SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
เรื่อง โรคอัลไซเมอร์
คณะผู้จัดทำ
เด็กชำย รัชพล ยำนไกล เลขที่2
เด็กหญิงธัญสุดำ จินำย เลขที่7
เด็กหญิงธรรมสรณ์ หำญวิชัยวัฒนำ เลขที่9
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2/1
เสนอ
คุณครูอุไร ทองดี
เอกสำรเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรำยวิชำกำรสื่อสำรและกำรนำเสนอ (IS2)
ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2556
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนชุมแพศึกษำ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต25
กระทรวงศึกษำธิกำร
ชื่อเรื่องการศึกษาค้นคว้า โรคอัลไซเมอร์
ชื่อผู้ศึกษาค้นคว้า เด็กชาย รัชพล ยานไกล
เด็กหญิง ธัญสุดา จินาย
เด็กหญิง ธรรมสรณ์ หาญวิชัยวัฒนา
คุณครูที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้า คุณครู อุไร ทองดี
ระดับชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1
โรงเรียน โรงเรียน ชุมแพศึกษา
ปีการศึกษาที่ค้นคว้า 2556
บทคัดย่อ
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ 3.
เพื่อนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชน ท้องถิ่น
วิธีดำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ
ในกำรศึกษำค้นคว้ำครั้งนี้คณะผู้จัดทำศึกษำได้ค้นคว้ำข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
โดยกำรศึกษำค้นคว้ำข้อมูลจำกเว็บไซต์ต่ำงๆ
ซึ่งคณะผู้จัดทำได้ศึกษำค้นคว้ำจำกแหล่งข้อมูลและแหล่งควำมรู้หลำยๆที่ ได้แก่
สืบค้นข้อมูลจำกอินเทอร์เน็ตและข้อเสนอแนะจำกเพื่อนๆ ม.2/1
เพื่อที่จะได้นำควำมรู้ที่ได้ศึกษำมำใช้ให้เกิดประโยชน์ และเผยแพร่ควำมรู้ให้แก่บุคคลต่ำงๆ
ผลกำรศึกษำค้นคว้ำพบว่ำ อัลไซเมอร์ เป็นโรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยที่สุด
โดยจะมีกำรเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มีวันหำย ผู้ป่วยจะไม่สำมำรถควบคุมอำรมณ์ตัวเอง
ไม่สำมำรถแยกทุกผิด มีปัญหำในเรื่องกำรใช้ภำษำ กำรประสำนงำนของกล้ำมเนื้อเสียไป ควำมจำเสื่อม
ในระยะท้ำยของโรคจะสูญเสียควำมจำทั้งหมด ในสหรัฐประมำณว่ำมีผู้ป่วยเป็นโรคนี้กว่ำ3-4 ล้ำนคน
และจะมีเพิ่มมำกขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก เนื่องจำกประชำกรมีอำยุยืนยำวขึ้น
ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ประมำณ 2-4% ของผู้ที่มีอำยุมำกกว่ำ 60 ปี
ยิ่งอำยุมำกขึ้นก็จะพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้มำกขึ้น กล่ำวคือจะพบเพิ่มขึ้น 2เท่ำทุก 5 ปี หลังอำยุ 60 ปี
กิตติกรรมประกำศ
รายงานศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1) เรื่อง
โรคอัลไซเมอร์ได้รวบรวมข้อมูลเสร็จสมบูรณ์พร้อมนาเสนอข้อมูลในการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
ในรูปแบบรายงานฉบับสาเร็จสมบูรณ์ซึ่งรายงานดังกล่าวได้รับความอนุเคราะห์อย่างสูงจาก
คุณครูโชคสวัสดิ์ โพธิกุล, เพื่อนในห้องที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์และคุณครูประจาวิชา คือ
คุณครู อุไร ทองดี ที่ให้ข้อเสนอแนะและความรู้เพิ่มเติมในการทารายงานเล่มนี้ให้มีความถูกต้อง
ชัดเจนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ผู้เป็นกาลังอย่างยิ่งในการทารายงานเล่มนี้ คอยให้ความช่วยเหลือ
ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดีและให้ความสะดวกทางด้านสถานที่ และอาหาร
จึงทาให้ทางคณะผู้จัดทาได้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ได้อย่างครบถ้วน
คุณค่าและประโยชน์อันเกิดจากรายงานเล่มนี้ ทางคณะผู้จัดทาขอมอบบูชาพระคุณบิดา มารดา
ตลอดจนพระผู้มีพระคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ หาข้อมูล
และขอน้อมบูชาท่านบูรพาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสานความรู้ด้วยความรักและเมตตา
เด็กชาย รัชพล ยานไกล
เด็กหญิง ธัญสุดา จินาย
เด็กหญิง ธรรมสรณ์ หาญวิชัยวัฒนา
สำรบัญ
บทที่ หน้ำ
1 บทนำ……………………………………………………………………………………………. 1
ที่มำและควำมสำคัญ…………………………………………………………………………...... 1
วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำค้นคว้ำ………………………………………………………………. 1
ขอบเขตกำรศึกษำค้นคว้ำ………………………………………………………………………... 2
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ……………………………………………………………………………… 2
2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง…………………………………………………………………. 3
ข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์……………………………………………………………………. 3
กำรดูแลรักษำผู้ป่วย ที่เปนโรคอัลไซเมอร์………………………………………………………. 6
ปัจจัยเสียงของโรคอัลไซเมอร์…………………………………………………………………... 6
วิธีป้องกัน ของโรคอัลไซเมอร์………………………………………………………………...... 7
งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง………………………………………………………………………………. 8
3 ขั้นตอนกำรดำเนินกำรศึกษำ……………………………………………………………………. 10
วัสดุ อุปกรณ์ และโปรแกรมที่ใช้งำน…………………………………………………………… 10
วิธีดำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ.……………………………………………………………………… 10
4 ผลกำรดำเนินกำรศึกษำ………………………………………………………………………….. 11
ผลกำรศึกษำ……………………………………………………………………………………... 11
5 สรุปผลกำรดำเนินกำรศึกษำ และข้อเสนอแนะ………………………………………………….. 12
กำรดำเนินกำรศึกษำ…………………………………………………………………………….. 12
วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำค้นคว้ำ……………………………………………………………. 12
วัสดุ อุปกรณ์และโปรแกรมที่ใช้งำน………………………………………………………….. 12
สรุปผลกำรดำเนินกำรศึกษำ…………………………………………………………………….. 12
ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………….. 12
ข้อเสนอแนะทั่วไป………………………………………………………………………….... 12
ปัญหำ อุปสรรคและแนวทำงในกำรศึกษำ……………………………………………………. 12
บรรณำนุกรม………………………………………………………………………………………. 14
ภำคผนวก………………………………………………………………………………………….. 15
เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวิชำ กำรสื่อสำรและกำรนำเสนอ (IS2)
ภำพประกอบกำรทำกำรศึกษำค้นคว้ำ
ประวัติผู้จัดทำ
บทที่ 1
บทนา
แนวคิด ที่มา และความสาคัญ
โรคอัลไซเมอร์ เมื่อผู้คนได้ยินชื่อนี้แล้วมักจะพูดว่า เป็นโรคที่ไม่ได้มีความร้ายแรงอะไรมากมาย
