555
55555
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
666
666666
666
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลา
 
Paving a Career in Digital Communications
Paving a Career in Digital CommunicationsPaving a Career in Digital Communications
Paving a Career in Digital Communications
 
Overture: A Photo Collection
Overture: A Photo CollectionOverture: A Photo Collection
Overture: A Photo Collection
 
TwitChange: Analysis & Implications
TwitChange: Analysis & ImplicationsTwitChange: Analysis & Implications
TwitChange: Analysis & Implications
 
Social Media Case Study: Springfree Trampoline
Social Media Case Study: Springfree TrampolineSocial Media Case Study: Springfree Trampoline
Social Media Case Study: Springfree Trampoline
 
Corporate profile R2E jan2014 - Retail Real Estate - Development advisory ser...
Corporate profile R2E jan2014 - Retail Real Estate - Development advisory ser...Corporate profile R2E jan2014 - Retail Real Estate - Development advisory ser...
Corporate profile R2E jan2014 - Retail Real Estate - Development advisory ser...
 
Bioproduction of bioactive compounds screening of bioproduction conditions of...
Bioproduction of bioactive compounds screening of bioproduction conditions of...Bioproduction of bioactive compounds screening of bioproduction conditions of...
Bioproduction of bioactive compounds screening of bioproduction conditions of...
 
resultados obtenidos sobre la percepción que tienen los consumidores de los p...
resultados obtenidos sobre la percepción que tienen los consumidores de los p...resultados obtenidos sobre la percepción que tienen los consumidores de los p...
resultados obtenidos sobre la percepción que tienen los consumidores de los p...
 
Functional aspects of microalgae as novel food ingredients
Functional aspects of microalgae as novel food ingredientsFunctional aspects of microalgae as novel food ingredients
Functional aspects of microalgae as novel food ingredients
 
Innovative iron fortified bakery products
Innovative iron fortified bakery productsInnovative iron fortified bakery products
Innovative iron fortified bakery products
 
Power point Règlement des différends avec les autorités fiscales
Power point   Règlement des différends avec les autorités fiscalesPower point   Règlement des différends avec les autorités fiscales
Power point Règlement des différends avec les autorités fiscales
 
Power point Règlement de conflits en milieur de travail
Power point   Règlement de conflits en milieur de travailPower point   Règlement de conflits en milieur de travail
Power point Règlement de conflits en milieur de travail
 
Comment pourrai-je trouver un emploi via les réseaux sociaux ?
Comment pourrai-je trouver un  emploi via les réseaux sociaux ?Comment pourrai-je trouver un  emploi via les réseaux sociaux ?
Comment pourrai-je trouver un emploi via les réseaux sociaux ?
 
Retour d'expérience sur une utilisation avancée du MetaCPAN - journée Perl 2012
Retour d'expérience sur une utilisation avancée du MetaCPAN - journée Perl 2012Retour d'expérience sur une utilisation avancée du MetaCPAN - journée Perl 2012
Retour d'expérience sur une utilisation avancée du MetaCPAN - journée Perl 2012
 
Webschool Tours - droit à l'oubli
Webschool Tours - droit à l'oubliWebschool Tours - droit à l'oubli
Webschool Tours - droit à l'oubli
 
Guide ecocentres
Guide ecocentres Guide ecocentres
Guide ecocentres
 

Similar to วัฒนธรรมไทย

ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 

Similar to วัฒนธรรมไทย (20)

ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
9789740328667
97897403286679789740328667
9789740328667
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
111
111111
111
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 

