SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
ศาสนาสากล
CLASSROOM ONLINE BY KRUTHUN
องค์ประกอบของ
ศาสนา
ศาสดา
หลักธรรม
คาภีร์
สาวก นักบวช
ศาสนาพิธี
ศาสนสถาน
ศาสนิกชน
ศาสนาอิสลาม ไม่มีนักบวช
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู ไม่มีศาสดา
<< สาคัญที่สุด ทุกศาสนาต้องมี
หลักธรรม คาสอน
ศาสนา ความเชื่อ (พระเจ้า) ศาสดา คัมภีร์ จุดมุ่งหมาย
พราหมณ์
พุทธ
คริสต์
อิสลาม
ตรีมูรติ - พระพรหม
- พระนารายณ์
- พระศิวะ
พระยะโฮวาห์ (Yahweh)
พระอัลเลาะห์ (Allah)
พระพุทธเจ้า
พระเยซู
นบีมูฮัมหมัด
พระเวท - ฤคเวท
- ยชุรเวท
- สามเวท
- อาถรรพเวท
ไตรปิฎก – วินัยปิฎก
- สุตตันตปิฎก
- อภิธรรมปิฎก
ไบเบิล
– Old Testament
- New Testament
อัลกุรอาน
โมกษะ
นิพพาน
อาณาจักรของพระเจ้า
กลับไปอยู่กับพระเจ้าอาณาจักรของ
พระเจ้า
ประเภทของศาสนา
เทวนิยม อเทวนิยม
เชื่อในพระเจ้า ไม่เชื่อในพระเจ้า เช่น พุทธ
เชน ขงจื้อ
เอกเทวนิยม พหุเทวนิยม
นับถือพระเจ้าองค์เดียว
เช่น คริสต์ อิสลาม ซิกข์
ยูดาย
นับถือพระเจ้าหลายองค์
เช่น พราหมณ์-ฮินดู ชินโต
ศาสนา พราหมณ์-ฮินดู
<< สัญลักษณ์ของศาสนา อ่านว่า โอม
เกิดจากการเรียกพระนามของเทพเจ้า
ทั้ง 3 พระองค์ (อะ อุ มะ)
ลักษณะโดยทั่วไป
- เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก
- เกิดในชมพูทวีป (อินเดีย)
- ไม่ปรากฏศาสดา
- เดิมชื่อ สนาตนธรรม หมายความว่า
ศาสนาอันเป็นนิรันดร์
- เชื่อเรื่องวรรณะ มนุษย์มีชนชั้นไม่เท่ากัน
ยุคอารยัน (ดึกดาบรรพ์) ยุคพระเวท
1,000 – 100 ปีก่อนพุทธกาล
ยุคพราหมณ์
100 – 700 ปีก่อนพุทธกาล
ยุคฮินดู
พ.ศ.700 เป็นต้นมา
การแบ่งยุคสมัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ยุคที่พวกอารยัน (แขกขาว) อพยพ
เข้ามาในดินแดนของพวกดราวิเดียน
(แขกดา) ชนพื้นเมืองเดิม ที่อาศัยอยู่
บริเวณลุ่มแม่สินธุ และนาเอาความเชื่อ
เรื่องเทพเจ้าของตน มาผสมผสานกับ
ความเชื่อเดิมของชาวพื้นเมือง รวมถึง
ความเชื่อว่าตนเป็ นชนชาติที่สูงส่งกว่า
จนความเชื่อนี้พัฒนากลายเป็ น ระบบ
วรรณะ
ยุคนี้มีการนับถือเทพเจ้าหลาย
พระองค์ (พหุเทวนิยม) มีการแต่ง
คัมภีร์ภาษาสันสกฤต บันทึกบทสวด
อ้อนวอนพระเจ้า จัดเป็ นหมวดหมู่
เรียกว่าเวท (แปลว่า วิทยา : ความรู้)
ถือเป็ นคัมภีร์ ศรุติ หรือสิ่งที่ได้รับมา
จากพระเจ้าโดยตรงผ่านทางฤาษีผู้มี
ทิพย์
ยุคนี้วรรณะพราหมณ์มีอิทธิพลเหนือ
วรรณะอื่น ถูกยกย่องเป็ นผู้วิเศษ ที่
เป็ นสื่อกลางระหว่างมนุษย์และพระ
เจ้า ยุคนี้ยกย่องเทพพระเจ้าองค์เดียว
(เอกเทวนิยม) คือ พระตรีมูรติ ซึ้ง
เป็นร่าง
อวตาลรวมกันของ พระพรหม พระ
นารายณ์ และพระศิวะ
ยุคนี้มีการพัฒนาเป็ นศาสนาฮินดู มี
ความเชื่อเรื่องการหลุดพ้น โมกษะ
ชาวอารยัน (แขกขาว)ชาวดราวิเดียน (แขกดา)
เมืองโมเฮนโจ ดาโร อารยธรรมโบราณแถบลุ่มแม่น้าสินธุ
ระบบวรรณะ