แต่คณะผู้จัดทาเห็นว่าเป็นเรื่องที่สาคัญมาก เพราะจากที่คณะผู้จัดทาได้สืบค้นมาพบว่า มีผู้สูงอายุจานวนมาก
ในประเทศไทยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายป่วยถึงขั้นร้ายแรงจนจา
คนในครอบครัวของตนเองไม่ได้
ทาให้ญาติของผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายอาจถึงขั้นต้องหยุดพักงานเพื่อมาอยู่ดูแลผู้ป่วยที่ป่วยเป็
นโรคอัลไซเมอร์ ทาให้เกิดปัญหาวุ่นวายเกี่ยวกับคนที่ป่วยเป็นโรคนี้และ คนรอบข้าง
อัลไซเมอร์ เป็นโรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยที่สุด
โดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มีวันหาย ผู้ป่วยจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเอง
ไม่สามารถแยกทุกผิด มีปัญหาในเรื่องการใช้ภาษา การประสานงานของกล้ามเนื้อเสียไป ความจาเสื่อม
ในระยะท้ายของโรคจะสูญเสียความจาทั้งหมด ในสหรัฐประมาณว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคนี้กว่า3-4 ล้านคน
และจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก เนื่องจากประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น
ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 2-4% ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี
ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้มากขึ้น กล่าวคือจะพบเพิ่มขึ้น 2เท่าทุก 5 ปี หลังอายุ 60 ปี
ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายอาจจาคนในครอบครัวหรือคนสนิทของตนเองได้
แต่อาจจาทางกลับบ้านหรือสถานที่ต่างๆเหตุการณ์ต่างๆที่เคยผ่านไปเมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้
อาจทาให้คนที่อยู่ดูแลผู้ป่วย เกิดอาการเบื่อหน่าย หงุดหงิด และอารมณ์ไม่ดีเมื่อผู้ป่วยถามนู่นถามนี่
เกี่ยวกับเรื่องที่ผ่านไปเมื่อไม่นานมานี้ ทาให้มีผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางราย
ต้องไปอาศัยอยู่บ้านพักคนชรา เพราะถูกทอดทิ้งทาให้เกิด ปัญหาสังคม
คณะผู้จัดทาเล็งเห็นปัญหานี้เป็นปัญหาสาคัญ จึงศึกษาเรื่องโรคอัลไซเมอร์ขึ้นมา
เพื่อให้ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับเรื่อง โรคอัลไซเมอร์
วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
2) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์
3) เพื่อนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชน ท้องถิ่น
ขอบเขตของการศึกษา
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
แหล่งที่มา ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ จาก
http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/alzheimer/alzheimers.html
และศึกษาจาก หนังสือ ทาอย่างไรไม่ให้เป็นโรคอัลไซเมอร์
2. ขอบเขตด้านสถานที่
สถานที่ ในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียนชุมแพศึกษา
3. ขอบเขตด้านระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2556
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง โรคอัลไซเมอร์
2. ได้นาเอาวิธีการป้องกันของโรคอัลไซเมอร์ มาใช้ในชีวิตประจาวัน