วัฒนธรรมไทย

  • 1. ผู้สอนอาจารย์ชัชวาลย์ชิงชัย ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาคการศึกษาที่๑๒๕๕๑ บทที่ ๒ ศาสนาในวัฒนธรรมไทย ๙๙๙๐๓๒ วิชาไทยศึกษา http://cyberlab.lh1.ku.ac.th
  • 2.  
  • 3. บทที่๒ศาสนาในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๑ ความนำ : วัฒนธรรม ๒ . ๒ พระพุทธศาสนาในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๓ ศาสนาพราหมณ์ในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๔ ศาสนาคริสต์ในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๕ ศาสนาอิสลามในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๖ ศาสนาอื่น ๆ ในวัฒนธรรมไทย
  • 4. ศาสนาในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๑ ความนำ : วัฒนธรรม ๒ . ๑ . ๑ ความหมายของวัฒนธรรม ๒ . ๑ . ๒ วัฒนธรรมกับอารยธรรม ๒ . ๑ . ๓ บ่อเกิดของวัฒนธรรม ๒ . ๑ . ๔ ประเภทของวัฒนธรรม ๒ . ๑ . ๕ ศาสนากับวัฒนธรรม ๒ . ๑ . ๖ ศาสนาในวัฒนธรรมไทย
  • 5.
  • 6. คติธรรม คือวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดำเนินชีวิต เป็นเรื่องของจิตใจที่ได้มาจากศาสนา ตัวอย่าง : “ ตนเป็นที่พึ่งของตน” “ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว” “ เกิดเป็นคนต้องขยันจนกว่าจะประสบความสำเร็จ” ๒ . ๑ . ๔ ประเภทของวัฒนธรรม
  • 7. ๒ . ๑ . ๕ ศาสนากับวัฒนธรรม สังคมไทย หมู่บ้าน ศาสนา ( ลัทธิผีสางเทวดา ) กสิกรรม หอผี วัด ปัจจุบันห้างสรรพสินค้า ( วัฒนธรรมพื้นฐาน )
  • 8.
  • 9. ๒ . ๑ . ๖ ศาสนาในวัฒนธรรมไทย คนไทย เดิม ลัทธิผีสางเทวดา ไสยศาสตร์ ต่อมา พุทธศาสนา ลัทธิพราหมณ์ เชื่อถือ พุทธ พราหมณ์ ผีสางเทวดา พิธีกรรม พุทธ พราหมณ์ ไสยศาสตร์ ต่อมา ลัทธิจีน ต่อมา เชื่อถือ ขงจื๋อ เต๋า พุทธ พิธีกรรม ไสยศาสตร์ พุทธ ศาสนาคริสต์ เชื่อถือ พระเจ้า พิธีกรรมแบบคริสต์ ต่อมา ศาสนาอิสลาม เชื่อถือ พระเจ้า พิธีกรรมแบบอิสลาม พุทธ พราหมณ์ ผี พระเจ้า วัฒน ธรรม ไทย
  • 10. วัฒนธรรมไทยก่อตัวมาโดยลำดับชั้น โดยเริ่มต้นจากลัทธิผีสางเทวดาอันเป็นความเชื่อแบบไสยาศาสตร์ที่มีอยู่ทั่วไป จากนั้น จึงเป็นคติความเชื่อแบบศาสนาพราหมณ์ สุดท้าย จึงเป็นคติความเชื่อแบบพระพุทธศาสนา
  • 11. ลัทธิผีสางเทวดา ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธ หัวใจของคนไทย สรุปด้วยภาพ
  • 13. 1. Christianity : 2.1 billion 2. Islam : 1.5 billion 3. Secular / Nonreligious / Agnostic / Atheist : 1.1 billion 4. Hinduism : 900 million 5. Chinese traditional religion : 394 million 6. Buddhism : 376 million 7. primal - indigenous : 300 million 8. African Traditional & Diasporic : 100 million 9. Sikhism : 23 million 10. Juche : 19 million 11. Spiritism : 15 million จำนวนผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ในโลก ( ต่อ )