(แบ่งชนชั้นตามชาติกาเนิดและสีผิว)
วรรณะพราหมณ์ เชื่อว่าเกิดจากพระโอษฐ์ (ปาก) ของ
พระผู้เป็นเจ้า เป็นพวกนักบวช
มีหน้าที่ติดต่อกับพระเจ้า
วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ พวกชนชั้นปกครอง นักรบ มีหน้าที่
ปกป้ อง ดูแลชาติบ้านเมือง
มีความเชื่อว่าเกิดจาก พระพาหา (แขน)
ของพระผู้เป็นเจ้า
วรรณะแพศย์ ได้แก่ พวกพ่อค้า ช่างฝีมือ
เป็นคนส่วนใหญ่ในสังคม เชื่อว่าเกิดจาก
พระโสณี (สะโพก) ของพระผู้เป็นเจ้า
วรรณะศูทร คือพวกกรรมกร ทางานรับจ้าง
ใช้แรงงาน เป็นวรรณะต่าสุด เชื่อว่าเกิดจาก
พระบาท (เท้า) ของพระผู้เป็นเจ้า
นอกจากนี้ยังมีพวกนอกวรรณะ ที่เกิดจากการแต่งงานข้ามวรรณะ เรียกว่า จัณฑาล (Dalit แปลว่ามืดมน ไร้อนาคต)
เป็นที่รังเกียจของทุกวรรณะ
คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์ศรุติ หรือ คัมภีร์พระเวท
ฟังมาจากพระเจ้าโดยตรง
ประกอบด้วย
1. ฤคเวท : เก่าแก่ที่สุดเป็นบทสรรเสริญ อ้อนวอนพระเจ้า
2. ยชุรเวท : ใช้บวงสรวง ประกอบพิธีกรรมต่างๆ
3. สามเวท : เป็นบทสวดร้อยกรอง ใช้ในพิธีกรรมถวายน้าโสมแด่พระอินทร์สวดขับกล่อมพระเจ้า
4. อาถรรพเวท : เกี่ยวกับเวทมนตร์ คาถาอาคม
ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท รวมเรียกว่า ไตรเพท
อาถรรพเวท ถูกนามารวมภายหลังปลายยุคพราหมณ์
คัมภีร์สมฤติ
คัมภีร์ที่มนุษย์แต่งขึ้น
1. คัมภีร์ปุราณะ : เกี่ยวกับการกาเนิดเทพเจ้า
2. คัมภีร์อุปนิษัท : เป็นคัมภีร์เกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยวิญญาณสากล (พรหมมัน) ****
3. คัมภีร์ตันตระ : การสนทนาระหว่างพระศิวะ กับพระแม่ทุรคา
4. คัมภีร์อิติหาสะ : ประกอบด้วยมหากาพย์ 2 เรื่อง คือ รามายณะ และมหาภารตะ (ภควัทคีตา)
5. คัมภีร์ธรรมศาสตร์: ตาราอธิบายลักษณธะทางกฏหมายในสังคมฮินดู ****
มหากาพย์ รามายณะ หรือ รามเกียรติ์ ภควัทคีตา บทสนทนาของพระกฤษณะ (พระวิษณุ) กับ เจ้าชายอรชุน
พระตรีมูรติ
ร่างอวตารของเทพทั้ง 3 องค์รวมกัน
พระพรหม (พระผู้สร้าง)
พระนารายณ์ หรือ พระวิษณุ
(พระผู้รักษา)
พระศิวะ หรือ พระอิศวร
(พระผู้ทาลาย)
นิกายในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
นิกาย พระเจ้าที่นับถือ
พรหม พระพรหม
ไวษณพ พระนารายณ์ หรือ พระวิษณุ
ไศวะ พระศิวะ หรือ พระอิศวร
ศักติ ชายาของพระเจ้า
ลัทธิไวษณพ นับถือพระนารายณ์ หรือ พระวิษณุ เป็นเทพสูงสุด เชื่อในร่างอวตาลต่างๆ
ของพระองค์ในการเนรมิตกายลงมาปราบทุกข์เข็นให้มนุษย์
ลัทธิไศวะ นับถือพระศิวะ หรือ พระอิศวรเป็นเทพสูงสุด สัญลักษณ์คือ ศิวลึงค์บนฐานโยนี
ลัทธิศักติ นับถือพระชายาของเทพเจ้า
พระแม่สุรัสวดี (ชายาพระพรหม)
ตัวแทนแห่งปัญญา พาหนะเป็นนกยูง
พระแม่ลักษมี (ชายาพระนารายณ์)
ตัวแทนแห่งความร่ารวย
พระแม่อุมาเทวี (ชายาพระศิวะ)
ตัวแทนแห่งอานาจ
พระแม่กาลี ร่างอวตารของพระแม่อุมาเทวี