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาค้นคว้า เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารจากเว็บต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
1. ข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
1.1 ความเป็นมาของรคอัลไซเมอร์
1.2 อาการชองผู้ที่ป่วยเป็นรคอัลไซเมอร์
1.3 สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคอัลไซเมอร์
2. การดูแลรักษาผู้ป่วย ที่เปนโรคอัลไซเมอร์
3. ปัจจัยเสียงของโรคอัลไซเมอร์
4. วิธีป้องกัน ของโรคอัลไซเมอร์
5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1 ข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
1.1 ความเป็นมาของโรคอัลไซเมอร์
เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มีวันหาย
ผู้ป่วยจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเอง ไม่สามารถแยกทุกผิด มีปัญหาในเรื่องการใช้ภาษา
การประสานงานของกล้ามเนื้อเสียไป ความจาเสื่อม ในระยะท้ายของโรคจะสูญเสียความจาทั้งหมด
ในสหรัฐประมาณว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคนี้กว่า3-4 ล้านคน และจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก
เนื่องจากประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 2-4 % ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี
โรคนี้ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อว่า อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ (Alois
Alzheimer) และถูกตั้งชื่อตามท่าน
โรคนี้จัดเป็นโรคความเสื่อมที่รักษาไม่หายและจัดเป็นอาการป่วยระยะสุดท้าย
1.2 อาการของผู้ที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์
ลาดับการดาเนินโรคอัลไซเมอร์แบ่งออกเป็น 4 ระยะ
โดยมีลักษณะของความบกพร่องของหน้าที่และการรู้ที่แย่ลงเรื่อยๆ
1.2.1 ระยะก่อนสมองเสื่อม ในระยะก่อนสมองเสื่อม
อาการแรกสุดมักจะเข้าใจผิดว่าเกิดขึ้นเองจากความชรา หรือเกิดจากภาวะเครียด
การทดสอบทางจิตประสาทวิทยาแสดงความบกพร่องทางการรู้เล็กน้อยซึ่งกินเวลาถึง 8
ปีกว่าที่ผู้ป่วยจะมีลักษณะครบตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์
อาการเริ่มแรกจะมีผลกระทบต่อชีวิตประจาวันที่ซับซ้อนส่วนใหญ่[
ความบกพร่องที่เห็นชัดคือการสูญเสียความจา
คือพยายามจาข้อมูลที่เรียนรู้เมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้และไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ๆ ได้
ปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่การบริหารจัดการ อาทิความใส่ใจต่อสิ่งหนึ่งๆ การวางแผน, ความยืดหยุ่น
และความคิดเชิงนามธรรม หรือความบกพร่องของความจาเชิงอรรถศาสตร์
(การจาความหมายและความสัมพันธ์เชิงแนวคิด เช่นปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แอปเปิลมีสีแดง
เป็นต้น) อาจปรากฏอาการได้ในโรคอัลไซเมอร์ระยะแรก อาจพบภาวะไร้อารมณ์
ได้ในระยะนี้และจะเป็นอาการที่คงปรากฏอยู่ตลอดทุกระยะเวลาการดาเนินโรค
ในระยะก่อนแสดงอาการทางคลินิกนี้อาจเรียกอีกอย่างว่า ความบกพร่องทางการรู้เล็กน้อย
แต่ก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันว่าชื่อดังกล่าวเป็นโรคหนึ่งซึ่งได้รับการวินิจฉัยต่างหากหรือเป็นเพียงระยะแรกขอ