  • 14. 12. Judaism : 14 million 13. Baha'i : 7 million 14. Jainism : 4.2 million 15. Shinto : 4 million 16. Cao Dai : 4 million 17. Zoroastrianism : 2.6 million 18. Tenrikyo : 2 million 19. Neo - Paganism : 1 million 20. Unitarian-Universalism : 800 thousand 21. Rastafarianism : 600 thousand 22. Scientology : 500 thousand จำนวนผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ในโลก ( ต่อ )
  • 15. จำนวนผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย ที่มา : http :// service . nso . go . th / nso / g_data23 / stat_23 / toc_3/3.2.1-1 . xls 60,916,441 รวม 222,200 8. ไม่ทราบ 164,396 7. ไม่มีศาสนา 48,156 6. อื่นๆ 6,925 5. ขงจื้อ 52,631 4. ฮินดู 486,840 3. คริสต์ 2,777,542 2. อิสลาม 57,157,751 1. พุทธ รวม ศาสนา
  • 16. ๒ . ๓ . ๑ ความเป็นมาโดยสังเขป ๒ . ๓ . ๒ ลักษณะสำคัญของศาสนาพราหมณ์ ๒ . ๓ . ๓ คำสอนสำคัญของศาสนาพราหมณ์ ๒ . ๓ . ๔ อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๓ ศาสนาพราหมณ์ในวัฒนธรรมไทย
  • 17. ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ปัจจุบันเรียกว่า ศาสนาฮินดู ไม่ปรากฏศาสดาผู้ตั้งศาสนา มีคัมภีร์ พระเวท เป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ แบ่งออกเป็น ๔ คัมภีร์ คือ ๑ ) ฤคเวท ๒ ) ยชุรเวท ๓ ) สามเวท และ ๔ ) อถัพเวท พึ่งจะได้รับการรวมเป็นคัมภีร์ราว พ . ศ . ๑๗๐๐ ๓ คัมภีร์แรก มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเคารพ ยกย่องพระเจ้า ส่วนคัมภีร์ที่ ๔ เป็นคัมภีร์ที่ใช้สวดเพื่อความเป็นสิริมงคลและใช้สวดเพื่อทำลายผู้อื่น เป็นที่มาของไสยาศาสตร์ ๒ . ๓ . ๑ ความเป็นมาโดยสังเขป
  • 18. ศาสนาพราหมณ์ อาณาจักรเขมร ( ละโว้หรือลพบุรี พุทธศตวรรษที่ ๑๖ ) นับจากนั้นเป็นต้นมา ศาสนาพราหมณ์ก็เริ่มเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในวัฒนธรรมไทย สรุป ๒ . ๓ . ๑ เส้นทางเดินอันยาวไกลของศาสนาพราหมณ์
  • 19. ๒ . ๓ . ๓ คำสอนสำคัญของศาสนาพราหมณ์ ๑ . อาตมัน ต้นกำเนิด พรหมัน ปรมาตมัน อมตะ ในสรรพสัตว์ ชีวาตมัน ไม่ตาย ไม่เกิด อมตะ ตาย เวียนเกิด ศาสนาพราหมณ์มีความเชื่อว่า วิญญาณเล็กหรือ ชีวาตมันเป็นอันเดียวกับวิญญาณใหญ่หรือพรหมัน
  • 20. อาตมัน พรหมัน ( ปรมาตมัน = วิญญาณใหญ่ ) ชีวาตมัน = วิญญาณเล็ก การเวียนว่ายตายเกิด
  • 21. โอม มาจากอักษร ๓ ตัว คือ อะ หมายถึง พระวิษณุ อุ หมายถึง พระศิวะ มะ หมายถึง พระพรหม ตรีมูรติ
  • 22. เพื่อที่จะปรับตัวของศาสนาพราหมณ์ในการจะต่อสู้เพื่อแย่งชิงศาสนิกจากศาสนาพุทธ จึงทำให้ศาสนาพราหมณ์ทำการปฏิรูปตัวเองด้วยการสร้างเทพให้มี 3 องค์ชื่อว่า มูรติ สัญลักษณ์ของโอมซึ่งมาจาก พระพรหม - ผู้สร้าง พระวิษณุ - ผู้รักษา พระศิวะ - ผู้ทำลาย วิษณุ - อ . ศิวะ - อุ . พรหม - ม . โอม = ๓
  • 23. หลักกรรมของศาสนาพราหมณ์ มนุษย์เป็นผู้ทำกรรม พระเจ้าเป็นผู้ให้ผล ดี – สวรรค์ ชั่ว - นรก พระเจ้ากำหนด นรก สวรรค์
