SlideShare a Scribd company logo
1 of 82
บทที่ 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
และความหลากหลายทางชีวภาพ
รายวิชาวิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (ว31104)
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
- ลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่สามารถถ่ายทอดตามสายเลือดได้ เช่น ลักษณะตาชั้น
เดียว-สองชั้น, แนวผมที่หน้าผากตรง-แหลม, หูมีติ่ง-ไม่มีติ่ง, สันจมูกโด่ง-ไม่โด่ง, มีลักยิ้ม-ไม่มีลักยิ้ม, ลิ้น
พับได้-พับไม่ได้, นิ้วมือเรียวยาว-นิ้วสั้น, นิ้วชี้เท้ายาวกว่านิ้วหัวแม่เท้า-สั้นกว่านิ้วหัวแม่เท้า
- โครโมโซมและสารพันธุกรรม ภายในนิวเคลียส เรียกว่า ดีเอ็นเอ เป็ นสายยาวพันรอบแกนโปรตีนฮิสโตน เส้น
ใยบางๆ นี้เรียกว่า โครมาทิน เมื่อมีการแบ่งเซลล์จะหดสั้นเป็ นแท่งเรียกว่า โครโมโซม และมีการ
จาลองขึ้นมาเท่าตัว
- คนมีจานวน 46 แท่ง โดยจะมีคู่เหมือน เรียก ฮอมอโลกัสโครโมโซม จานวนนเซลล์ร่างกายมี 2 ชุด
เขียนแทนด้วย 2n ส่วนในเซลล์สืบพันธุ์จะไม่มีคู่เหมือนมีเพียง 1 ชุด เขียนแทนด้วย n
J.G. Mendel
“ บิดาแห่ง
วิชาพันธุ
ศาสตร์ ”
การแบ่งเซลล์ (Cell Division) จาแนกได้ 2 ลักษณะ คือ ไมโทซิส และ ไมโอซิส
1. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส สิ่งมีชีวิตมีการแบ่งเซลล์เพื่อการเจริญเติบโต และเพิ่มพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนสาร
กับสิ่งแวดล้อม การแบ่งมีขั้นตอน ดังนี้
1.1 ระยะอินเทอร์เฟส เซลล์เตรียมความพร้อมในการแบ่งเซลล์ ได้แก่ การสังเคราะห์ เอนไซม์ โปรตีน ออร์แกเนลล์
และมีการเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมเป็น 2 เท่า ทาให้เกิดการจาลองโครโมโซมจาก เป็น 2 โครมาทิด
1.2 ระยะโพรเฟส โครโมโซมเริ่มเห็นชัดขึ้น เซนทริโอลสร้างเส้นใยสปินเดิล
1.3 ระยะเมทาเฟส โครโมโซมหดสั้นที่สุด ขนาดใหญ่ที่สุด เห็นได้ชัดเจน โครโมโซมเรียงตัวแนวกลาง มีเส้น
ใยสปินเดิลจับอยู่ตรงตาแหน่งเซนโทรเมียร์ โดยยึดกับโปรตีนไคนีโทคอร์ เยื่อหุ้มนิวเคลียสสลายตัวหมด
1.4 ระยะแอนาเฟส โครมาทิดแยกจากกันโดยการหดตัวของเส้นใยสปินเดิล ทาให้โครโมโซมแยกเป็น 2 กลุ่ม
1.5 ระยะเทโลเฟส โครโมโซมที่แยก จะเริ่มสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียส ทาให้เห็นนิวเคลียส 2 อัน ถือว่าสิ้นสุด การแบ่ง
ไซโทพลาซึมมี 2 กรณี
• เซลล์สัตว์ เกิดจากเยื่อหุ้มเซลล์คอดเข้าหากันจนกระทั่งเซลล์ขาดออกจากกันได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์
• เซลล์พืช เกิดการสร้างแผ่นกั้นตรงกลาง และสะสมสารเซลลูโลสทาให้ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์
2. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เป็นกระบวนการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งเป็น 2 ระยะใหญ่ คือ ไมโอซิส I และไมโอซิส II
ไมโอซิส I
ระยะอินเตอร์เฟส I เตรียมความพร้อมเหมือนการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ระยะโพรเฟส I โครโมโซมหดสั้นและมีการเข้าคู่ฮอมอโลกัส และเกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนเกิดความหลากหลาย
ระยะเมทาเฟส I โครโมโซมจะเรียงอยู่กลางเแบบคู่ฮอมอโลกัส โดยมีเส้นใยสปินเดิลจับอยู่ตรงเซนโทรเมีย
ระยะแอนาเฟส I โครโมโซมที่เป็นคู่ฮอมอโลกัส แยกจากกันไปคนละขั้วของเซลล์ และมีจานวนครึ่งหนึ่ง
ระยะเทโลเฟส I สร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียสล้อมรอบ ได้นิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียสและแบ่งไซโทพลาซึม แต่อาจจะไม่เกิดก็ได้
ไมโอซิส II
ระยะอินเตอร์เฟส II ไม่มีการจาลองตัวเอง เนื่องจากแต่ละโครโมโซมมี 2 โครมาทิดแล้ว ส่วนระยะโพรเฟส II แอนาเฟส
II เทโลเฟส II จะคล้ายการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส + แบ่งไซโทพลาซึมในระยะนี้อีกครั้ง ในที่สุดจะได้ 4 เซลล์
โครงสร้างพื้นฐานทางดีเอ็นเอ ขดตัวพันรอบโปรตีนฮิสโตน = โครมาทิน  โครโมโซม ( 1 หรือ 2 โครมา
ติด)
มีหน่วยย่อย คือ นิวคลีโอไทด์ ต่อกันเป็ นสายยาว ซึ่งประกอบด้วย
1. น้าตาลเพนโทส (S) เป็ นน้าตาลที่คาร์บอน 5 อะตอม มีโครงสร้างเป็ นรูปห้าเหลี่ยม
2. หมู่ฟอสเฟต (P) PO4
3-
3. ไนโตรจีนัสเบส มี 4 ชนิด ได้แก่ อะดีนิน (A) ไทมีน (T) ไซโทซีน (C) กวานีน (G)
สายดีเอ็นเอของคน = สายของนิวคลีโอไทด์ 2 สาย พันเกลียวเวียนขวา โดย A = T และ C ≡ G ลาดับของ
เบสบนสายดีเอ็นเอ เป็ นข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
หน้าที่ของสารพันธุกรรม
1. ดีเอ็นเอต้นแบบในรุ่นหนึ่งสามารถถ่ายทอดข้อมูลผ่านไปรุ่นต่างๆ ได้
2. ลาดับของนิวคลีโอไทด์ในสายดีเอ็นเอเป็นข้อมูลของยีนที่มีบทบาทในการสังเคราะห์โปรตีน
3. ถ้าลาดับของนิวคลีโอไทด์ในสายดีเอ็นเอเปลี่ยนแปลง จะทาให้ลักษณะพันธุกรรมแตกต่างไป ซึ่งอาจเกิด
จากการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนของโครโมโซมในการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์หรือเกิดมิวเทชัน ทาให้เกิดวิวัฒนาการ
@ โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตจะพบเป็นคู่โฮโมโลกัส ซึ่งประกอบด้วยยีนที่เป็นคู่กันเรียกว่า แอลลีล เช่น ยีน A เป็น
แอลลีลกับ a โดยยีน A เป็นยีนเด่น a เป็นยีนด้อย ซึ่งจะพบอยู่ในตาแหน่งที่ตรงกัน
ถ้าให้ N เป็ นยีนที่ควบคุมลักษณะคางบุ๋ม n เป็ นยีนที่ควบคุมคางไม่บุ๋ม N เป็ นแอลลีลกับ n จะมี
ลักษณะโครโมโซมได้ 3 แบบ
ถั่วลันเตามีลักษณะที่ดี ดังนี้
มีการเจริญเติบโตเร็ว มีความหลากหลายทางพันธุกรรม
มีการปฏิสนธิตนเอง
ปลูกง่าย อายุการให้ผลผลิตสั้น ทาให้ศึกษาติดตามผลการทดลองได้ง่าย
ลักษณะทั้ง 7 มีการถ่ายทอดตามหลักของเมนเดล คือไม่มี linkage , multiple alleles , polygene , co dominance ฯลฯ
การศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สามารถเขียนเป็นแผนผังการถ่ายทอดลักษณะเรียกว่า
เพดดีกรี โดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆสื่อความหมายแทน
แผนผังการถ่ายทอดลักษณะนี้เป็นยีนเด่น
การถ่ายทอดลักษณะที่พบบนโครโมโซมร่างกาย
โครโมโซมในเซลล์ของคนมี 2 ชนิด คือ โครโมโซมร่างกายมี 22 คู่ โครโมโซมเพศ 1 คู่ ยีนที่พบมี 2 แบบ ยีนเด่น
(ลักยิ้ม นิ้วเกิน โรคเท้าแสนปม และคนแคระ) และยีนด้อย (ทาลัสซีเมีย : โลหิตจางมาแต่กาเนิด ดีซ่านไม่เติบโต
สมอายุ ตับม้ามโต ดั้งจมูกยุบ กะโหลกศีรษะหนา โหนกแก้มสูง คางและกระดูกกรรไกรกว้าง ฟันบนยื่น กระดูก
เปราะ ผิวคล้า ติดเชื้อง่าย ,ลักษณะผิวเผือก : ไม่สามารถผลิตเมลานิน ทาให้ผิวหนัง ขน ผม และตาไม่มีสี)
@ ลักษณะที่พบในยีนด้อยนี้จะมีโอกาสเกิด 1 ใน 4 กรณีมีพ่อและแม่มียีนด้อยแฝงอยู่ (พาหะ)
การถ่ายทอดลักษณะที่พบบนโครโมโซมเพศ มี 1 คู่ 2 แบบ XX เป็ นหญิง XY เป็ นชาย ยีนที่พบอยู่
บนโครโมโซม X มักพบเป็ นยีนด้อย เช่น ยีนตาบอดสี ยีนโรคภาวะบกพร่องเอนไซม์ กลูโคส-6-
ฟอสเฟต ยีนโรคเลือดไหลไม่หยุด ลักษณะดังกล่าวจะพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง เนื่องจากเพศชาย
มีโครโมโซม X เพียง 1 แท่ง แต่เพศหญิงมี X 2 แท่ง โอกาสเกิดในเพศชายจึงสูงกว่า เช่นยีนตาบอดสี
แทนด้วยยีนด้อย c ยีนตาปกติ C
การถ่ายทอดลักษณะที่มีหลายแอลลีล ลักษณะโดยทั่วไปมียีน 2 แอลลีล คือ แอลลีลเด่น และแอลลี
ลด้อย แต่ลักษณะที่มีแอลลีลมากกว่า 2 แอลลีล เช่น ลักษณะหมู่เลือด A B O ของคนมี 3 แอลลีล คือ IA,
IB, i แอลลีล A สร้างแอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง แบบ A แอลลีล B สร้างแอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง
แบบ B ส่วนแอลลีล i เป็ นแอลลีลที่ไม่สร้างแอนติเจนที่ผิว เม็ดเลือดแดง จึงพบจีโนไทป์ และฟีโนไทป์ ได้ดัง
ตาราง
 ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท
1. ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation)
 เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเกิดจาก
อิทธิพลของกรรมพันธุ์เพียงอย่างเดียว
 เช่น มีลักยิ้ม - ไม่มีลักยิ้ม มีติ่งหู -ไม่มีติ่งหู ห่อลิ้นได้ - ห่อลิ้นไม่ได้
2. ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation)
 เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด
 เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ และ
สิ่งแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูงถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมี
การออกกาลังกายก็จะทาให้มีร่างกายสูงได้
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ความผิดปกติของออโตโซม ได้แก่
- กลุ่มอาการดาวน์
- กลุ่มอาการคริดูชาต์
- กลุ่มอาการเพเทา
- กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด
2. ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ ได้แก่
- กลุ่มอาการเทอร์เนอร์
- กลุ่มอาการที่มีโครโมโซม X 3 เส้น