More Related Content

What's hot

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 

What's hot (20)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 

Similar to ศาสนาสากล

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 

Similar to ศาสนาสากล (8)

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 

ศาสนาสากล

  • 2.
  • 4. ศาสนา ความเชื่อ (พระเจ้า) ศาสดา คัมภีร์ จุดมุ่งหมาย พราหมณ์ พุทธ คริสต์ อิสลาม ตรีมูรติ - พระพรหม - พระนารายณ์ - พระศิวะ พระยะโฮวาห์ (Yahweh) พระอัลเลาะห์ (Allah) พระพุทธเจ้า พระเยซู นบีมูฮัมหมัด พระเวท - ฤคเวท - ยชุรเวท - สามเวท - อาถรรพเวท ไตรปิฎก – วินัยปิฎก - สุตตันตปิฎก - อภิธรรมปิฎก ไบเบิล – Old Testament - New Testament อัลกุรอาน โมกษะ นิพพาน อาณาจักรของพระเจ้า กลับไปอยู่กับพระเจ้าอาณาจักรของ พระเจ้า
  • 5. ประเภทของศาสนา เทวนิยม อเทวนิยม เชื่อในพระเจ้า ไม่เชื่อในพระเจ้า เช่น พุทธ เชน ขงจื้อ เอกเทวนิยม พหุเทวนิยม นับถือพระเจ้าองค์เดียว เช่น คริสต์ อิสลาม ซิกข์ ยูดาย นับถือพระเจ้าหลายองค์ เช่น พราหมณ์-ฮินดู ชินโต
  • 6. ศาสนา พราหมณ์-ฮินดู << สัญลักษณ์ของศาสนา อ่านว่า โอม เกิดจากการเรียกพระนามของเทพเจ้า ทั้ง 3 พระองค์ (อะ อุ มะ) ลักษณะโดยทั่วไป - เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก - เกิดในชมพูทวีป (อินเดีย) - ไม่ปรากฏศาสดา - เดิมชื่อ สนาตนธรรม หมายความว่า ศาสนาอันเป็นนิรันดร์ - เชื่อเรื่องวรรณะ มนุษย์มีชนชั้นไม่เท่ากัน
  • 7. ยุคอารยัน (ดึกดาบรรพ์) ยุคพระเวท 1,000 – 100 ปีก่อนพุทธกาล ยุคพราหมณ์ 100 – 700 ปีก่อนพุทธกาล ยุคฮินดู พ.ศ.700 เป็นต้นมา การแบ่งยุคสมัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ยุคที่พวกอารยัน (แขกขาว) อพยพ เข้ามาในดินแดนของพวกดราวิเดียน (แขกดา) ชนพื้นเมืองเดิม ที่อาศัยอยู่ บริเวณลุ่มแม่สินธุ และนาเอาความเชื่อ เรื่องเทพเจ้าของตน มาผสมผสานกับ ความเชื่อเดิมของชาวพื้นเมือง รวมถึง ความเชื่อว่าตนเป็ นชนชาติที่สูงส่งกว่า จนความเชื่อนี้พัฒนากลายเป็ น ระบบ วรรณะ ยุคนี้มีการนับถือเทพเจ้าหลาย พระองค์ (พหุเทวนิยม) มีการแต่ง คัมภีร์ภาษาสันสกฤต บันทึกบทสวด อ้อนวอนพระเจ้า จัดเป็ นหมวดหมู่ เรียกว่าเวท (แปลว่า วิทยา : ความรู้) ถือเป็ นคัมภีร์ ศรุติ หรือสิ่งที่ได้รับมา จากพระเจ้าโดยตรงผ่านทางฤาษีผู้มี ทิพย์ ยุคนี้วรรณะพราหมณ์มีอิทธิพลเหนือ วรรณะอื่น ถูกยกย่องเป็ นผู้วิเศษ ที่ เป็ นสื่อกลางระหว่างมนุษย์และพระ เจ้า ยุคนี้ยกย่องเทพพระเจ้าองค์เดียว (เอกเทวนิยม) คือ พระตรีมูรติ ซึ้ง เป็นร่าง อวตาลรวมกันของ พระพรหม พระ นารายณ์ และพระศิวะ ยุคนี้มีการพัฒนาเป็ นศาสนาฮินดู มี ความเชื่อเรื่องการหลุดพ้น โมกษะ
  • 8. ชาวอารยัน (แขกขาว)ชาวดราวิเดียน (แขกดา) เมืองโมเฮนโจ ดาโร อารยธรรมโบราณแถบลุ่มแม่น้าสินธุ