  • 24. อาศรมสี่ ( ๒๕ ) พรหมจารี - วัยศึกษา ( ๒๕ ) คฤหัสถะ - วัยครองเรือน ( ๒๕ ) วานปรัสถะ - วัยเข้าป่า ( ๒๕ ) สันยัสตะ - วัยสละโลก อาศรมสี่ ๑ - ๒๕ ปี ๒๖ - ๕๐ ปี ๕๑ - ๗๕ ปี ๗๖ - ๑๐๐ ปี
  • 27.
  • 28. ๒ . ๓ . ๔ อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ในวัฒนธรรมไทย ๑ . คติความเชื่อ ๒ . พิธีกรรม ๓ . ขนบประเพณี ๔ . ศิลปกรรม ๕ . วรรณกรรม
  • 29. ๑ . คติความเชื่อ พุทธ + พราหมณ์ วิญญาณ นรก - สวรรค์ ตาย - เกิด ไสยศาสตร์ ความเชื่อ พิธีกรรม ๒ . พิธีกรรม ประยุกต์กับศีลธรรมพุทธ เกี่ยวกับชีวิต ที่อยู่อาศัย อาชีพการงาน อื่น ๆ
  • 30. ๓ . ขนบประเพณี เกี่ยวกับชีวิต เทศกาล ประยุกต์กับศีลธรรมพุทธ รูปแบบพิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์ที่ศาสนาพุทธรับเอามาใช้นั้น จะต้องไม่ขัดกับหลักศีลธรรมในศาสนาพุทธ
  • 31. ๔ . ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม – ปรางค์ ลวดลาย ประติมากรรม - เทวรูป จิตรกรรม – ภาพเทวดา นรกสวรรค์
  • 32. ๕ . วรรณกรรม รามายณะ = รามเกียรติ์ พระราม พระลักษมณ์
  • 33. ๒ . ๖ ศาสนาอื่น ๆ ในวัฒนธรรมไทย
  • 34.
  • 35. ลักษณะสำคัญที่สุดของศาสนาสิข คือการผสมผสานระหว่างศาสนาฮินดูกับศาสนาอิสลาม แต่ทำไม่สำเร็จจึงทำให้ต้องเกิดศาสนาสิขขึ้นมา สัญลักษณ์เป็นรูปดาบไขว้และมีดาบสองคมหรือพระขรรค์อยู่กลาง มีวงกลมทับพระขรรค์อีกทีหนึ่ง
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39. - เน้นหลักธรรมสากล - ศาสดาในทุกศาสนาล้วนแล้วแต่เป็นตัวแทนจากพระเจ้า - มนุษยชาติเป็นอันเดียวกัน ต่างกันแต่เพียงภายนอก - พระเจ้าเป็นองค์เดียวกัน หลักการรวมศาสนาสากล ๑ . ยกศาสนาใดศาสนาหนึ่งขึ้นเป็นศาสนาสากล ๒ . รวมเอาจุดเด่นของศาสนาต่าง ๆ มาตั้งขึ้นใหม่ ๓ . ตั้งศาสนาใหม่เอี่ยม
  • 40. ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ พระประมุขและทรงเป็นพุทธมามกะ ในขณะเดียวกัน พระองค์ก็ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ศาสนาต่างๆอย่างทั่วถึง เปิดโอกาสให้ประชาชนได้นับถือศาสนาต่างๆได้อย่างเสรี วัฒนธรรมไทยมีพระพุทธศาสนาเป็นพื้นฐาน สรุป ๒ . ๖ ศาสนาอื่น ๆ ในวัฒนธรรมไทย
  • 41. ๒ . ๒ พระพุทธศาสนาในวัฒนธรรมไทย ๒ . ๒ . ๑ ความเป็นมาโดยสังเขป ๒ . ๒ . ๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๒ . ๒ . ๓ อิทธิพลและบทบาทของ พระพุทธศาสนาในสังคมไทย
  • 42. ๒ . ๒ พระพุทธศาสนาในวัฒนธรรมไทย
  • 43. ๒ . ๒ . ๑ ความเป็นมาโดยสังเขป พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นในประเทศอินเดียเมื่อ ๔๕ ปี ก่อน พุทธศักราช หลังพุทธปรินิพพานราว ๒๐๐ ปีเศษ พุทธศาสนาจึงได้ แพร่หลายจากประเทศอินเดียไปยังดินแดนต่างประเทศ ประเทศไทยได้รับพระพุทธศาสนาจากประเทศอินเดียตั้งแต่ในครั้งนั้นเป็นต้นมา โดยเชื่อกันว่า ชนชาติไทยได้นับถือพระพุทธศาสนามหายานมาก่อนต่อมา จึงหันมานับถือ พระพุทธศาสนาแบบเถรวาท หรือที่เรียกว่า นิกายฝ่ายใต้