- กลุ่มอาการไคลน์เฟลเทอร์
- กลุ่มอาการดับเบิลวาย
* Down syndrome เป็นโรคพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมที่ออโตโซมบางคู่ไม่แยก
จากกัน
*เด็กกลุ่มอาการดาวน์จะมีศีรษะค่อนข้างเล็ก แบน และตาเฉียงขึ้น ดั้งจมูกแบน ปากเล็ก ตัวค่อนข้าง
เตี้ย มือสั้น มักมีโรคหัวใจพิการแต่กาเนิด
* ปัญหาหลักคือ ภาวะปัญญาอ่อน
 โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 เส้น ทาให้มีจานวนโครโมโซม 47 เส้น
 สาเหตุ คือ แม่มีบุตรอายุ ประมาณ 30 – 45 ปี จะมีความเสี่ยง
 อาการนี้เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 13 เกินมา 1 โครโมโซม ทาให้เด็กมีอาการ
ปัญญาอ่อน อวัยวะภายในพิการ และมักเสียชีวิตตั้งแต่แรกเกิด หรือหากมี
ชีวิตรอดก็จะมีอายุสั้นมาก
 เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไปบางส่วน
 ทาให้ผู้ป่วยมีศีรษะเล็กกว่าปกติ เกิดภาวะปัญญาอ่อน หน้ากลม ใบหูต่า ตาห่าง หางตาชี้
นิ้วมือสั้น เจริญเติบโตได้ช้า
 เวลาร้องจะมีเสียงเหมือนแมว จึงเป็นที่มาของชื่อโรคนี้ว่า
แคทครายซินโดรม (cat cry syndrome)
 โอกาสเกิดประมาณ 1 ใน 3000 และมักเกิดในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 3 เท่า เกิดจาก
โครโมโซมคู่ที่ 18 เกินมา ซึ่งโครโมโซมที่เกินมานี้จะรบกวนการพัฒนาการตามปกติ
อาการ โรคหัวใจแต่กาเนิด มีความผิดปกติเกี่ยวกับม่าน มีปัญหาเกี่ยวกับไต น้าหนัก
น้อย หูต่า ปัญญาอ่อน ศีรษะมีขนาดเล็ก ขากรรไกรสั้น สะดือจุ่น ข้อต่อบิดงอ
 เกิดในเฉพาะเพศหญิง
 โครโมโซม X หายไป 1 แท่ง
 ทาให้เหลือโครโมโซมในเซลล์
ร่างกาย 45 แท่ง
 ผู้ป่วยไม่มีความผิดปกติทาง
สมอง และตัวเตี้ย ที่บริเวณคอมี
พังผืดกางเป็นปีก
 มักเป็นหมันและไม่มี
ประจาเดือน
 มีอายุเท่ากับคนปกติทั่ว ๆ ไป
 พบในเพศชาย
 เกิดจากโครโมโซม X เกินมา 1 หรือ 2 โครโมโซม
 ผู้ป่วยจะมีอาการปัญญาอ่อน รูปร่างอ้อนแอ้น สูงชะลูด หน้าอกโต มีเต้านมเหมือน
ผู้หญิง และเป็นหมัน เพราะไม่มีอสุจิ และมีอัณฑะเล็ก
 ถ้ามีจานวนโครโมโซม X มาก อาการปัญญาอ่อนก็จะรุนแรงมากขึ้น
 เกิดในผู้ชาย
 ที่มีโครโมโซม y เกินมา 1 แท่ง
 มีจีโนไทป์ เป็น x y y เรียกว่า Super Male
 ลักษณะจะเป็นผู้ชายที่มีร่างกายปกติ มี
อารมณ์ฉุนเฉียว สูงมากกว่า 6 ฟุต มีระดับ
ฮอร์โมนเพศชายในเลือดสูงกว่าปกติ
 เป็นหมัน ไม่สามารถมีบุตรได้
 โรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่ง ที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของจานวนของ
โครโมโซมเพศ (sex chromosome) โรคนี้จะเกิดในผู้หญิง ซึ่งผู้หญิงโดยปกติ
จะมีโครโมโซม(chromosome
 ทาให้ผู้หญิงคนนั้นเป็ นหมัน เจริญเติบโตไม่เต็มที่ และไม่มีประจาเดือน) X
จานวน 2 แท่ง คือ XX
 โครโมโซมของคนเรามี 23 คู่ หรือ 46 แท่ง แบ่งออกเป็นสองชนิด คือ
 ออโตโซม (Autosome) คือ โครโมโซมร่างกาย มี 22 คู่ หรือ 44 แท่ง
 เซ็กโครโมโซม ( Sex chromosome) คือ โครโมโซมเพศ มี 1 คู่
หรือ 2 แท่ง
- โครโมโซมเพศ ในหญิงจะเป็นแบบ X X
- โครโมโซมเพศ ในชายจะเป็นแบบ X Y
 ความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในโครโมโซมเพศ ( Sex chromosome)
 เกิดขึ้นได้ทุกเพศ แต่โอกาสเกิดขึ้นจะมีมากในเพศใดเพศหนึ่ง
 ลักษณะที่ควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X ได้แก่ หัวล้าน ตาบอดสี โรคฮีโมฟีเลีย โรคภาวะพร่องเอนไซม์
จี – 6 - พีดี ( G – 6 - PD)
โรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบ
 ความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในโครโมโซมร่างกาย (Autosome)
 เกิดขึ้นได้ทุกเพศและแต่ละเพศมีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากัน
 ลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนด้อยบนโครโมโซม ได้แก่ โรคธาลัสซีเมีย ผิวเผือก เซลล์เม็ดเลือดแดงเป็นรูปเคียว
 ลักษณะที่ควบคุมโดยยีนเด่นบนโครโมโซม ได้แก่ โรคท้าวแสนปม
นิ้วมือสั้น คนแคระ
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น การผ่าเหล่า การคัดเลือกโดย
ธรรมชาติ การปรับปรุงพันธุ์โดยคน การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ทาให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
การผ่าเหล่า คือ การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้มี 2 แบบ
1. การกลายพันธุ์ของโครโมโซม เช่น พืชที่มีจานวนโครโมโซม 3n,4n จะมีการเจริญเติบโตมากกว่าปกติ (2n)
2. การกลายพันธุ์ของยีน เช่น โรคทางพันธุกรรม ลักษณะผิวเผือก ลักษณะลวดลายบนใบหรือดอกของพืช
สาเหตุของการเกิดการกลายพันธุ์
1. เกิดเองตามธรรมชาติ ซึ่งอาจเกิดจากความผิดปกติขณะแบ่งเซลล์
2. รังสีสามารถทาให้เกิดการกลายพันธุ์ได้ เช่น รังสีแกมมา ซึ่งใช้ในพืช เช่น พุทธรักษา เบญจมาศ ปทุมมา
3. สารเคมี เช่น อะฟลาทอกซินที่ได้จากราในอาหาร ไนโตรซามีนที่ได้จากดินประสิวในการถนอมอาหาร
การคัดเลือกโดยธรรมชาติ เป็ นแนวความคิดของ ชาร์ล ดาร์วิน ได้เสนอทฤษฎีวิวัฒนาการ ซึ่งกล่าวถึง
สิ่งมีชีวิตที่มีความเหมาะสมที่สุดจะคงอยู่ เนื่องจากมีการแข่งขันกันเพื่อแย่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด
เขาพบว่า นกจาบบนเกาะกาลาปากอสมีลักษณะจะงอยปากแตกต่างกัน เนื่องจากอาหารของนก
เหล่านั้นแตกต่างกัน (ปรับพันธุกรรม) ผล คือ ทาให้สิ่งมีชีวิตที่อยู่รอดได้มีความแข็งแรงและมีความ
หลากหลายทางพันธุกรรม
การคัดเลือกพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โดยคน การคัดเลือกโดยคนจะเกิดสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะดีเด่น
ตามความต้องการของคน เช่น การคัดเลือกพันธุ์ปลาทับทิม (การเจริญเติบโตเร็วมีส่วนที่เป็ นเนื้อมาก
โครงกระดูกเล็ก ก้างน้อย เส้นใยกล้ามเนื้อละเอียด รสชาติดี ไม่มีกลิ่นที่เกิดจากไขมันปลา ต้านทานต่อ
โรค : พัฒนามาจากพันธุ์ปลานิลทั่วโลกผสมข้ามพันธุ์) การปรับปรุงพันธุ์ข้าว (พันธุ์ข้าวพันธุ์ดีที่นามาใช้
คือ พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกได้ทุกภาค ใช้เวลา 160 วัน ทนแล้งและดินเปรี้ยวดินเค็ม มาอาบรังสี
แกมมา เกิดมิวเทชันได้พันธุ์ข้าว กข 6 กข 10 และกข 15 ที่มีลักษณะดีขึ้นคือ กข 6 เป็ นพันธุ์ข้าวเหนียว
ที่มีกลิ่นหอม ให้ผลผลิตสูง ทนแล้ง ต้านทานโรคไหม้และโรคใบจุดสีน้าตาลได้ดี กข 15 เป็ นพันธุ์ข้าวเจ้าที่
ให้ผลผลิต เท่ากับข้าวดอกมะลิ 105 แต่ กข 15 มีอายุสั้นกว่า 10 วัน เก็บเกี่ยวได้เร็วกว่า ต้านทานโรคได้
ดีกว่าข้าวดอกมะลิ 105)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เป็ นการนาความรู้ด้านชีววิทยา ในสาขาพันธุศาสตร์มาประยุกต์
เช่น
พันธุวิศวกรรม เป็ นเทคนิคการสร้างสิ่งมีชีวิตมีลักษณะตามที่ต้องการ โดยการสร้าง DNA สายผสมโดยการ
ถ่ายยีนที่ต้องการลงไปแบคทีเรีย เพื่อให้เป็ นตัวพายีนเหล่านั้นเข้าไปในสิ่งมีชีวิตที่ต้องการสร้างพันธุกรรม
ใหม่ เรียกว่า สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมหรือจีเอ็มโอ ในปัจจุบัน เช่น ฝ้ ายบีทีและข้าวโพดบีทีที่ต้านทาน
แมลง (แบคทีเรีย Bacillus thuringiensis สร้างโปรตีนเป็ นพิษต่อแมลง) พริก มะละกอ ต้านทานไวรัส ยีน
สังเคราะห์โปรตีนห่อหุ้มอนุภาคไวรัสทาให้ไวรัสไม่สามารถทาอันตราย) การผลิตอินซูลินโดยแบคทีเรีย ทา
โดยตัดยีนอินซูลินจากคนปกติถ่ายลงไปในพลาสมิดของแบคทีเรีย (เป็ น DNA ที่เป็ นวงกลมขนาดเล็ก)
เมื่อแบ่งเซลล์จะทาให้ได้ยีนอินซูลินเป็ นจานวนมาก และสังเคราะห์อินซูลินได้
การโคลน หมายถึง การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ให้มีลักษณะพันธุกรรมเหมือนเดิม สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม = แกะ วัว ในประเทศไทยมีการโคลนวัวเนื้อตัวแรกของโลกชื่อ นิโคลและการ
โคลนวัวนมตัวแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ชื่อ อิง ซึ่งเกิดจากการโคลนเซลล์ใบหูของตัวต้นแบบ
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็ นการโคลนในพืช โดยการนาเอาส่วนของพืชมาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ที่พืช
ต้องการในสภาพปลอดเชื้อ ควบคุมแสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น และกระตุ้นการเจริญของพืชด้วย
ฮอร์โมนพืช ประโยชน์
1. ได้พืชจานวนมากที่มีลักษณะเหมือนเดิม
2. ใช้เวลาสั้นในการผลิตต้นพันธุ์ดี
3. ต้นพันธุ์ที่ได้ปราศจากโรค
4. ใช้ผลิตต้นพันธุ์ที่ผสมกันเองในธรรมชาติยาก เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์
ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ของคนเป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล เพราะคนทุกคนจะมีแตกต่างกันยกเว้นแฝดแท้ที่
จะเหมือนกัน ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของลูกจะได้จากดีเอ็นเอของพ่อและแม่อย่างละครึ่ง
ประโยชน์
1. พิสูจน์เพื่อบุคคลในกรณีฆาตกรรม กรณีบุคคลสูญหาย