  • 9. ระบบวรรณะ (แบ่งชนชั้นตามชาติกาเนิดและสีผิว) วรรณะพราหมณ์ เชื่อว่าเกิดจากพระโอษฐ์ (ปาก) ของ พระผู้เป็นเจ้า เป็นพวกนักบวช มีหน้าที่ติดต่อกับพระเจ้า วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ พวกชนชั้นปกครอง นักรบ มีหน้าที่ ปกป้ อง ดูแลชาติบ้านเมือง มีความเชื่อว่าเกิดจาก พระพาหา (แขน) ของพระผู้เป็นเจ้า วรรณะแพศย์ ได้แก่ พวกพ่อค้า ช่างฝีมือ เป็นคนส่วนใหญ่ในสังคม เชื่อว่าเกิดจาก พระโสณี (สะโพก) ของพระผู้เป็นเจ้า วรรณะศูทร คือพวกกรรมกร ทางานรับจ้าง ใช้แรงงาน เป็นวรรณะต่าสุด เชื่อว่าเกิดจาก พระบาท (เท้า) ของพระผู้เป็นเจ้า นอกจากนี้ยังมีพวกนอกวรรณะ ที่เกิดจากการแต่งงานข้ามวรรณะ เรียกว่า จัณฑาล (Dalit แปลว่ามืดมน ไร้อนาคต) เป็นที่รังเกียจของทุกวรรณะ
  • 10. คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คัมภีร์ศรุติ หรือ คัมภีร์พระเวท ฟังมาจากพระเจ้าโดยตรง ประกอบด้วย 1. ฤคเวท : เก่าแก่ที่สุดเป็นบทสรรเสริญ อ้อนวอนพระเจ้า 2. ยชุรเวท : ใช้บวงสรวง ประกอบพิธีกรรมต่างๆ 3. สามเวท : เป็นบทสวดร้อยกรอง ใช้ในพิธีกรรมถวายน้าโสมแด่พระอินทร์สวดขับกล่อมพระเจ้า 4. อาถรรพเวท : เกี่ยวกับเวทมนตร์ คาถาอาคม ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท รวมเรียกว่า ไตรเพท อาถรรพเวท ถูกนามารวมภายหลังปลายยุคพราหมณ์
  • 11. คัมภีร์สมฤติ คัมภีร์ที่มนุษย์แต่งขึ้น 1. คัมภีร์ปุราณะ : เกี่ยวกับการกาเนิดเทพเจ้า 2. คัมภีร์อุปนิษัท : เป็นคัมภีร์เกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยวิญญาณสากล (พรหมมัน) **** 3. คัมภีร์ตันตระ : การสนทนาระหว่างพระศิวะ กับพระแม่ทุรคา 4. คัมภีร์อิติหาสะ : ประกอบด้วยมหากาพย์ 2 เรื่อง คือ รามายณะ และมหาภารตะ (ภควัทคีตา) 5. คัมภีร์ธรรมศาสตร์: ตาราอธิบายลักษณธะทางกฏหมายในสังคมฮินดู **** มหากาพย์ รามายณะ หรือ รามเกียรติ์ ภควัทคีตา บทสนทนาของพระกฤษณะ (พระวิษณุ) กับ เจ้าชายอรชุน
  • 12. พระตรีมูรติ ร่างอวตารของเทพทั้ง 3 องค์รวมกัน พระพรหม (พระผู้สร้าง) พระนารายณ์ หรือ พระวิษณุ (พระผู้รักษา) พระศิวะ หรือ พระอิศวร (พระผู้ทาลาย)
  • 13. นิกายในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู นิกาย พระเจ้าที่นับถือ พรหม พระพรหม ไวษณพ พระนารายณ์ หรือ พระวิษณุ ไศวะ พระศิวะ หรือ พระอิศวร ศักติ ชายาของพระเจ้า
  • 14. ลัทธิไวษณพ นับถือพระนารายณ์ หรือ พระวิษณุ เป็นเทพสูงสุด เชื่อในร่างอวตาลต่างๆ ของพระองค์ในการเนรมิตกายลงมาปราบทุกข์เข็นให้มนุษย์
  • 15. ลัทธิไศวะ นับถือพระศิวะ หรือ พระอิศวรเป็นเทพสูงสุด สัญลักษณ์คือ ศิวลึงค์บนฐานโยนี
  • 16. ลัทธิศักติ นับถือพระชายาของเทพเจ้า พระแม่สุรัสวดี (ชายาพระพรหม) ตัวแทนแห่งปัญญา พาหนะเป็นนกยูง พระแม่ลักษมี (ชายาพระนารายณ์) ตัวแทนแห่งความร่ารวย พระแม่อุมาเทวี (ชายาพระศิวะ) ตัวแทนแห่งอานาจ พระแม่กาลี ร่างอวตารของพระแม่อุมาเทวี