  • 44. พระเจ้าอโศกมหาราชขึ้นครองราชย์เมื่อ พ . ศ . ๒๑๘ เป็นองค์ศาสนูปถัมภกในการทำสังคายนาครั้งที่ ๓ และทรงส่งสมณทูตไปประกาศพระศาสนา ๙ สาย มีสายที่สำคัญ ๒ สาย คือ ๑ . สายที่ไปประเทศศรีลังกา ได้แก่ พระมหินทเถระ และ พระนางสังฆมิตตาเถรีผู้เป็นพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระองค์ ๒ . สายที่มายังสุวรรณภูมิ ได้แก่ พระโสณะกับพระอุตตระ
  • 45.  
  • 46. เถรวาท คือ กลุ่มพระเถระมีพระมหากัสสปะเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๑ มีลักษณะเป็นแนวอนุรักษนิยม ยึดถือตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าไม่ยอมเปลี่ยนแปลงหลักการคำสอน เจริญอยู่ประมาณ ๕๐๐ ปีหลังพุทธปรินิพพาน บางทีก็เรียกว่า “ชาวพุทธฝ่ายใต้” แต่ชาวพุทธฝ่ายเหนือเรียกชาวพุทธฝ่ายใต้ด้วยความดูถูกว่า “หีนยาน” แปลว่า ยานพาหนะที่เล็ก ขนคนไปนิพพานได้น้อย ปัจจุบัน องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกได้ประชุมและขอร้องให้ยกเลิกคำว่าหีนยานออกไป และใช้คำว่าเถรวาทแทน ปัจจุบันได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา เป็นต้น
  • 47. อาจริยวาทหรือ มหายาน หมายถึง แนวคำสอนที่ยึดถือตามแนวคำสอนของอาจารย์เป็นหลัก เจริญประมาณ ๕๐๐ ปีต่อมา หลังจากที่ลัทธินิกายเถรวาทเสื่อมลง มีลักษณะหัวก้าวหน้า ปรับปรุงคำสอนเพื่อความพัฒนาของนิกายตนเอง นิกายนี้ เน้นความเป็นพระพุทธเจ้าเพื่อช่วยเหลือสัตว์โลกให้ไปสู่นิพพาน ปัจจุบันนี้ได้แก่ จีน เวียตนาม ญี่ปุ่น นิกายมนตรยาน หรือวัชรยาน เป็นนิกายที่แยกตัวออกไปจากมหายานและเจริญก้าวหน้าในอีก ๕๐๐ ปีต่อมา
  • 48. อินเดีย พุทธศาสนา เถรวาท ลังกา มอญ พม่า สุวรรณภูมิ ทวารวดี ละโว้ ล้านนา เขมร สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร์ เนปาล ธิเบต มหายาน ศรีวิชัย จีน
  • 49. นักวิชาการมีความเชื่อกันว่า พุทธศาสนาเถรวาทที่เข้ามาสู่ดินแดนในประเทศไทยปัจจุบันนี้เป็นครั้งแรกมาจากประเทศอินเดียในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชโดยมีแหล่งหลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดคือ อาณาจักรทวาราวดีอันเป็นอาณาจักรของมอญโบราณ ส่วนพระพุทธศาสนาที่เข้ามาเผยแผ่อย่างต่อเนื่องจากอดีตจนถึงปัจจุบันอย่างไม่ขาดสาย มาจากประเทศศรีลังกา ส่วนพระพุทธศาสนาแบบมหายานนั้น เคยเจริญรุ่งเรืองอยู่ในอาณาจักรตอนใต้ของประเทศไทยที่รู้จักกันในนามว่ “ศรีวิชัย”
  • 50. พุทธศาสนากับสังคมไทย พระมหากษัตริย์ ( รัฐ ) อุปถัมภ์ ด้านการบริหารปกครอง ด้านการศึกษา ด้านการสั่งสอนเผยแผ่ ด้านการปฏิบัติธรรม ด้านศาสนสถาน พุทธศาสนา พระมหากษัตริย์ไทยเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาในฐานะที่ตัวของพระองค์เองเป็นผู้ทรงทศพิธราชธรรม ในขณะเดียวกันพระองค์ก็เป็นผู้พิทักษ์คุ้มครองพระพุทธศาสนาด้วย