2. พิสูจน์ความสัมพันธ์ของพ่อแม่และลูก
ความก้าวหน้าทางพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
1. ด้านการเกษตร สร้างพืช GMO ลักษณะตามที่ต้องการ เช่น ต้านทานโรค ทนแล้ง ให้ผลผลิตคุณค่าทาง
อาหาร
2. การพัฒนาผลิตสัตว์ เช่น การผสมเทียม การถ่ายฝากตัวอ่อน การโคลน
3. การแพทย์และสาธารณสุข เช่น การตรวจโรคหาความบกพร่องก่อนแต่งงาน การรักษาโรคด้วยวิธียีน
บาบัด
4. เทคโนโลยีดีเอ็นเอ เช่น การตรวจสอบดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตเพื่อการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล พันธุ์พืช
พันธุ์สัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ชนิด
1. ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา : ระบบนิเวศมีชนิด จานวนและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตแตกต่าง
กัน
2. ความหลากหลายของสปี ชีส์ : ชนิดของสิ่งมีชีวิตต่างๆ บนโลก
3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม : ลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน
สปี ชีส์ของสิ่งมีชีวิต คือ กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เป็ นประชากรชนิดเดียวกันผสมพันธุ์กันแล้วได้ลูกหลานสืบทอด
ต่อไป เนื่องจากความคล้ายคลึงกันในระดับโครโมโซม ทาให้โครโมโซมจากพ่อและแม่สามารถเข้าคู่กันได้
แต่ละสปี ชีส์จะมีลักษณะเด่นเฉพาะไม่เหมือนสปี ชีส์อื่น แต่ในสปี ชีส์เดียวกันอาจจะแตกต่างกันในเรื่องสาย
พันธุ์ เพศผู้และเพศเมีย วัยที่เจริญเติบโตและที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว
การเกิดสปี ชีส์ใหม่ มีสาเหตุจากความแตกต่างของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพ เกิดการคัดเลือก
ตามธรรมชาติ เกิดประชากรเป็ นกลุ่มย่อยที่มีพันธุกรรมที่แตกต่างกันจนไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้หรือ
ผสมพันธุ์ได้แต่เป็ นหมัน เช่น สิ่งมีชีวิตสปี ชีส์หนึ่งอาศัยอยู่รวมกลุ่มกัน แต่มีเหตุการณ์ที่ทาให้พื้นที่ที่อาศัย
อยู่แยกกันเช่น มีแม่น้าขวางกลาง ทาให้แบ่งสิ่งมีชีวิตสปี ชีส์นี้เป็ น 2 กลุ่ม และสิ่งมีชีวิตนี้ไม่สามารถ
อพยพย้ายข้ามถิ่นกันได้ทาให้เกิดพฤติกรรมการดารงชีวิตที่แตกต่างกันไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเกิดเป็ นสปี
ชีส์ใหม่ ในปัจจุบันสามารถจาแนกสิ่งมีชีวิตได้ประมาณ 1.5 ล้านสปี ชีส์ และพบว่าแมลงเป็ นสิ่งมีชีวิตที่มีส
ปี ชีส์มากที่สุด
เกณฑ์ที่ใช้จาแนกสิ่งมีชีวิต
1. ลักษณะโครงสร้างภายในและภายนอก แบ่งเป็ น โฮโมโลกัส (โครงสร้างเหมือนแต่หน้าที่
ต่าง)กับ แอนาโลกัส (โครงสร้างต่างแต่หน้าที่เหมือน) เช่น ครีบของปลากับครีบของ
ปลาวาฬ ,ปี กของนกกับแขนของมนุษย์
2. ลักษณะแบบแผนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ โดยเฉพาะสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา
นก กบ และคน ในระยะตัวอ่อนจะมีลักษณะช่องเหงือกที่คล้ายคลึงกัน
3. ลักษณะของซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิต (Fossil) เทอราโนดอล กับ อาร์คีออปเทอรริกซ์ มี
ขากรรไกรยาวมีฟันปลายปี กมีนิ้วคล้ายคลึงกันจึงจัดนกและสัตว์เลื้อยคลานไว้เป็ นพวกใกล้เคียง
กัน
4. ลักษณะโครงสร้างและสารเคมีภายในเซลล์เช่น คลอโรพลาสต์ มีในเซลล์พืชแต่ไม่มีในเซลล์
สัตว์เซนทริโอล และไลโซโซมพบในเซลล์สัตว์เท่านั้น
5. ลักษณะพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต เช่น จิงโจ้ เป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมที่มีเฉพาะทวีป
ออสสเตรเลีย แต่มีกระเป๋ าหน้าท้องจึงจัดอยู่ในกลุ่มกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมในทวีปอื่นๆ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ไวรัสก่อโรคในคน = ไข้หวัด ,ไข้หวัดใหญ่ ,โปลิโอ ,ชิคุนกุนยา ,ตับอักเสบ ,ปอดบวม ,พิษสุนัข
บ้า ,งูสวัด ,เริม ,ไข้เลือดออก ,ไข้เหลือง ,ไข้ทรพิษ ,หัด ,หัดเยอรมัน ,คางทูม ,เอดส์ ,ไข้หวัด
นก ,ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ,ไข้หวัด SARS / ในพืช = ใบด่างของยาสูบและถั่วลิสง
ใบหงิกของพริก (ไวรัสที่พบในแบคทีเรีย = แบคทีเรียโอฟาจ/ ฟาจ)
อาณาจักรมอเนอรา
-โปรคาริโอต (เซลล์ไม่มีนิเคลียส) ,อาจมี/ไม่มีผนังเซลล์ก็ได้ ,อาจอยู่เป็ นเซลล์เดี่ยวหรือกลุ่ม
เซลล์
- แบคทีเรีย และ สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน
- รูปร่างแบคทีเรีย = คอกคัส / บาซิลลัส / สไปริลลัม
- บางชนิดสร้างแคปซูล : เอนโดสปอร์ (ไม่จัดเป็ นการสืบพันธุ์แต่ทนต่อสภาพแวดล้อมไม่
เหมาะสม)
- ผลิตภัณฑ์จากแบคทีเรีย : นมเปรี้ยว โยเกิร์ต น้าส้มสายชู เนยแข็ง ปลาร้า ปลาส้ม ผักดอง
- โรคที่เกิดจากแบคทีเรีย : คอตีบ ไอกรน บาคทะยัก หนองใน ไทฟอยด์ (ไข้รากสาดน้อย)
ซิฟิลิส อหิวาตกโรค บิดไม่มีตัว วัณโรค เรื้อน ปอดบวม
- สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน สังเคราะห์แสงได้ (คลอโรฟิลล์) เช่น นอสตอก ,แอนนาบีน่า (แหน
แดง) ,ออสซิลาโทเรีย (ช่วยเพิ่มธาตุไนโตรเจน) ,สไปรูไลน่า (สาหร่ายเกลียวทองมีโปรตีนสูง)
อาณาจักรโปรติสตา
- เซลล์ที่มีนิวเคลียส ,ที่คล้ายสัตว์ (โพรโทซัว) คล้ายพืช (สาหร่าย) คล้ายฟังไจ (ราเมือก)
- โพรโทซัว เช่น ไกอาเดีย (ปรสิตลาไส้คน) ไตรโคนิมฟา (ลาไส้ปลวก : พึ่งพาช่วยย่อย
เซลลูโลส) ,ไตรโคโมแนส (ติดเชื้อในช่องคลอด) ยูกลีน่า (เป็ นทั้งผู้ผลิตและบริโภค) ,ทริปพาโน
โซม (ปรสิตโรคเหงานหลับ) ไดโนแฟกเจลเลต (ขี้ปลาวาฬ/red tide : ทะเลเป็ นพิษสัตว์น้าตาย)
พลาสโมเดียม (มาลาเรีย/ไข้จับสั่น) มียุงก้นปล่องเป็ นพาหะ) พารามีเซียม ,วอลติเซลล่า ,
สเท็นเตอร์ (พวกที่มีซิเลีย) อะมีบา ,เอนทามีบา ที่สาคัญ อิสโทริกา (โรคบิดมีตัว) จินจิวาริส
(ช่วยกินแบคทีเรียบริเวณฟัน)
อาณาจักรโปรติสตา
- สาหร่าย เป็ นผู้ผลิตกาลังสูงสุดในโลก มีรงควัตถุสังเคราะห์แสงชนิดต่างๆบรรจุในคลอโรพ
ลาสต์
• สาหร่ายสีน้าตาล มีโครงสร้างซับซ้อนน้อยสุด เช่น พาดิน่า , ลามินาเรีย ,ฟิวคัส (ทั้ง
3 ชนิดมีโพแทสเซียมสูง) ,ซากาสซัม (สาหร่ายทุ่น มีไอโอดีนสูง) ,เคปป์ (ขนาดใหญ่
ที่สุด)
• ไดอะตอม มีเซลล์เดียว ผนังเซลล์เป็ น 2 ฝาประกบกัน (ซิลิกา) เมื่อตายทับถมซึ่ง
สามารถขุดมาใช้ในอุตสาหกรรมขนาดกลาง : เครื่องแก้ว ยาขัดโลหะ ยาสีฟัน
• สาหร่ายสีแดง มีสารคาราจีแนน (สกัดทาวุ้น) เช่น พอไฟร่า (จีฉ่าย ,โนริ : ทาอาหาร)
,สาหร่ายผมนาง (ผลิตวุ้น)
• สาหร่ายสีเขียว เช่น คลอเรลล่า (โปรตีนสูง) สไปโรไจร่า (เทาน้า : ทาอาหาร) คาร่า
(สาหร่ายไฟ : ใกล้ชิดพืชมากที่สุด)
อาณาจักรฟังไจ
- คือพวกเห็ด รา ยีสต์ มีความใกล้ชิดกับสัตว์มากกว่าพืช เป็ นผู้ย่อยสลายสาคัญในระบบนิเวศ
- เป็ นเซลลที่มีนิวเคลียส รูปร่างลักษณเป็ นเส้นใยไฮฟ่าและไมซีเลียม (หน้าที่หลั่งน้าย่อยและดูด
ซึม หรืออาจเปลี่ยนเป็ นอวัยวะกระจายสปอร์)
- ผนังเซลล์เป็ นสารไคทิน ,สังเคราะห์แสงไม่ได้
- ตัวอย่างเช่น ราแดง (ข้าวแดงและเต้าหู้ยี้) เพนนิซิเลียม (ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลิน)
แอสเปอจิลัส ฟลาวัส (อะฟาทอกซิน : มะเร็งตับ) แอสเปอจิลัส ไนเจอร์ (ผลิตกรดซิตริก) ไร
โซปัส ไนจิแคนส์(ผลิตกรดฟูมาริก) ยีสต์ (กระบวนการหมัก  เอททานอล +
คาร์บอนไดออกไซด์ : เหล้า ไวน์ ขนมปังฟู) การหมักซีอิ้ว/เต้าเจี้ยว/ถั่วหมัก
- ก่อโรคในสัตว์ = กลาก เกลื้อน ง่ามเท้าเปื่ อย / พืช = ราสนิม ราเขม่าดา ราน้าค้าง โรคใบไหม้
อาณาจักรพืช
พืชมีความสาคัญเป็ นอย่างยิ่ง (ผู้ผลิตอาหารในระบบนิเวศ) มีประโยชน์ในด้านอื่น,
มากมาย แต่บางชนิดก็มีโทษ เช่น วัชพืชต่างๆ ทั้งหมดมีประมาณ 240,000 สปี
ชีส์ หรือมากกว่านี้ ซึ่งแพร่กระจายไปได้แทบทุกหนทุกแห่ง แตกต่างกันออกไปใน
แต่ละสภาพที่อยู่
หลักในการพิจารณาและจัดสิ่งมีชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรพืช
1. เซลล์ที่มีนิเคลียส มีการผสมพันธุ์ได้ไซโกตแล้วพัฒนาต่อเป็ นเอมบริโอ
2. ประกอบไปด้วยหลายเซลล์มารวมกันเป็ นเนื้อเยื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง
3. ผนังเซลล์เป็ นสารประกอบพวกเซลลูโลส
4. มีคลอโรฟิลล์บรรจุอยู่ในเม็ดคลอโรพลาสต์
5. โดยทั่วไปไม่เคลื่อนที่เองไม่ได้ แต่ในพืชหลายชนิดขณะเป็ นเซลล์สืบพันธุ์
เคลื่อนที่ได้ เช่น สเปิ ร์มของมอส เฟิน ฯลฯ เพราะมีแฟลเจลลา
6. มีวงจรชีวิตแบบสลับระหว่างสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ
อาณาจักรพืช ได้แบ่งออกเป็ น 10 ไฟลัม
ดังนี้
พืช มีเนื้อเยื่อและเอมบริ
โอ
ไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง มีเนื้อเยื่อลาเลียง
ลิเวอร์เวิตส์
ฮอร์นเวิตส์
มอส
สร้อยนางกรอง,ช้องนางคลี่
ตีนตุ๊กแก
พวกเฟิร์น
ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด
ปรง
แปะก๊วย
สน
มะเมื่อย
พืชดอก แบ่งเป็ น
ใบเลี้ยงเดี่ยว
ใบเลี้ยงคู่
พืชดอก ใบเลี้ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว
ใบเลี้ยง 2 ใบ 1 ใบ