งโรคอัลไซเมอร์
1.2.2 สมองเสื่อมระยะแรก ระยะสมองเสื่อมระยะแรก
ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีความบกพร่องของความจาและการเรียนรู้จนสามารถวินิจฉัยอย่างแน่นอนได้
ผู้ป่วยบางส่วนมีอาการบกพร่องทางภาษา การบริหาร การกาหนดรู้ (ภาวะเสียการระลึกรู้ )
หรือการจัดการเคลื่อนไหว (ภาวะเสียการรู้ปฏิบัติ ) เด่นกว่าการสูญเสียความทรงจา
โรคอัลไซเมอร์ไม่ได้มีผลกระทบต่อความจาทั้งหมดเท่าๆ กัน
แต่ความทรงจาระยะยาวที่เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวของผู้ป่วย (ความจาเชิงเหตุการณ์ ) ความรู้ทั่วไป
(ความจาเชิงอรรถศาสตร์ ) และความจาโดยปริยาย ( ความจาของร่างกายว่าทาสิ่งต่างๆ อย่างไร เช่น
การใช้ช้อนส้อมรับประทานอาหาร)
ทั้งสามอย่างนี้จะได้รับผลกระทบน้อยกว่าความจาหรือความรู้ใหม่ปัญหาทางภาษามีลักษณะเด่นคือการรวบ
คาให้สั้นและพูดหรือใช้ศัพท์ไม่ฉะฉานหรือคล่องเหมือนเดิม ซึ่งทาให้พูดหรือเขียนภาษาได้น้อยลง
ในระยะนี้ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ยังสามารถสื่อสารบอกความคิดพื้นฐานของตนได้
เมื่อผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวโดยละเอียด เช่นการเขียน การวาดภาพ หรือการแต่งตัว
อาจพบความบกพร่องของการประสานการเคลื่อนไหวและการวางแผน (ภาวะเสียการรู้ปฏิบัติ)
ทาให้ผู้ป่วยดูเงอะงะหรือซุ่มซ่าม
เมื่อโรคดาเนินต่อไปผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์มักสามารถทางานหลายอย่างได้ด้วยตัวเองแต่อาจต้องอาศัยผู้ช่วย
หรือผู้ดูแลในกิจกรรมที่ต้องอาศัยกระบวนการคิดหรือการรู้อย่างมาก
1.2.3 สมองเสื่อมระยะปานกลาง ระยะสมองเสื่อมระยะปานกลาง
จะพบความเสื่อมของสมองจนไม่สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้ด้วยตนเอง
มีความบกพร่องด้านการพูดปรากฏชัดเจนเนื่องจากไม่สามารถนึกหาคาศัพท์ได้
ทาให้ใช้ศัพท์ผิดหรือใช้คาอื่นมาแทน ทักษะการอ่านและการเขียนค่อยๆ เสียไปเรื่อยๆ
เมื่อเวลาผ่านไปการประสานงานเพื่อการเคลื่อนไหวที่ซับซ้อนจะลดลง
ทาให้ไม่สามารถทากิจกรรมในชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ได้อย่างปกติ
ในระยะนี้ปัญหาความจาของผู้ป่วยจะแย่ลงเรื่อยๆ และผู้ป่วยไม่สามารถจาญาติสนิทของตนเองได้
ความทรงจาระยะยาวซึ่งแต่เดิมยังคงอยู่ก็จะค่อยๆ บกพร่องไป และมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
อาการแสดงที่พบบ่อยคือการหนีออกจากบ้าน ความรู้สึกผิดปกติ
สับสนหรือเห็นภาพหลอนในเวลาโพล้เพล้หรือกลางคืน หงุดหงิดโมโหง่าย และอารมณ์แปรปรวน
เช่นร้องไห้ก้าวร้าวอย่างไม่มีเหตุผล หรือดื้อต่อผู้ดูแล ประมาณร้อยละ 30
ของผู้ป่วยอาจมีอาการเชื่อว่าบุคคล สิ่งของ หรือสถานที่เปลี่ยนแปลงไป (เรียกว่ากลุ่มอาการ Delusional
misidentification syndrome) และอาจมีอาการหลงผิดอื่นๆ
อาจมีอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้อาการดังกล่าวทาให้เกิดความเครียดต่อผู้ดูแลหรือญาติ
ซึ่งต้องตัดสินใจส่งผู้ป่วยไปยังสถานรับดูแลผู้ป่วยระยะยาวอื่นๆ เพื่อลดความเครียด
1.2.4 สมองเสื่อมระยะสุดท้าย ในระยะสมองเสื่อมระยะสุดท้าย
ผู้ป่วยต้องพึ่งพาผู้ดูแลตลอดเวลา ทักษะทางภาษาของผู้ป่วยลดลงแม้เพียงการพูดวลีง่ายๆ หรือคาเดี่ยวๆ