  • 51. พระพุทธศาสนา ตรัสรู้ ธรรม คำสอน ปัญญา ให้ความสำคัญแก่มนุษย์สูงสุด เน้นการแก้ทุกข์ แก้ปัญหาชีวิตเป็นสำคัญ เน้นความเป็นจริงในปัจจุบัน เน้นการพึ่งตนเอง เป็นศาสนาแห่งการวิเคราะห์ เป็นคำสอนเพื่ออิสรภาพแห่งชีวิต เป็นคำสอนที่ยึดทางสายกลาง มนุษย์ อเทวนิยม ๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑ ) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา
  • 52. ๒ ) คำสอนสำคัญของพุทธศาสนา ¤ หลักการทั่วไป ¤ ๑ . ไม่ทำชั่วทั้งปวง ( เว้นชั่ว ) ๓ . ชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ ( ทำจิตให้สะอาด ) ๒ . ทำความดีให้สมบูรณ์ ( ทำดี )
  • 53. ประมวลคำสอนของพุทธศาสนา ๑ . ธรรมชาติของทุกข์ ( ผล ) ๒ . สาเหตุของทุกข์ ( เหตุ ) ๓ . ผลการดับทุกข์ ( ผล ) ๔ . วิธีดับทุกข์ ( เหตุ ) สภาพปัญหา การแก้ปัญหา ชีวิต คำสอนที่เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา คือ อริยสัจ ๔
  • 54. ระบบศีลธรรมในพระพุทธศาสนา จะตั้งอยู่บนพื้นฐานคำสอนที่สำคัญที่สุดคือหลักกรรม หมายถึง กรรมดีและกรรมชั่ว คือมนุษย์จะเป็นไปตามผลกรรมที่ตัวเองสร้าง หลักคำสอนเรื่องปฏิจจสมุปบาท หมายถึง สรรพสิ่งทั้งหลายในโลกไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ แต่อาศัยเหตุ ปัจจัยเกิดขึ้น พระพุทธเจ้าปฏิเสธแนวคิดที่ผิด ๓ ประการ ดังต่อไปนี้ ๑ . กรรมเก่าดลบันดาล ๒ . บังเอิญ ๓ . เทพดลบันดาล หลักการนี้เรียกว่า เด็ดดอกหญ้ากระเทือนถึงดวงดาว ทุกอย่างล้วนสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันหมด
  • 55. หลักการปฏิบัติขั้นพื้นฐานที่พระพุทธศาสนาสอนให้ชาวบ้านทั่วไปปฏิบัติ มี ๓ ประการคือ ๑ . ทาน การให้เพื่อขจัดความโลภและความตระหนี่ถี่เหนียว ๒ . ศีล การมีปกติอยู่ด้วยการไม่เบียดเบียนผู้อื่นเพื่อขจัดความโกรธ ๓ . ภาวนา คือการฝึกจิตให้สงบและเจริญปัญญาเพื่อการรู้เท่าทันสรรพสิ่งตามความเป็นจริงจะได้ปล่อยวางไม่ยึดมั่นถือมั่น
  • 56. คำสอนอันเป็นเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา แก้ทุกข์ หรือดับทุกข์ของชีวิตได้สิ้นเชิงที่เรียกว่า นิพพาน อริยมรรคมีองค์ ๘ ความคิดชอบ คำพูดชอบ การกระทำทางกายชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ ๑ . สัมมาทิฎฐิ ๒ . สัมมาสังกัปปะ   ๓ . สัมมาวาจา ๔ . สัมมากัมมันตะ ๕ . สัมมาอาชีวะ ความเห็นชอบ ๖ . สัมมาวายามะ   ๗ . สัมมาสติ ๘ . สัมมาสมาธิ อาชีพชอบ
  • 57. ในอริยมรรคมีองค์ ๘ คือ ทางสายกลางเส้นเดียวที่เดินไปสู่พระนิพพานนั้นถือว่า ข้อที่ ๑ คือสัมมาทิฐิ สำคัญที่สุดเพราะถ้ามนุษย์มีความเชื่อหรือความเห็นที่ผิดแล้ว การทำ การพูด และทุกสิ่งทุกอย่างย่อมผิดตามไปหมด พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ในบรรดาความผิดทั้งหมด การมีมิจฉาทิฐิถือว่าเป็นโทษที่ร้ายแรงที่สุดยิ่งว่าอนันตริยกรรมเสียอีก” ผู้ที่ปฏิบัติตามหลักอริยมรรคมีองค์ ๘ จะทำให้ถึงซึ่งนิพพาน คือสภาวะที่จิตสะอาดปราศจากกิเลสและมีความสุขร่มเย็นตลอดไป เมื่อตายจากโลกนี้ก็ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป ฯ