เส้นใบ ร่างแห ขนาน
ราก แก้ว ฝอย
ท่อลาเลียงในราก เรียงตัวเป็ นแฉก เรียงตัวเป็ นวงกลม
ท่อลาเลียงในลาต้น เรียงเป็ นวงอย่างมีระเบียบ จัดเป็ นกลุ่มกระจัดกระจาย
แคมเบียม มี ขยายขนาดด้านข้างได้ ไม่มี สูงขึ้นอย่างเดียว
จานวนกลีบดอก 4X .5X 3X
วิวัฒนาการ ต่ากว่าคล้าย gymnosperm สูงกว่า
พืชที่ไม่มีเมล็ด
พืชที่มีเมล็ด
อาณาจักรสัตว์
- ต้องมีเนื้อเยื่อและเอ็มบริโอ ,สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ,ผู้บริโภค ,มีคลอลาเจน เป็ น
โปรตีนเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ,จานวนมากสุด 3 ลาดับแรก คือ พวกแมลง > พวกหมึก/
หอย > พวกมีกระดูกสันหลัง
- เกณฑ์ที่ใช้จาแนก 9 ข้อ
1. ชั้นเนื้อเยื่อ
2. ช่องลาตัว
3. สมมาตรร่างกาย
4. ปล้องลาตัว
5. ระบบทางเดินอาหาร
6. การเจริญของบลาสโทพอร์
7. การเจริญของตัวอ่อน
8. ระบบประสาท
9. ระบบหมุนเวียนโลหิต
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
1. ไฟลัมพอริเฟอร่า คือ พวกฟองน้า มีทางน้าเข้ารอบตัวและทางน้าออกด้านบน , มีชั้นวุ้นตรง
กลาง , มีเซลล์ปลอกคอดักจับและย่อยอาหาร ,อะมีโบไซต์ (ย่อย/ขนส่งสารอาหารและสร้าง
โครงสร้างลาตัว) จาแนกตามชนิดโครงสร้างลาตัว ได้แก่ ฟองน้าถูตัว (เส้นใยโปรตีน)
ฟองน้าหินปูน และฟองน้าแก้ว (ซิลิกา)
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
2. ไฟลัมซีเลนเทอราต้า เช่น ไฮดรา ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน โอบิเลีย , มีเข็ม
พิษบนหนวด, มี 2 รูปร่าง = โฟลิปและเมดูซ่า (วงชีพแบบสลับ) ,มีช่องว่างกลางลาตัว ,มีทั้ง
การย่อยอาหารภายนอกเซลล์และในเซลล์
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
3. ไฟลัมแพลทีเฮลทิส คือ พวกหนอนตัวแบน มีทั้งอิสระ (พลานาเรีย) และปรสิต (พยาธิใบไม้/
ตัวตืด) ตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร พลานาเรียเกิดการงอกใหม่ได้ , มีเฟลมเซลล์ขับถ่าย และ
ส่วนใหญ่เป็ นกระเทย
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
4. ไฟลัมนีมาโทดา คือ หนอนตัวกลม มีทั้งอิสระ (หนอนในน้าส้มสายชู) ปรสิตในคน (พยาธิ
ต่างๆ) ปรสิตในพืช (ไส้เดือนฝอย) ,ไม่มีเลือดแต่ใช้การหมุนเวียนของเหลวในช่องลาตัว
เทียม, มีท่อขับถ่ายด้านข้างลาตัว ,มักมีคิวติเคิลห่อหุ้มลาตัว และ มีเพศแยกกัน
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
5. ไฟลัมแอนเนลลิด้า คือ หนอนมีปล้อง (หนอนเจริญสุด) ระบบเลือดปิ ดสีแดง (ฮีโมโกลบิน)
ลาตัวเป็ นปล้องมีเยื่อกั้น ส่วนใหญ่เป็ นกระเทย ,มีเมทาเนฟฟริเดียในการขับถ่าย ,ผิวหนัง
หายใจ ,มีหัวใจเทียม (หลอดเลือดส่วนหัว) ตัวอย่างเช่น ไส้เดือน ไส้เดือนทะเลหรือแม่เพรียง
ปลิงน้าจืด ตัวสงกรานต์ ทากดูดเลือด
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
6. ไฟลัมมอสลัสกา ร่างกาย 3 ส่วน คือ เท้า ตัวอ่อนนุ่ม และ แมนเทิล (ชั้นปกคลุมซึ่งสร้างเปลือก
หินปูน) ,ใช้ไตในการขับถ่าย ,ใช้เหงือกในการหายใจ เช่น ทาก ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอย
สองฝา
หมึก หมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง (พวกชั้นสูงเพราะเปลี่ยนหนวดเป็ นเท้า ,ระบบเลือดปิ ดมีฮีโม
ไซยานิน ,มีท่อไซฟอนในการเคลื่อนที่ ,ประสาทเจริญดีสุดในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง , ลิ้น
ทะเลเป็ นโครงสร้าง)
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
7. ไฟลัมอาร์โทรโพดา จานวนมากสุดในโลก โครงสร้างแข็งภายนอก (ไคทิน) ,ระบบเลือดเปิ ด ,
ร่างกาย 3 ส่วน (หัว+อก+ท้อง) หรือ 2 ส่วน หรือเป็ นปล้องๆ ,ลอกคราบเป็ นระยะแต่เฉพาะ
แมลง ส่วนกุ้ง กั้ง ปู จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างระหว่างการเจริญเติบโต
จาแนกตามจานวนหนวด/ขา ได้แก่
อาร์โทรพอด
ไม่มีหนวด
มีหนวด
มีหนวด 2 คู่และขา
มีหนวด 1 คู่
มี 8 ขา
มี 10 ขา
มี 6 ขา
มีมากกว่า 6 ขา
ขาปล้องละ 1 คู่
ขาปล้องละ 2 คู่
แมงมุม
แมงดาทะเล
แมลง
ตะขาบ
กิ้งกือ
กุ้ง กั้ง ปู
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
8. ไฟลัมเอคไคโนเดอร์มาต้า สัตว์ทะเลทั้งหมด เช่น ดาวทะเล เม่นทะเล อีแปะทะเล พลับพลึง
ทะเล ผิวบางหุ้มโครงร่างแข็งหินปูนภายใน ,มีระบบท่อหมุนเวียนน้าในการลาเลียงสาร , มี
หลอดเท้า (เคลื่อนที่ จับเหยื่อ หายใจ) ส่วนใหญ่ใช้เหงือกในการหายใจ
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
9. ไฟลัมคอร์ดาต้า ต้องมีลักษณะทั้ง 4 อย่างน้อยช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต
- เส้นประสาทขนาดใหญ่ด้านหลัง สมองและไขสันหลัง
- โนโทคอดร์ (โครงร่างกาย) ส่วนใหญ่จะมีกระดูกสันหลังมาแทนที่เมื่อโตขึ้น
- ช่องเหงือกที่คอหอย
- กล้ามเนื้อที่ส่วนหาง
ไฟลัมคอร์ดาต้า
สัตว์มีกระดูกสันหลัง : ชั้นสูง ระบบเลือดปิ ด มีฮีโมโกลบินอยู่ในเม็ดเลือดแดง แบ่งออกเป็ น 7 คลาส
1. ปลาปากกลม (ไม่มีขากรรไกร) บางตัวเป็ นปรสิต มีแต่ครีบเดี่ยว ไม่มีเกล็ด เช่น hagfish ,lamprey
@ ปากมีขากรรไกร คือ ปลากระดูกอ่อนและปลากระดูกแข็ง มีทั้งครีบคู่และครีบเดี่ยว มีเกล็ด ส่วนใหญ่
อิสระ
2. ปลากระดูกอ่อน ไม่มีแผ่นปิ ดเหงือกจึงเห็นเหงือกชัดเจน ปากอยู่ด้านท้อง ไม่มีถุงลม เช่น ปลาฉลาม
ปลาฉนาก ปลากระเบน ปลากระต่าย
3. ปลากระดูกแข็ง มีแผ่นปิ ดเหงือกจึงเห็นเงือกไม่ชัด ปากอยู่ข้างหน้า มีถุงลม (กระเพาะปลา) ได้แก่
ปลาทั่วไป
4. สัตว์สะเทินน้า/บก ผิวเปี ยกชื้น ไม่มีเกล็ด มี metamorphosis เช่น กบ เขียด ปาด อึ่งอ่าง คางคก
จงโคร่ง จิ้งจกน้า (salamander) งูดิน หมาน้า
5. สัตว์เลื้อยคลาน ผิวแห้ง มีเกล็ดหรือกระดอง เช่น เต่า งู จระเข้ จิ้งจก ตุ๊กแก ตุ๊ดตู่ กิ้งก่า ตัวเงินตัวทอง
ไดโนเสาร์
6. สัตว์ปี ก มีแผงขน มีการรผลิตพลังงานสูง (สารองอากาศหายใจ) กระดูกโพรงตัวเบา ลดรูปอวัยวะ (ไม่
มีกระเพาะปัสสาวะ รังไข่ข้างเดียว) เช่น นก ไก่ เป็ ด เพนกวิน
7. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีขนเป็ นเส้น เอกลักษณ์ คือ ต่อมน้านม ใบหู กล้ามเนื้อกระบังลม ต่อมเหงื่อ
กระดูกหู 3 ชิ้น (ค้อน ทั่ง โกลน) เม็ดเลือดแดงไม่มี nucleus (โตเต็มที่) ได้แก่ คน ลิง ช้าง ม้า วัว
ควาย แมว หมา แพะ วาฬ โลมา พะยูน ค้างคาว ฯลฯ
Kingdom Animalia
วิวัฒนาการมนุษย์
- ออสตราโลพิเทคัส อาฟฟาเรนซิส (ป้ าลูซี่ เก่าแก่สุด เอธิโอเปีย) ซึ่งสามารถใช้ชีวิตบนพื้นดิน สามารถ
เดินสองขาและเดินสี่ขาได้ ต่างจากลิงชนิดอื่นที่ไม่สามารถเดินสองขาได้ สาเหตุของการปรับตัวให้เดิน
สองขาได้นั้นเป็ นเพราะ การเดินสองขานั้นสามารถยืดตัวให้สูงขึ้น สามารถมองเห็นพื้นที่ทุ่งได้ไกลมาก
ขึ้น
- พาเรนโทรปัส โบไซ มีน้าหนักประมาณ 68 กิโลกรัม และสวนสูงประมาณ 130 เซนติเมตร มีโอกาส
ในการเดินทาง ค้นพบและตั้งถิ่นฐานใหม่ ๆ ขึ้นทั่วทวีปแอฟริกา พละกาลังในการดารงชีวิตได้ไช้มากขึ้น
ร่างกายจึงได้แข็งแกร่ง มีขนาดลาตัวที่ใหญ่ขึ้น แต่ยังไม่ได้ฉลาดขึ้น ยังไม่สามารถจะเรียกว่ามนุษย์ได้
- สปี ชี่ส์ที่พัฒนาต่อมาที่น่าจะมีความเป็ นมนุษย์รุ่นแรกคือ โฮโม เออร์แกสเตอร์ ซึ่งเชื่อกันว่า เป็ นมนุษย์
ต้นแบบที่วิวัฒนาการเป็ นมนุษย์ไปอีกหลายสาย คือ โฮโม ฮาบิลิส (อยู่ในแอฟริกา ใช้มือประดิษฐ์
เครื่องมือและสัมพันธ์เป็ นสังคม) โฮโม อีเร็กทัส (หินเก่า ใช้ไฟ ล่าสัตว์ พัฒนาสังคม) อาศัยอยู่ในเอเซีย
ตะวันออกเฉียงใต้ (มนุษย์ปักกิ่งและมนุษย์ชวา) และแอฟริกาตะวันออก เมื่อ 1.5 ล้านปี มาแล้ว มีความ
เป็ นมนุษย์เต็มตัวแล้ว
- โฮโม นีแอนเดอธัส อาศัยอยู่ในยุโรปและตะวันออกกลาง เมื่อ 100,000 ปี มาแล้ว เป็ นสปี ชี่ส์ที่ตัว
ใหญ่ที่สุด อาศัยอยู่ตามถ้า ล่าสัตว์เป็ นหลัก
- โฮโม แซเปียนส์ สายพันธุ์มนุษย์ ในยุโรปและตะวันออกกลาง มีอายุเมื่อ 250,000 ปี มาแล้ว ยังชีพ
ด้วยการล่าสัตว์เป็ นอาหาร โดยใช้อาวุธที่ได้รับการพัฒนาให้ก้าวหน้าขึ้น
คุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ
1. ความสาคัญต่อระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความเกี่ยวข้องกัน ให้ประโยชน์ต่อโลก เช่น แนวปะการัง
เป็ นแหล่งอนุบาลของสัตว์น้าในทะเล
2. ความหลากหลายของสายพันธุ์ในสปี ชีส์เดียวกัน มีประโยชน์ต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิต เช่น ข้าวพันธุ์
พื้นบ้านไทยมียีนที่ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล
3. ความหลากหลายของสปี ชีส์ ทาให้เกิดประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง เช่น ต้นยางให้น้ายาง
ที่ใช้ในอุตสาหกรรมยาง พืชและสัตว์ เป็ นแหล่งอาหารที่สาคัญของมนุษย์ สารสกัดจากสิ่งมีชีวิตสามารถ
นามาใช้ประโยชน์ในทางยารักษาโรคหลายชนิด เช่น สารเปลาโนทอล (Plaonotol) จากต้นเปล้าน้อย ใช้
รักษาโรคกระเพาะและลาไส้ได้
4. ความหลากหลายทางชีวภาพ ทาให้เกิดความหลากหลายชีวิตในธรรมชาติ ก่อให้เกิดจินตนาการและเกิด
ความรื่นรมย์ใจ
พันธุกรรมพื้นฐาน