จนกระทั่งไม่สามารถพูดได้เลย แม้ว่าผู้ป่วยจะไม่สามารถพูดจาตอบโต้เป็นภาษาได้
แต่ผู้ป่วยมักสามารถเข้าใจคาพูดและตอบสนองกลับมาด้วยการแสดงอารมณ์
ถึงแม้ผู้ป่วยจะยังมีลักษณะก้าวร้าว แต่ลักษณะของภาวะไร้อารมณ์และอ่อนเพลียจะเด่นกว่า
ในที่สุดผู้ป่วยจะไม่สามารถทากิจกรรมใดได้เลยหากขาดผู้ช่วยเหลือ
มวลกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหวร่างกายลดลงจนผู้ป่วยต้องนอนนิ่งอยู่เฉยๆ
และไม่สามารถป้อนอาหารด้วยตนเองได้ และสุดท้ายผู้ป่วยจะเสียชีวิตจากปัจจัยภายนอกอื่นๆ โดยตรง อาทิ
แผลกดทับหรือโรคปอดบวม แต่ไม่ได้เสียชีวิตจากตัวโรคโดยตรง
1.3 สาเหตุ
จากความผิดปกติในเนื้อสมองจะพบลักษณะที่สาคัญสองอย่างคือกลุ่มใยประสาทที่พันกัน Neurofibrillary
Tangles.และมีสาร Beta Amyloid ในสมอง ใยสมองที่พันกันทาให้สารอาหารไม่สามารถไปเลี้ยงสมอง
การที่สมองมีคราบ Beta Amyloid หุ้มทาระดับ acetylcholine สมองลดลงสาร acetylcholine
จะมีส่วนสาคัญในเรื่องการเรียนรู้และความจา
การอักเสบ inflammatory สาร amyloid เมื่อสลายจะให้สารอนุมูลอิสระออกมา
อนุมูลนี้จะทาให้เกิดการอักเสบของเซลล์สมอง
กรรมพันธุ์ โรค Alzheimer ทีเกิด late onset จะมีการเพิ่มของ gene ที่ควบคุมการสร้าง apolipoprotein E4
(ApoE 4) ส่วนที่เกิด early onset จะมีการเปลี่ยนแปลงของ gene presenilin-1 (PS1) และ presenelin-2 (PS2)
2. การดูแลรักษาผู้ป่วย ที่เปนโรคอัลไซเมอร์
ผู้ป่วยในระยะแรก
บอกการวินิจฉัยให้แก่ผู้ป่วยเพื่อที่แพทย์จะสามารถให้การรักษาได้ตั้งแต่เริ่มเป็น แพทย์ ผู้ที่ดูแล
และผู้ป่วยจะต้องมาปรึกษาว่าจะเกิดภาวะอะไรกับผู้ป่วย เช่นความจา อารมณ์เป็นต้น
อารมณ์ เนื่องจากผู้ป่วยจะมีอารมณ์ที่ผันผวนอย่างรวดเร็ว อาจจะกร้าวและโกรธจัด
พฤติกรรมนี้เกิดจากความไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง
และเกิดจากที่ผู้ป่วยสูญเสียความรู้และไม่สามารถเข้าใจสิ่งต่างๆรอบตัว
และไม่สามารถใช้คาพูดได้อย่างเหมาะสมจึงทาให้ผู้ป่วยมีอารมณ์ที่แปรปรวน
ผู้ให้การดูแลต้องจัดสิ่งแวดล้อมให้เรียบง่าย ให้เงียบเวลาพูดกับผู้ป่วยต้องช้าๆ และให้ชัดเจน
ไม่ให้ทางเลือกกับผู้ป่วยมากไปเนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้ถูกต้อง เช่นให้ผู้ป่วยเลือกเสื้อผ้าเอง
ผู้ป่วยไม่สามารถเลือกเสื้อผ้าให้เข้ากันซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยโกรธ เมื่อผู้ป่วยโกรธ
หรือตะโกนอาจจะหาของว่างให้รับประทาน หรือขับรถให้ผู้ป่วยเที่ยวซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยสงบ
ผู้ให้การบริการจะต้องมีอารมณ์ทีสงบ อารมณ์ไม่ฉุนเฉียว
ความสะอาด ผู้ป่วยมักจะไม่อยากอาบน้า ผู้ป่วยอาจจะเลือกเสื้อผ้าไม่เหมาะสมผู้ดูแลอย่าโกรธ
ต้องแสดงความเห็นใจ
การขับรถ เมื่อวินิจฉัยว่าเป็นโรคนี้ห้ามขับรถ ต้องป้องกันผู้ป่วยออกนอกบ้านโดยการ lock
ประตูและอาจจะติดสัญญาณเตือนเมื่อผู้ป่วยออกนอกบ้านพยายามให้ผู้ป่วยออกกาลัง เช่นเดินครั้งละ 30
นาทีวันละ 3 ครั้งจะทาให้ผู้ป่วยเพลียและหลับง่าย
การนอนหลับ มีคาแนะนาให้เปิดไฟให้สว่างในเวลากลางวัน จะทาให้ผู้ป่วยหลับในเวลากลางคืน