More Related Content

What's hot

พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 

What's hot (20)

พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 

Viewers also liked

ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneranazmnazm070838
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 

Viewers also liked (20)

สืบพันธุ์
สืบพันธุ์สืบพันธุ์
สืบพันธุ์
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 

Similar to พันธุกรรมพื้นฐาน

ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaWichai Likitponrak
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมJanistar'xi Popae
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อินsupphawan
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
2558 project nalee
2558 project  nalee2558 project  nalee
2558 project naleenaleesaetor
 
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)Kel2ol3yte ™
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันKankamol Kunrat
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์passaraporn
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...pitsanu duangkartok
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 

Similar to พันธุกรรมพื้นฐาน (20)

ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อิน
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
Is 2 3 9
Is 2 3 9Is 2 3 9
Is 2 3 9
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
2558 project nalee
2558 project  nalee2558 project  nalee
2558 project nalee
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกัน
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์
 
เอ๊ะ
เอ๊ะเอ๊ะ
เอ๊ะ
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

พันธุกรรมพื้นฐาน

  • 2. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม - ลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่สามารถถ่ายทอดตามสายเลือดได้ เช่น ลักษณะตาชั้น เดียว-สองชั้น, แนวผมที่หน้าผากตรง-แหลม, หูมีติ่ง-ไม่มีติ่ง, สันจมูกโด่ง-ไม่โด่ง, มีลักยิ้ม-ไม่มีลักยิ้ม, ลิ้น พับได้-พับไม่ได้, นิ้วมือเรียวยาว-นิ้วสั้น, นิ้วชี้เท้ายาวกว่านิ้วหัวแม่เท้า-สั้นกว่านิ้วหัวแม่เท้า - โครโมโซมและสารพันธุกรรม ภายในนิวเคลียส เรียกว่า ดีเอ็นเอ เป็ นสายยาวพันรอบแกนโปรตีนฮิสโตน เส้น ใยบางๆ นี้เรียกว่า โครมาทิน เมื่อมีการแบ่งเซลล์จะหดสั้นเป็ นแท่งเรียกว่า โครโมโซม และมีการ จาลองขึ้นมาเท่าตัว - คนมีจานวน 46 แท่ง โดยจะมีคู่เหมือน เรียก ฮอมอโลกัสโครโมโซม จานวนนเซลล์ร่างกายมี 2 ชุด เขียนแทนด้วย 2n ส่วนในเซลล์สืบพันธุ์จะไม่มีคู่เหมือนมีเพียง 1 ชุด เขียนแทนด้วย n
  • 4. การแบ่งเซลล์ (Cell Division) จาแนกได้ 2 ลักษณะ คือ ไมโทซิส และ ไมโอซิส 1. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส สิ่งมีชีวิตมีการแบ่งเซลล์เพื่อการเจริญเติบโต และเพิ่มพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนสาร กับสิ่งแวดล้อม การแบ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1.1 ระยะอินเทอร์เฟส เซลล์เตรียมความพร้อมในการแบ่งเซลล์ ได้แก่ การสังเคราะห์ เอนไซม์ โปรตีน ออร์แกเนลล์ และมีการเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมเป็น 2 เท่า ทาให้เกิดการจาลองโครโมโซมจาก เป็น 2 โครมาทิด 1.2 ระยะโพรเฟส โครโมโซมเริ่มเห็นชัดขึ้น เซนทริโอลสร้างเส้นใยสปินเดิล 1.3 ระยะเมทาเฟส โครโมโซมหดสั้นที่สุด ขนาดใหญ่ที่สุด เห็นได้ชัดเจน โครโมโซมเรียงตัวแนวกลาง มีเส้น ใยสปินเดิลจับอยู่ตรงตาแหน่งเซนโทรเมียร์ โดยยึดกับโปรตีนไคนีโทคอร์ เยื่อหุ้มนิวเคลียสสลายตัวหมด 1.4 ระยะแอนาเฟส โครมาทิดแยกจากกันโดยการหดตัวของเส้นใยสปินเดิล ทาให้โครโมโซมแยกเป็น 2 กลุ่ม 1.5 ระยะเทโลเฟส โครโมโซมที่แยก จะเริ่มสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียส ทาให้เห็นนิวเคลียส 2 อัน ถือว่าสิ้นสุด การแบ่ง ไซโทพลาซึมมี 2 กรณี • เซลล์สัตว์ เกิดจากเยื่อหุ้มเซลล์คอดเข้าหากันจนกระทั่งเซลล์ขาดออกจากกันได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ • เซลล์พืช เกิดการสร้างแผ่นกั้นตรงกลาง และสะสมสารเซลลูโลสทาให้ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์
  • 5.
  • 6. 2. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เป็นกระบวนการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งเป็น 2 ระยะใหญ่ คือ ไมโอซิส I และไมโอซิส II ไมโอซิส I ระยะอินเตอร์เฟส I เตรียมความพร้อมเหมือนการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ระยะโพรเฟส I โครโมโซมหดสั้นและมีการเข้าคู่ฮอมอโลกัส และเกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนเกิดความหลากหลาย ระยะเมทาเฟส I โครโมโซมจะเรียงอยู่กลางเแบบคู่ฮอมอโลกัส โดยมีเส้นใยสปินเดิลจับอยู่ตรงเซนโทรเมีย ระยะแอนาเฟส I โครโมโซมที่เป็นคู่ฮอมอโลกัส แยกจากกันไปคนละขั้วของเซลล์ และมีจานวนครึ่งหนึ่ง ระยะเทโลเฟส I สร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียสล้อมรอบ ได้นิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียสและแบ่งไซโทพลาซึม แต่อาจจะไม่เกิดก็ได้ ไมโอซิส II ระยะอินเตอร์เฟส II ไม่มีการจาลองตัวเอง เนื่องจากแต่ละโครโมโซมมี 2 โครมาทิดแล้ว ส่วนระยะโพรเฟส II แอนาเฟส II เทโลเฟส II จะคล้ายการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส + แบ่งไซโทพลาซึมในระยะนี้อีกครั้ง ในที่สุดจะได้ 4 เซลล์
  • 7.
  • 8. โครงสร้างพื้นฐานทางดีเอ็นเอ ขดตัวพันรอบโปรตีนฮิสโตน = โครมาทิน  โครโมโซม ( 1 หรือ 2 โครมา ติด) มีหน่วยย่อย คือ นิวคลีโอไทด์ ต่อกันเป็ นสายยาว ซึ่งประกอบด้วย 1. น้าตาลเพนโทส (S) เป็ นน้าตาลที่คาร์บอน 5 อะตอม มีโครงสร้างเป็ นรูปห้าเหลี่ยม 2. หมู่ฟอสเฟต (P) PO4 3- 3. ไนโตรจีนัสเบส มี 4 ชนิด ได้แก่ อะดีนิน (A) ไทมีน (T) ไซโทซีน (C) กวานีน (G) สายดีเอ็นเอของคน = สายของนิวคลีโอไทด์ 2 สาย พันเกลียวเวียนขวา โดย A = T และ C ≡ G ลาดับของ เบสบนสายดีเอ็นเอ เป็ นข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
  • 9. หน้าที่ของสารพันธุกรรม 1. ดีเอ็นเอต้นแบบในรุ่นหนึ่งสามารถถ่ายทอดข้อมูลผ่านไปรุ่นต่างๆ ได้ 2. ลาดับของนิวคลีโอไทด์ในสายดีเอ็นเอเป็นข้อมูลของยีนที่มีบทบาทในการสังเคราะห์โปรตีน 3. ถ้าลาดับของนิวคลีโอไทด์ในสายดีเอ็นเอเปลี่ยนแปลง จะทาให้ลักษณะพันธุกรรมแตกต่างไป ซึ่งอาจเกิด จากการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนของโครโมโซมในการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์หรือเกิดมิวเทชัน ทาให้เกิดวิวัฒนาการ @ โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตจะพบเป็นคู่โฮโมโลกัส ซึ่งประกอบด้วยยีนที่เป็นคู่กันเรียกว่า แอลลีล เช่น ยีน A เป็น แอลลีลกับ a โดยยีน A เป็นยีนเด่น a เป็นยีนด้อย ซึ่งจะพบอยู่ในตาแหน่งที่ตรงกัน
  • 10. ถ้าให้ N เป็ นยีนที่ควบคุมลักษณะคางบุ๋ม n เป็ นยีนที่ควบคุมคางไม่บุ๋ม N เป็ นแอลลีลกับ n จะมี ลักษณะโครโมโซมได้ 3 แบบ
  • 11.
  • 12.
  • 13. ถั่วลันเตามีลักษณะที่ดี ดังนี้ มีการเจริญเติบโตเร็ว มีความหลากหลายทางพันธุกรรม มีการปฏิสนธิตนเอง ปลูกง่าย อายุการให้ผลผลิตสั้น ทาให้ศึกษาติดตามผลการทดลองได้ง่าย ลักษณะทั้ง 7 มีการถ่ายทอดตามหลักของเมนเดล คือไม่มี linkage , multiple alleles , polygene , co dominance ฯลฯ
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 18.
  • 19. การถ่ายทอดลักษณะที่พบบนโครโมโซมร่างกาย โครโมโซมในเซลล์ของคนมี 2 ชนิด คือ โครโมโซมร่างกายมี 22 คู่ โครโมโซมเพศ 1 คู่ ยีนที่พบมี 2 แบบ ยีนเด่น (ลักยิ้ม นิ้วเกิน โรคเท้าแสนปม และคนแคระ) และยีนด้อย (ทาลัสซีเมีย : โลหิตจางมาแต่กาเนิด ดีซ่านไม่เติบโต สมอายุ ตับม้ามโต ดั้งจมูกยุบ กะโหลกศีรษะหนา โหนกแก้มสูง คางและกระดูกกรรไกรกว้าง ฟันบนยื่น กระดูก เปราะ ผิวคล้า ติดเชื้อง่าย ,ลักษณะผิวเผือก : ไม่สามารถผลิตเมลานิน ทาให้ผิวหนัง ขน ผม และตาไม่มีสี) @ ลักษณะที่พบในยีนด้อยนี้จะมีโอกาสเกิด 1 ใน 4 กรณีมีพ่อและแม่มียีนด้อยแฝงอยู่ (พาหะ)
  • 20. การถ่ายทอดลักษณะที่พบบนโครโมโซมเพศ มี 1 คู่ 2 แบบ XX เป็ นหญิง XY เป็ นชาย ยีนที่พบอยู่ บนโครโมโซม X มักพบเป็ นยีนด้อย เช่น ยีนตาบอดสี ยีนโรคภาวะบกพร่องเอนไซม์ กลูโคส-6- ฟอสเฟต ยีนโรคเลือดไหลไม่หยุด ลักษณะดังกล่าวจะพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง เนื่องจากเพศชาย มีโครโมโซม X เพียง 1 แท่ง แต่เพศหญิงมี X 2 แท่ง โอกาสเกิดในเพศชายจึงสูงกว่า เช่นยีนตาบอดสี แทนด้วยยีนด้อย c ยีนตาปกติ C
  • 21.
  • 22. การถ่ายทอดลักษณะที่มีหลายแอลลีล ลักษณะโดยทั่วไปมียีน 2 แอลลีล คือ แอลลีลเด่น และแอลลี ลด้อย แต่ลักษณะที่มีแอลลีลมากกว่า 2 แอลลีล เช่น ลักษณะหมู่เลือด A B O ของคนมี 3 แอลลีล คือ IA, IB, i แอลลีล A สร้างแอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง แบบ A แอลลีล B สร้างแอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง แบบ B ส่วนแอลลีล i เป็ นแอลลีลที่ไม่สร้างแอนติเจนที่ผิว เม็ดเลือดแดง จึงพบจีโนไทป์ และฟีโนไทป์ ได้ดัง ตาราง