การดูและในระยะท้ายของโรค
ผู้ป่วยจะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ หากมีอาการดังกล่าวจะต้องตรวจดูว่ามีโรคติดเชื้อหรือไม่
ผู้ดูแลสามารถกะเวลาปัสสาวะได้โดยกาหนดเวลา และปริมาณน้าและอาหารที่ให้
และสามารถพาผู้ป่วยไปห้องน้าได้ทัน
การเคลื่อนไหว ระยะท้ายผู้ป่วยจะจาไม่ได้ว่าเคลื่อนไหวอย่างไร จะนอนหรือนั่งรถเข็น
ผู้ดูแลต้องคอยพลิกตัวผู้ป่วยทุกสองชั่วโมง ทากายภาพบาบัดเพื่อแก้ข้อติด
การรับประทานอาหาร ผู้ป่วยจะกลืนอาหารไม่ได้ต้องให้อาหารทางสายยาง
ผู้ดูแลต้องระวังสาลักอาหาร
3. ปัจจัยเสียงของโรคอัลไซเมอร์
ปัจจัยเสี่ยงคือ
อายุ ยิ่งอายุมากยิ่งมีโอกาสเป็นมากดังกล่าว พบว่าร้อยละ25ของผู้ป่วยอายุ 85ปี เป็นโรคนี้
โรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงทาให้ผู้ป่วยสูญเสียความจา
การรักษาความดันจะทาให้ความจาดีขึ้น
เรื่องของกรรมพันธุ์ ถ้ามีบุคคลในครอบครัวป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์ โอกาสที่จะเป็นก็มากขึ้น
เรื่องพันธุกรรมนี้มีความก้าวหน้าขึ้นมาก เช่น ทราบว่าความผิดปกติของยีน (gene) ที่สร้าง amyloid
precursor protein จะทาให้ได้โปรตีนที่ผิดปกติ ก่อให้เกิดตะกอนที่เรียกว่า amyloid plaques ในเนื้อสมอง
และผู้ที่มี gene บนโครโมโซมที่ 19 ชนิด Apolipoprotein E4
จะมีโอกาสเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้มากกว่าคนปกติ นอกจากนี้ ยังพบโปรตีนที่ผิดปกติอื่นๆ เช่น Tau protein
ที่อาจเกี่ยวข้องกับการเกิดกลุ่มใยประสาทที่พันกัน (Neurofibrillary tangles)
ที่พบเป็นลักษณะจาเพาะของพยาธิสภาพของโรคอัลไซเมอร์
4. วิธีป้องกัน ของโรคอัลไซเมอร์
การศึกษาจากทั่วโลกเพื่อวัดการป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์มักให้ผลการศึกษาที่ขัดแย้
งกัน ในปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดสนับสนุนว่ามีวิธีใดที่ป้องกันโรคอัลไซเมอร์อย่างมีประสิทธิผล
อย่างไรก็ตามการศึกษาทางระบาดวิทยาหลายชิ้นแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ อาทิอาหาร
โรคหลอดเลือดหัวใจ ยา หรือกิจกรรมที่ใช้ทักษะทางสติปัญญา กับการลดความเสี่ยงเป็นโรคอัลไซเมอร์
แต่ยังจาเป็นต้องมีงานวิจัยต่อไปเพิ่มเติมเพื่ออธิบายบทบาทว่าปัจจัยเหล่านี้ลดอัตราการเกิดของโรคนี้ได้อย่าง
ไร[
ส่วนประกอบของอาหารเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ผักและผลไม้ ขนมปัง ข้าวสาลีและธัญพืชต่างๆ
น้ามันมะกอก ปลา และไวน์แดง ทั้งหมดสามารถลดความเสี่ยงและช่วงเวลาการเป็นโรคอัลไซเมอร์
วิตามินหลายชนิดเช่น วิตามินบี12 วิตามินบี3 วิตามินซี หรือกรดโฟลิก
ในบางงานวิจัยพบว่าช่วยลดความเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์
แต่ในบางการศึกษากล่าวว่าไม่พบผลของวิตามินต่อการเกิดหรือการดาเนินโรคอย่างมีนัยสาคัญ
ซ้ายังอาจทาให้เกิดผลข้างเคียงที่สาคัญ สารเคอร์คิวมิน
จากขมิ้นพบว่ามีประสิทธิผลบ้างในการป้องกันการทาลายสมองในหนูทดลอง
แม้ว่าปัจจัยเสี่ยงด้านโรคหลอดเลือดหัวใจ เช่น ภาวะเลือดมีคอเลสเทอรอลมาก ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