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.  ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท 1. ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation)  เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเกิดจาก อิทธิพลของกรรมพันธุ์เพียงอย่างเดียว  เช่น มีลักยิ้ม - ไม่มีลักยิ้ม มีติ่งหู -ไม่มีติ่งหู ห่อลิ้นได้ - ห่อลิ้นไม่ได้ 2. ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation)  เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด  เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ และ สิ่งแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูงถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมี การออกกาลังกายก็จะทาให้มีร่างกายสูงได้
  • 27.
  • 28. แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ความผิดปกติของออโตโซม ได้แก่ - กลุ่มอาการดาวน์ - กลุ่มอาการคริดูชาต์ - กลุ่มอาการเพเทา - กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด 2. ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ ได้แก่ - กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ - กลุ่มอาการที่มีโครโมโซม X 3 เส้น - กลุ่มอาการไคลน์เฟลเทอร์ - กลุ่มอาการดับเบิลวาย
  • 29. * Down syndrome เป็นโรคพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมที่ออโตโซมบางคู่ไม่แยก จากกัน *เด็กกลุ่มอาการดาวน์จะมีศีรษะค่อนข้างเล็ก แบน และตาเฉียงขึ้น ดั้งจมูกแบน ปากเล็ก ตัวค่อนข้าง เตี้ย มือสั้น มักมีโรคหัวใจพิการแต่กาเนิด * ปัญหาหลักคือ ภาวะปัญญาอ่อน  โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 เส้น ทาให้มีจานวนโครโมโซม 47 เส้น  สาเหตุ คือ แม่มีบุตรอายุ ประมาณ 30 – 45 ปี จะมีความเสี่ยง
  • 30.  อาการนี้เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 13 เกินมา 1 โครโมโซม ทาให้เด็กมีอาการ ปัญญาอ่อน อวัยวะภายในพิการ และมักเสียชีวิตตั้งแต่แรกเกิด หรือหากมี ชีวิตรอดก็จะมีอายุสั้นมาก
  • 31.  เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไปบางส่วน  ทาให้ผู้ป่วยมีศีรษะเล็กกว่าปกติ เกิดภาวะปัญญาอ่อน หน้ากลม ใบหูต่า ตาห่าง หางตาชี้ นิ้วมือสั้น เจริญเติบโตได้ช้า  เวลาร้องจะมีเสียงเหมือนแมว จึงเป็นที่มาของชื่อโรคนี้ว่า แคทครายซินโดรม (cat cry syndrome)
  • 32.  โอกาสเกิดประมาณ 1 ใน 3000 และมักเกิดในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 3 เท่า เกิดจาก โครโมโซมคู่ที่ 18 เกินมา ซึ่งโครโมโซมที่เกินมานี้จะรบกวนการพัฒนาการตามปกติ อาการ โรคหัวใจแต่กาเนิด มีความผิดปกติเกี่ยวกับม่าน มีปัญหาเกี่ยวกับไต น้าหนัก น้อย หูต่า ปัญญาอ่อน ศีรษะมีขนาดเล็ก ขากรรไกรสั้น สะดือจุ่น ข้อต่อบิดงอ
  • 33.  เกิดในเฉพาะเพศหญิง  โครโมโซม X หายไป 1 แท่ง  ทาให้เหลือโครโมโซมในเซลล์ ร่างกาย 45 แท่ง  ผู้ป่วยไม่มีความผิดปกติทาง สมอง และตัวเตี้ย ที่บริเวณคอมี พังผืดกางเป็นปีก  มักเป็นหมันและไม่มี ประจาเดือน  มีอายุเท่ากับคนปกติทั่ว ๆ ไป
  • 34.  พบในเพศชาย  เกิดจากโครโมโซม X เกินมา 1 หรือ 2 โครโมโซม  ผู้ป่วยจะมีอาการปัญญาอ่อน รูปร่างอ้อนแอ้น สูงชะลูด หน้าอกโต มีเต้านมเหมือน ผู้หญิง และเป็นหมัน เพราะไม่มีอสุจิ และมีอัณฑะเล็ก  ถ้ามีจานวนโครโมโซม X มาก อาการปัญญาอ่อนก็จะรุนแรงมากขึ้น
  • 35.  เกิดในผู้ชาย  ที่มีโครโมโซม y เกินมา 1 แท่ง  มีจีโนไทป์ เป็น x y y เรียกว่า Super Male  ลักษณะจะเป็นผู้ชายที่มีร่างกายปกติ มี อารมณ์ฉุนเฉียว สูงมากกว่า 6 ฟุต มีระดับ ฮอร์โมนเพศชายในเลือดสูงกว่าปกติ  เป็นหมัน ไม่สามารถมีบุตรได้
  • 36.  โรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่ง ที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของจานวนของ โครโมโซมเพศ (sex chromosome) โรคนี้จะเกิดในผู้หญิง ซึ่งผู้หญิงโดยปกติ จะมีโครโมโซม(chromosome  ทาให้ผู้หญิงคนนั้นเป็ นหมัน เจริญเติบโตไม่เต็มที่ และไม่มีประจาเดือน) X จานวน 2 แท่ง คือ XX
  • 37.  โครโมโซมของคนเรามี 23 คู่ หรือ 46 แท่ง แบ่งออกเป็นสองชนิด คือ  ออโตโซม (Autosome) คือ โครโมโซมร่างกาย มี 22 คู่ หรือ 44 แท่ง  เซ็กโครโมโซม ( Sex chromosome) คือ โครโมโซมเพศ มี 1 คู่ หรือ 2 แท่ง - โครโมโซมเพศ ในหญิงจะเป็นแบบ X X - โครโมโซมเพศ ในชายจะเป็นแบบ X Y  ความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในโครโมโซมเพศ ( Sex chromosome)  เกิดขึ้นได้ทุกเพศ แต่โอกาสเกิดขึ้นจะมีมากในเพศใดเพศหนึ่ง  ลักษณะที่ควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X ได้แก่ หัวล้าน ตาบอดสี โรคฮีโมฟีเลีย โรคภาวะพร่องเอนไซม์ จี – 6 - พีดี ( G – 6 - PD) โรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบ  ความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในโครโมโซมร่างกาย (Autosome)  เกิดขึ้นได้ทุกเพศและแต่ละเพศมีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากัน  ลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนด้อยบนโครโมโซม ได้แก่ โรคธาลัสซีเมีย ผิวเผือก เซลล์เม็ดเลือดแดงเป็นรูปเคียว  ลักษณะที่ควบคุมโดยยีนเด่นบนโครโมโซม ได้แก่ โรคท้าวแสนปม นิ้วมือสั้น คนแคระ
  • 38. การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น การผ่าเหล่า การคัดเลือกโดย ธรรมชาติ การปรับปรุงพันธุ์โดยคน การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ทาให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต การผ่าเหล่า คือ การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้มี 2 แบบ 1. การกลายพันธุ์ของโครโมโซม เช่น พืชที่มีจานวนโครโมโซม 3n,4n จะมีการเจริญเติบโตมากกว่าปกติ (2n) 2. การกลายพันธุ์ของยีน เช่น โรคทางพันธุกรรม ลักษณะผิวเผือก ลักษณะลวดลายบนใบหรือดอกของพืช สาเหตุของการเกิดการกลายพันธุ์ 1. เกิดเองตามธรรมชาติ ซึ่งอาจเกิดจากความผิดปกติขณะแบ่งเซลล์ 2. รังสีสามารถทาให้เกิดการกลายพันธุ์ได้ เช่น รังสีแกมมา ซึ่งใช้ในพืช เช่น พุทธรักษา เบญจมาศ ปทุมมา 3. สารเคมี เช่น อะฟลาทอกซินที่ได้จากราในอาหาร ไนโตรซามีนที่ได้จากดินประสิวในการถนอมอาหาร
  • 39. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ เป็ นแนวความคิดของ ชาร์ล ดาร์วิน ได้เสนอทฤษฎีวิวัฒนาการ ซึ่งกล่าวถึง สิ่งมีชีวิตที่มีความเหมาะสมที่สุดจะคงอยู่ เนื่องจากมีการแข่งขันกันเพื่อแย่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด เขาพบว่า นกจาบบนเกาะกาลาปากอสมีลักษณะจะงอยปากแตกต่างกัน เนื่องจากอาหารของนก เหล่านั้นแตกต่างกัน (ปรับพันธุกรรม) ผล คือ ทาให้สิ่งมีชีวิตที่อยู่รอดได้มีความแข็งแรงและมีความ หลากหลายทางพันธุกรรม
  • 40. การคัดเลือกพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โดยคน การคัดเลือกโดยคนจะเกิดสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะดีเด่น ตามความต้องการของคน เช่น การคัดเลือกพันธุ์ปลาทับทิม (การเจริญเติบโตเร็วมีส่วนที่เป็ นเนื้อมาก โครงกระดูกเล็ก ก้างน้อย เส้นใยกล้ามเนื้อละเอียด รสชาติดี ไม่มีกลิ่นที่เกิดจากไขมันปลา ต้านทานต่อ โรค : พัฒนามาจากพันธุ์ปลานิลทั่วโลกผสมข้ามพันธุ์) การปรับปรุงพันธุ์ข้าว (พันธุ์ข้าวพันธุ์ดีที่นามาใช้ คือ พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกได้ทุกภาค ใช้เวลา 160 วัน ทนแล้งและดินเปรี้ยวดินเค็ม มาอาบรังสี แกมมา เกิดมิวเทชันได้พันธุ์ข้าว กข 6 กข 10 และกข 15 ที่มีลักษณะดีขึ้นคือ กข 6 เป็ นพันธุ์ข้าวเหนียว ที่มีกลิ่นหอม ให้ผลผลิตสูง ทนแล้ง ต้านทานโรคไหม้และโรคใบจุดสีน้าตาลได้ดี กข 15 เป็ นพันธุ์ข้าวเจ้าที่ ให้ผลผลิต เท่ากับข้าวดอกมะลิ 105 แต่ กข 15 มีอายุสั้นกว่า 10 วัน เก็บเกี่ยวได้เร็วกว่า ต้านทานโรคได้ ดีกว่าข้าวดอกมะลิ 105)
  • 41. เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เป็ นการนาความรู้ด้านชีววิทยา ในสาขาพันธุศาสตร์มาประยุกต์ เช่น พันธุวิศวกรรม เป็ นเทคนิคการสร้างสิ่งมีชีวิตมีลักษณะตามที่ต้องการ โดยการสร้าง DNA สายผสมโดยการ ถ่ายยีนที่ต้องการลงไปแบคทีเรีย เพื่อให้เป็ นตัวพายีนเหล่านั้นเข้าไปในสิ่งมีชีวิตที่ต้องการสร้างพันธุกรรม ใหม่ เรียกว่า สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมหรือจีเอ็มโอ ในปัจจุบัน เช่น ฝ้ ายบีทีและข้าวโพดบีทีที่ต้านทาน แมลง (แบคทีเรีย Bacillus thuringiensis สร้างโปรตีนเป็ นพิษต่อแมลง) พริก มะละกอ ต้านทานไวรัส ยีน สังเคราะห์โปรตีนห่อหุ้มอนุภาคไวรัสทาให้ไวรัสไม่สามารถทาอันตราย) การผลิตอินซูลินโดยแบคทีเรีย ทา โดยตัดยีนอินซูลินจากคนปกติถ่ายลงไปในพลาสมิดของแบคทีเรีย (เป็ น DNA ที่เป็ นวงกลมขนาดเล็ก) เมื่อแบ่งเซลล์จะทาให้ได้ยีนอินซูลินเป็ นจานวนมาก และสังเคราะห์อินซูลินได้
  • 42. การโคลน หมายถึง การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ให้มีลักษณะพันธุกรรมเหมือนเดิม สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม = แกะ วัว ในประเทศไทยมีการโคลนวัวเนื้อตัวแรกของโลกชื่อ นิโคลและการ โคลนวัวนมตัวแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ชื่อ อิง ซึ่งเกิดจากการโคลนเซลล์ใบหูของตัวต้นแบบ
  • 43. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็ นการโคลนในพืช โดยการนาเอาส่วนของพืชมาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ที่พืช ต้องการในสภาพปลอดเชื้อ ควบคุมแสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น และกระตุ้นการเจริญของพืชด้วย ฮอร์โมนพืช ประโยชน์ 1. ได้พืชจานวนมากที่มีลักษณะเหมือนเดิม 2. ใช้เวลาสั้นในการผลิตต้นพันธุ์ดี 3. ต้นพันธุ์ที่ได้ปราศจากโรค 4. ใช้ผลิตต้นพันธุ์ที่ผสมกันเองในธรรมชาติยาก เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์
  • 44. ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ของคนเป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล เพราะคนทุกคนจะมีแตกต่างกันยกเว้นแฝดแท้ที่ จะเหมือนกัน ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของลูกจะได้จากดีเอ็นเอของพ่อและแม่อย่างละครึ่ง ประโยชน์ 1. พิสูจน์เพื่อบุคคลในกรณีฆาตกรรม กรณีบุคคลสูญหาย 2. พิสูจน์ความสัมพันธ์ของพ่อแม่และลูก
  • 45. ความก้าวหน้าทางพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ 1. ด้านการเกษตร สร้างพืช GMO ลักษณะตามที่ต้องการ เช่น ต้านทานโรค ทนแล้ง ให้ผลผลิตคุณค่าทาง อาหาร 2. การพัฒนาผลิตสัตว์ เช่น การผสมเทียม การถ่ายฝากตัวอ่อน การโคลน 3. การแพทย์และสาธารณสุข เช่น การตรวจโรคหาความบกพร่องก่อนแต่งงาน การรักษาโรคด้วยวิธียีน บาบัด 4. เทคโนโลยีดีเอ็นเอ เช่น การตรวจสอบดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตเพื่อการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์
  • 46. ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ชนิด 1. ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา : ระบบนิเวศมีชนิด จานวนและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตแตกต่าง กัน 2. ความหลากหลายของสปี ชีส์ : ชนิดของสิ่งมีชีวิตต่างๆ บนโลก 3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม : ลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน สปี ชีส์ของสิ่งมีชีวิต คือ กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เป็ นประชากรชนิดเดียวกันผสมพันธุ์กันแล้วได้ลูกหลานสืบทอด ต่อไป เนื่องจากความคล้ายคลึงกันในระดับโครโมโซม ทาให้โครโมโซมจากพ่อและแม่สามารถเข้าคู่กันได้ แต่ละสปี ชีส์จะมีลักษณะเด่นเฉพาะไม่เหมือนสปี ชีส์อื่น แต่ในสปี ชีส์เดียวกันอาจจะแตกต่างกันในเรื่องสาย พันธุ์ เพศผู้และเพศเมีย วัยที่เจริญเติบโตและที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว
  • 47. การเกิดสปี ชีส์ใหม่ มีสาเหตุจากความแตกต่างของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพ เกิดการคัดเลือก ตามธรรมชาติ เกิดประชากรเป็ นกลุ่มย่อยที่มีพันธุกรรมที่แตกต่างกันจนไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้หรือ ผสมพันธุ์ได้แต่เป็ นหมัน เช่น สิ่งมีชีวิตสปี ชีส์หนึ่งอาศัยอยู่รวมกลุ่มกัน แต่มีเหตุการณ์ที่ทาให้พื้นที่ที่อาศัย อยู่แยกกันเช่น มีแม่น้าขวางกลาง ทาให้แบ่งสิ่งมีชีวิตสปี ชีส์นี้เป็ น 2 กลุ่ม และสิ่งมีชีวิตนี้ไม่สามารถ อพยพย้ายข้ามถิ่นกันได้ทาให้เกิดพฤติกรรมการดารงชีวิตที่แตกต่างกันไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเกิดเป็ นสปี ชีส์ใหม่ ในปัจจุบันสามารถจาแนกสิ่งมีชีวิตได้ประมาณ 1.5 ล้านสปี ชีส์ และพบว่าแมลงเป็ นสิ่งมีชีวิตที่มีส ปี ชีส์มากที่สุด
  • 48.
  • 49. เกณฑ์ที่ใช้จาแนกสิ่งมีชีวิต 1. ลักษณะโครงสร้างภายในและภายนอก แบ่งเป็ น โฮโมโลกัส (โครงสร้างเหมือนแต่หน้าที่ ต่าง)กับ แอนาโลกัส (โครงสร้างต่างแต่หน้าที่เหมือน) เช่น ครีบของปลากับครีบของ ปลาวาฬ ,ปี กของนกกับแขนของมนุษย์ 2. ลักษณะแบบแผนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ โดยเฉพาะสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา นก กบ และคน ในระยะตัวอ่อนจะมีลักษณะช่องเหงือกที่คล้ายคลึงกัน 3. ลักษณะของซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิต (Fossil) เทอราโนดอล กับ อาร์คีออปเทอรริกซ์ มี ขากรรไกรยาวมีฟันปลายปี กมีนิ้วคล้ายคลึงกันจึงจัดนกและสัตว์เลื้อยคลานไว้เป็ นพวกใกล้เคียง กัน 4. ลักษณะโครงสร้างและสารเคมีภายในเซลล์เช่น คลอโรพลาสต์ มีในเซลล์พืชแต่ไม่มีในเซลล์ สัตว์เซนทริโอล และไลโซโซมพบในเซลล์สัตว์เท่านั้น 5. ลักษณะพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต เช่น จิงโจ้ เป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมที่มีเฉพาะทวีป ออสสเตรเลีย แต่มีกระเป๋ าหน้าท้องจึงจัดอยู่ในกลุ่มกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมในทวีปอื่นๆ
  • 50.
  • 54.
  • 55. ไวรัสก่อโรคในคน = ไข้หวัด ,ไข้หวัดใหญ่ ,โปลิโอ ,ชิคุนกุนยา ,ตับอักเสบ ,ปอดบวม ,พิษสุนัข บ้า ,งูสวัด ,เริม ,ไข้เลือดออก ,ไข้เหลือง ,ไข้ทรพิษ ,หัด ,หัดเยอรมัน ,คางทูม ,เอดส์ ,ไข้หวัด นก ,ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ,ไข้หวัด SARS / ในพืช = ใบด่างของยาสูบและถั่วลิสง ใบหงิกของพริก (ไวรัสที่พบในแบคทีเรีย = แบคทีเรียโอฟาจ/ ฟาจ)
  • 56. อาณาจักรมอเนอรา -โปรคาริโอต (เซลล์ไม่มีนิเคลียส) ,อาจมี/ไม่มีผนังเซลล์ก็ได้ ,อาจอยู่เป็ นเซลล์เดี่ยวหรือกลุ่ม เซลล์ - แบคทีเรีย และ สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน - รูปร่างแบคทีเรีย = คอกคัส / บาซิลลัส / สไปริลลัม - บางชนิดสร้างแคปซูล : เอนโดสปอร์ (ไม่จัดเป็ นการสืบพันธุ์แต่ทนต่อสภาพแวดล้อมไม่ เหมาะสม) - ผลิตภัณฑ์จากแบคทีเรีย : นมเปรี้ยว โยเกิร์ต น้าส้มสายชู เนยแข็ง ปลาร้า ปลาส้ม ผักดอง - โรคที่เกิดจากแบคทีเรีย : คอตีบ ไอกรน บาคทะยัก หนองใน ไทฟอยด์ (ไข้รากสาดน้อย) ซิฟิลิส อหิวาตกโรค บิดไม่มีตัว วัณโรค เรื้อน ปอดบวม - สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน สังเคราะห์แสงได้ (คลอโรฟิลล์) เช่น นอสตอก ,แอนนาบีน่า (แหน แดง) ,ออสซิลาโทเรีย (ช่วยเพิ่มธาตุไนโตรเจน) ,สไปรูไลน่า (สาหร่ายเกลียวทองมีโปรตีนสูง)
  • 57. อาณาจักรโปรติสตา - เซลล์ที่มีนิวเคลียส ,ที่คล้ายสัตว์ (โพรโทซัว) คล้ายพืช (สาหร่าย) คล้ายฟังไจ (ราเมือก) - โพรโทซัว เช่น ไกอาเดีย (ปรสิตลาไส้คน) ไตรโคนิมฟา (ลาไส้ปลวก : พึ่งพาช่วยย่อย เซลลูโลส) ,ไตรโคโมแนส (ติดเชื้อในช่องคลอด) ยูกลีน่า (เป็ นทั้งผู้ผลิตและบริโภค) ,ทริปพาโน โซม (ปรสิตโรคเหงานหลับ) ไดโนแฟกเจลเลต (ขี้ปลาวาฬ/red tide : ทะเลเป็ นพิษสัตว์น้าตาย) พลาสโมเดียม (มาลาเรีย/ไข้จับสั่น) มียุงก้นปล่องเป็ นพาหะ) พารามีเซียม ,วอลติเซลล่า , สเท็นเตอร์ (พวกที่มีซิเลีย) อะมีบา ,เอนทามีบา ที่สาคัญ อิสโทริกา (โรคบิดมีตัว) จินจิวาริส (ช่วยกินแบคทีเรียบริเวณฟัน)
  • 58. อาณาจักรโปรติสตา - สาหร่าย เป็ นผู้ผลิตกาลังสูงสุดในโลก มีรงควัตถุสังเคราะห์แสงชนิดต่างๆบรรจุในคลอโรพ ลาสต์ • สาหร่ายสีน้าตาล มีโครงสร้างซับซ้อนน้อยสุด เช่น พาดิน่า , ลามินาเรีย ,ฟิวคัส (ทั้ง 3 ชนิดมีโพแทสเซียมสูง) ,ซากาสซัม (สาหร่ายทุ่น มีไอโอดีนสูง) ,เคปป์ (ขนาดใหญ่ ที่สุด) • ไดอะตอม มีเซลล์เดียว ผนังเซลล์เป็ น 2 ฝาประกบกัน (ซิลิกา) เมื่อตายทับถมซึ่ง สามารถขุดมาใช้ในอุตสาหกรรมขนาดกลาง : เครื่องแก้ว ยาขัดโลหะ ยาสีฟัน • สาหร่ายสีแดง มีสารคาราจีแนน (สกัดทาวุ้น) เช่น พอไฟร่า (จีฉ่าย ,โนริ : ทาอาหาร) ,สาหร่ายผมนาง (ผลิตวุ้น) • สาหร่ายสีเขียว เช่น คลอเรลล่า (โปรตีนสูง) สไปโรไจร่า (เทาน้า : ทาอาหาร) คาร่า (สาหร่ายไฟ : ใกล้ชิดพืชมากที่สุด)
  • 59. อาณาจักรฟังไจ - คือพวกเห็ด รา ยีสต์ มีความใกล้ชิดกับสัตว์มากกว่าพืช เป็ นผู้ย่อยสลายสาคัญในระบบนิเวศ - เป็ นเซลลที่มีนิวเคลียส รูปร่างลักษณเป็ นเส้นใยไฮฟ่าและไมซีเลียม (หน้าที่หลั่งน้าย่อยและดูด ซึม หรืออาจเปลี่ยนเป็ นอวัยวะกระจายสปอร์) - ผนังเซลล์เป็ นสารไคทิน ,สังเคราะห์แสงไม่ได้ - ตัวอย่างเช่น ราแดง (ข้าวแดงและเต้าหู้ยี้) เพนนิซิเลียม (ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลิน) แอสเปอจิลัส ฟลาวัส (อะฟาทอกซิน : มะเร็งตับ) แอสเปอจิลัส ไนเจอร์ (ผลิตกรดซิตริก) ไร โซปัส ไนจิแคนส์(ผลิตกรดฟูมาริก) ยีสต์ (กระบวนการหมัก  เอททานอล + คาร์บอนไดออกไซด์ : เหล้า ไวน์ ขนมปังฟู) การหมักซีอิ้ว/เต้าเจี้ยว/ถั่วหมัก - ก่อโรคในสัตว์ = กลาก เกลื้อน ง่ามเท้าเปื่ อย / พืช = ราสนิม ราเขม่าดา ราน้าค้าง โรคใบไหม้
  • 60. อาณาจักรพืช พืชมีความสาคัญเป็ นอย่างยิ่ง (ผู้ผลิตอาหารในระบบนิเวศ) มีประโยชน์ในด้านอื่น, มากมาย แต่บางชนิดก็มีโทษ เช่น วัชพืชต่างๆ ทั้งหมดมีประมาณ 240,000 สปี ชีส์ หรือมากกว่านี้ ซึ่งแพร่กระจายไปได้แทบทุกหนทุกแห่ง แตกต่างกันออกไปใน แต่ละสภาพที่อยู่ หลักในการพิจารณาและจัดสิ่งมีชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรพืช 1. เซลล์ที่มีนิเคลียส มีการผสมพันธุ์ได้ไซโกตแล้วพัฒนาต่อเป็ นเอมบริโอ 2. ประกอบไปด้วยหลายเซลล์มารวมกันเป็ นเนื้อเยื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง 3. ผนังเซลล์เป็ นสารประกอบพวกเซลลูโลส 4. มีคลอโรฟิลล์บรรจุอยู่ในเม็ดคลอโรพลาสต์ 5. โดยทั่วไปไม่เคลื่อนที่เองไม่ได้ แต่ในพืชหลายชนิดขณะเป็ นเซลล์สืบพันธุ์ เคลื่อนที่ได้ เช่น สเปิ ร์มของมอส เฟิน ฯลฯ เพราะมีแฟลเจลลา 6. มีวงจรชีวิตแบบสลับระหว่างสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ
  • 61. อาณาจักรพืช ได้แบ่งออกเป็ น 10 ไฟลัม ดังนี้ พืช มีเนื้อเยื่อและเอมบริ โอ ไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง มีเนื้อเยื่อลาเลียง ลิเวอร์เวิตส์ ฮอร์นเวิตส์ มอส สร้อยนางกรอง,ช้องนางคลี่ ตีนตุ๊กแก พวกเฟิร์น ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด ปรง แปะก๊วย สน มะเมื่อย พืชดอก แบ่งเป็ น ใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคู่
  • 62. พืชดอก ใบเลี้ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยง 2 ใบ 1 ใบ เส้นใบ ร่างแห ขนาน ราก แก้ว ฝอย ท่อลาเลียงในราก เรียงตัวเป็ นแฉก เรียงตัวเป็ นวงกลม ท่อลาเลียงในลาต้น เรียงเป็ นวงอย่างมีระเบียบ จัดเป็ นกลุ่มกระจัดกระจาย แคมเบียม มี ขยายขนาดด้านข้างได้ ไม่มี สูงขึ้นอย่างเดียว จานวนกลีบดอก 4X .5X 3X วิวัฒนาการ ต่ากว่าคล้าย gymnosperm สูงกว่า
  • 65. อาณาจักรสัตว์ - ต้องมีเนื้อเยื่อและเอ็มบริโอ ,สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ,ผู้บริโภค ,มีคลอลาเจน เป็ น โปรตีนเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ,จานวนมากสุด 3 ลาดับแรก คือ พวกแมลง > พวกหมึก/ หอย > พวกมีกระดูกสันหลัง - เกณฑ์ที่ใช้จาแนก 9 ข้อ 1. ชั้นเนื้อเยื่อ 2. ช่องลาตัว 3. สมมาตรร่างกาย 4. ปล้องลาตัว 5. ระบบทางเดินอาหาร 6. การเจริญของบลาสโทพอร์ 7. การเจริญของตัวอ่อน 8. ระบบประสาท 9. ระบบหมุนเวียนโลหิต
  • 66.
  • 67. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 1. ไฟลัมพอริเฟอร่า คือ พวกฟองน้า มีทางน้าเข้ารอบตัวและทางน้าออกด้านบน , มีชั้นวุ้นตรง กลาง , มีเซลล์ปลอกคอดักจับและย่อยอาหาร ,อะมีโบไซต์ (ย่อย/ขนส่งสารอาหารและสร้าง โครงสร้างลาตัว) จาแนกตามชนิดโครงสร้างลาตัว ได้แก่ ฟองน้าถูตัว (เส้นใยโปรตีน) ฟองน้าหินปูน และฟองน้าแก้ว (ซิลิกา)
  • 68. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 2. ไฟลัมซีเลนเทอราต้า เช่น ไฮดรา ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน โอบิเลีย , มีเข็ม พิษบนหนวด, มี 2 รูปร่าง = โฟลิปและเมดูซ่า (วงชีพแบบสลับ) ,มีช่องว่างกลางลาตัว ,มีทั้ง การย่อยอาหารภายนอกเซลล์และในเซลล์
  • 69. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 3. ไฟลัมแพลทีเฮลทิส คือ พวกหนอนตัวแบน มีทั้งอิสระ (พลานาเรีย) และปรสิต (พยาธิใบไม้/ ตัวตืด) ตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร พลานาเรียเกิดการงอกใหม่ได้ , มีเฟลมเซลล์ขับถ่าย และ ส่วนใหญ่เป็ นกระเทย
  • 70. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 4. ไฟลัมนีมาโทดา คือ หนอนตัวกลม มีทั้งอิสระ (หนอนในน้าส้มสายชู) ปรสิตในคน (พยาธิ ต่างๆ) ปรสิตในพืช (ไส้เดือนฝอย) ,ไม่มีเลือดแต่ใช้การหมุนเวียนของเหลวในช่องลาตัว เทียม, มีท่อขับถ่ายด้านข้างลาตัว ,มักมีคิวติเคิลห่อหุ้มลาตัว และ มีเพศแยกกัน
  • 71. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 5. ไฟลัมแอนเนลลิด้า คือ หนอนมีปล้อง (หนอนเจริญสุด) ระบบเลือดปิ ดสีแดง (ฮีโมโกลบิน) ลาตัวเป็ นปล้องมีเยื่อกั้น ส่วนใหญ่เป็ นกระเทย ,มีเมทาเนฟฟริเดียในการขับถ่าย ,ผิวหนัง หายใจ ,มีหัวใจเทียม (หลอดเลือดส่วนหัว) ตัวอย่างเช่น ไส้เดือน ไส้เดือนทะเลหรือแม่เพรียง ปลิงน้าจืด ตัวสงกรานต์ ทากดูดเลือด
  • 72. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 6. ไฟลัมมอสลัสกา ร่างกาย 3 ส่วน คือ เท้า ตัวอ่อนนุ่ม และ แมนเทิล (ชั้นปกคลุมซึ่งสร้างเปลือก หินปูน) ,ใช้ไตในการขับถ่าย ,ใช้เหงือกในการหายใจ เช่น ทาก ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอย สองฝา หมึก หมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง (พวกชั้นสูงเพราะเปลี่ยนหนวดเป็ นเท้า ,ระบบเลือดปิ ดมีฮีโม ไซยานิน ,มีท่อไซฟอนในการเคลื่อนที่ ,ประสาทเจริญดีสุดในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง , ลิ้น ทะเลเป็ นโครงสร้าง)
  • 73. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 7. ไฟลัมอาร์โทรโพดา จานวนมากสุดในโลก โครงสร้างแข็งภายนอก (ไคทิน) ,ระบบเลือดเปิ ด , ร่างกาย 3 ส่วน (หัว+อก+ท้อง) หรือ 2 ส่วน หรือเป็ นปล้องๆ ,ลอกคราบเป็ นระยะแต่เฉพาะ แมลง ส่วนกุ้ง กั้ง ปู จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างระหว่างการเจริญเติบโต จาแนกตามจานวนหนวด/ขา ได้แก่ อาร์โทรพอด ไม่มีหนวด มีหนวด มีหนวด 2 คู่และขา มีหนวด 1 คู่ มี 8 ขา มี 10 ขา มี 6 ขา มีมากกว่า 6 ขา ขาปล้องละ 1 คู่ ขาปล้องละ 2 คู่ แมงมุม แมงดาทะเล แมลง ตะขาบ กิ้งกือ กุ้ง กั้ง ปู
  • 74. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 8. ไฟลัมเอคไคโนเดอร์มาต้า สัตว์ทะเลทั้งหมด เช่น ดาวทะเล เม่นทะเล อีแปะทะเล พลับพลึง ทะเล ผิวบางหุ้มโครงร่างแข็งหินปูนภายใน ,มีระบบท่อหมุนเวียนน้าในการลาเลียงสาร , มี หลอดเท้า (เคลื่อนที่ จับเหยื่อ หายใจ) ส่วนใหญ่ใช้เหงือกในการหายใจ
  • 75. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 9. ไฟลัมคอร์ดาต้า ต้องมีลักษณะทั้ง 4 อย่างน้อยช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต - เส้นประสาทขนาดใหญ่ด้านหลัง สมองและไขสันหลัง - โนโทคอดร์ (โครงร่างกาย) ส่วนใหญ่จะมีกระดูกสันหลังมาแทนที่เมื่อโตขึ้น - ช่องเหงือกที่คอหอย - กล้ามเนื้อที่ส่วนหาง
  • 76. ไฟลัมคอร์ดาต้า สัตว์มีกระดูกสันหลัง : ชั้นสูง ระบบเลือดปิ ด มีฮีโมโกลบินอยู่ในเม็ดเลือดแดง แบ่งออกเป็ น 7 คลาส 1. ปลาปากกลม (ไม่มีขากรรไกร) บางตัวเป็ นปรสิต มีแต่ครีบเดี่ยว ไม่มีเกล็ด เช่น hagfish ,lamprey @ ปากมีขากรรไกร คือ ปลากระดูกอ่อนและปลากระดูกแข็ง มีทั้งครีบคู่และครีบเดี่ยว มีเกล็ด ส่วนใหญ่ อิสระ 2. ปลากระดูกอ่อน ไม่มีแผ่นปิ ดเหงือกจึงเห็นเหงือกชัดเจน ปากอยู่ด้านท้อง ไม่มีถุงลม เช่น ปลาฉลาม ปลาฉนาก ปลากระเบน ปลากระต่าย 3. ปลากระดูกแข็ง มีแผ่นปิ ดเหงือกจึงเห็นเงือกไม่ชัด ปากอยู่ข้างหน้า มีถุงลม (กระเพาะปลา) ได้แก่ ปลาทั่วไป 4. สัตว์สะเทินน้า/บก ผิวเปี ยกชื้น ไม่มีเกล็ด มี metamorphosis เช่น กบ เขียด ปาด อึ่งอ่าง คางคก จงโคร่ง จิ้งจกน้า (salamander) งูดิน หมาน้า 5. สัตว์เลื้อยคลาน ผิวแห้ง มีเกล็ดหรือกระดอง เช่น เต่า งู จระเข้ จิ้งจก ตุ๊กแก ตุ๊ดตู่ กิ้งก่า ตัวเงินตัวทอง ไดโนเสาร์ 6. สัตว์ปี ก มีแผงขน มีการรผลิตพลังงานสูง (สารองอากาศหายใจ) กระดูกโพรงตัวเบา ลดรูปอวัยวะ (ไม่ มีกระเพาะปัสสาวะ รังไข่ข้างเดียว) เช่น นก ไก่ เป็ ด เพนกวิน 7. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีขนเป็ นเส้น เอกลักษณ์ คือ ต่อมน้านม ใบหู กล้ามเนื้อกระบังลม ต่อมเหงื่อ กระดูกหู 3 ชิ้น (ค้อน ทั่ง โกลน) เม็ดเลือดแดงไม่มี nucleus (โตเต็มที่) ได้แก่ คน ลิง ช้าง ม้า วัว ควาย แมว หมา แพะ วาฬ โลมา พะยูน ค้างคาว ฯลฯ
  • 78.
  • 79. วิวัฒนาการมนุษย์ - ออสตราโลพิเทคัส อาฟฟาเรนซิส (ป้ าลูซี่ เก่าแก่สุด เอธิโอเปีย) ซึ่งสามารถใช้ชีวิตบนพื้นดิน สามารถ เดินสองขาและเดินสี่ขาได้ ต่างจากลิงชนิดอื่นที่ไม่สามารถเดินสองขาได้ สาเหตุของการปรับตัวให้เดิน สองขาได้นั้นเป็ นเพราะ การเดินสองขานั้นสามารถยืดตัวให้สูงขึ้น สามารถมองเห็นพื้นที่ทุ่งได้ไกลมาก ขึ้น - พาเรนโทรปัส โบไซ มีน้าหนักประมาณ 68 กิโลกรัม และสวนสูงประมาณ 130 เซนติเมตร มีโอกาส ในการเดินทาง ค้นพบและตั้งถิ่นฐานใหม่ ๆ ขึ้นทั่วทวีปแอฟริกา พละกาลังในการดารงชีวิตได้ไช้มากขึ้น ร่างกายจึงได้แข็งแกร่ง มีขนาดลาตัวที่ใหญ่ขึ้น แต่ยังไม่ได้ฉลาดขึ้น ยังไม่สามารถจะเรียกว่ามนุษย์ได้ - สปี ชี่ส์ที่พัฒนาต่อมาที่น่าจะมีความเป็ นมนุษย์รุ่นแรกคือ โฮโม เออร์แกสเตอร์ ซึ่งเชื่อกันว่า เป็ นมนุษย์ ต้นแบบที่วิวัฒนาการเป็ นมนุษย์ไปอีกหลายสาย คือ โฮโม ฮาบิลิส (อยู่ในแอฟริกา ใช้มือประดิษฐ์ เครื่องมือและสัมพันธ์เป็ นสังคม) โฮโม อีเร็กทัส (หินเก่า ใช้ไฟ ล่าสัตว์ พัฒนาสังคม) อาศัยอยู่ในเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ (มนุษย์ปักกิ่งและมนุษย์ชวา) และแอฟริกาตะวันออก เมื่อ 1.5 ล้านปี มาแล้ว มีความ เป็ นมนุษย์เต็มตัวแล้ว - โฮโม นีแอนเดอธัส อาศัยอยู่ในยุโรปและตะวันออกกลาง เมื่อ 100,000 ปี มาแล้ว เป็ นสปี ชี่ส์ที่ตัว ใหญ่ที่สุด อาศัยอยู่ตามถ้า ล่าสัตว์เป็ นหลัก - โฮโม แซเปียนส์ สายพันธุ์มนุษย์ ในยุโรปและตะวันออกกลาง มีอายุเมื่อ 250,000 ปี มาแล้ว ยังชีพ ด้วยการล่าสัตว์เป็ นอาหาร โดยใช้อาวุธที่ได้รับการพัฒนาให้ก้าวหน้าขึ้น
  • 80.
  • 81. คุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ความสาคัญต่อระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความเกี่ยวข้องกัน ให้ประโยชน์ต่อโลก เช่น แนวปะการัง เป็ นแหล่งอนุบาลของสัตว์น้าในทะเล 2. ความหลากหลายของสายพันธุ์ในสปี ชีส์เดียวกัน มีประโยชน์ต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิต เช่น ข้าวพันธุ์ พื้นบ้านไทยมียีนที่ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล 3. ความหลากหลายของสปี ชีส์ ทาให้เกิดประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง เช่น ต้นยางให้น้ายาง ที่ใช้ในอุตสาหกรรมยาง พืชและสัตว์ เป็ นแหล่งอาหารที่สาคัญของมนุษย์ สารสกัดจากสิ่งมีชีวิตสามารถ นามาใช้ประโยชน์ในทางยารักษาโรคหลายชนิด เช่น สารเปลาโนทอล (Plaonotol) จากต้นเปล้าน้อย ใช้ รักษาโรคกระเพาะและลาไส้ได้ 4. ความหลากหลายทางชีวภาพ ทาให้เกิดความหลากหลายชีวิตในธรรมชาติ ก่อให้เกิดจินตนาการและเกิด ความรื่นรมย์ใจ