และการสูบบุหรี่ จะเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงต่อการเกิดและระยะเวลาการดาเนินโรคอัลไซเมอร์
แต่การใช้ยากลุ่มสแตตินเพื่อควบคุมระดับคอเลสเทอรอลกลับไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันหรือช่วยทาให้
การดาเนินโรคอัลไซเมอร์ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การใช้ยากลุ่มยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตรอยด์ เช่น แอสไพริน
ไอบูโปรเฟน ช่วยลดความเสี่ยงจะเป็นโรคอัลไซเมอร์ในบางคน ยาอื่นๆ เช่น ฮอร์โมนทดแทนในสตรี
ไม่พบว่าช่วยป้องกันภาวะสมองเสื่อม ในการทบทวนวรรณกรรมในปี พ.ศ. 2550
สรุปว่าไม่มีหลักฐานอันสอดคล้องกันหรือเชื่อได้ว่าแปะก๊วยให้ผลในการป้องกันความบกพร่องของการรู้
และการศึกษาล่าสุดสรุปว่าแปะก๊วยไม่มีผลในการลดอัตราอุบัติการณ์ของโรคอัลไซเมอร์
กิจกรรมที่ใช้ทักษะทางสติปัญญาเช่นอ่านหนังสือ เล่นหมากกระดาน เล่นปริศนาอักษรไขว้
เล่นดนตรีหรือมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมช่วยชะลอการเกิดหรือลดความรุนแรงของโรคอัลไซเมอร์
การพูดได้สองภาษาสามารถชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์เช่นกัน
ในบางการศึกษาพบว่าความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์เพิ่มขึ้นในผู้ทางานที่ต้องได้รับสนามแม่เหล็ก
ได้รับโลหะโดยเฉพาะอย่างยิ่งอะลูมิเนียม หรือได้รับตัวทาละลาย
แต่คุณภาพของการศึกษาดังกล่าวยังเป็นที่ถกเถียงกัน
รวมถึงบางการศึกษากลับสรุปว่าไม่มีความสัมพันธ์กันระหว่างปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมกับการเกิดโรคอัลไซเม
อร์
2.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ทางคลินิกมักอาศัยประวัติของผู้ป่วย ประวัติที่ได้จากญาติ
และการสังเกตอาการตามลักษณะที่ปรากฏทางประสาทวิทยาและจิตประสาทวิทยาและจากการวินิจฉัยโดยคั
ดออกการศึกษาจากภาพทางรังสีวิทยาเพิ่มเติมด้วยการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ (ซีที สแกน;
CT) หรือการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (เอ็มอาร์ไอ; MRI) ร่วมกับ Single photon emission
computed tomography (SPECT) หรือโพซิตรอนอีมิสชันโทโมกราฟี (เพท สแกน; PET)
ช่วยในการคัดพยาธิสภาพทางสมองหรือภาวะสมองเสื่อมอื่นๆ ออกได้
การประเมินทางจิตประสาทวิทยาอาทิการทดสอบความจาสามารถจาแนกระยะของโรคอัลไซเมอร์ได
มีหน่วยงานทางการแพทย์หลายสถาบันได้สร้างเกณฑ์การวินิจฉัยสาหรับแพทย์เพื่อให้การวินิจฉัยโรคอัลไซเ
มอร์มีความง่ายและเป็นมาตรฐานมากขึ้น
ในบางครั้งการวินิจฉัยสามารถยืนยันหรือกระทาหลังผู้ป่วยเสียชีวิตจากการศึกษาชิ้นส่วนสมองด้วยวิธีทางมิ
ญชวิทยา (การศึกษาเนื้อเยื่อด้วยกล้องจุลทรรศน์)
ฝ่ายวิชาการ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) จึงได้ให้การสนับสนุนทุนวิจัยแก่
รศ.ดร.ทพญ.สิริพร ฉัตรทิพากร อาจารย์ประจาภาควิชาทันตวิทยา-พยาธิวิทยาช่องปาก
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะฯ
จากศูนย์วิจัยและฝึกอบรมสาขาโรคทางไฟฟ้าของหัวใจ ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อศึกษาผลของสารสกัดจากต้นพุดจีบ
ในการยับยั้งการทางานของเอนไซม์อะเซทิลโคลิเนสเทอเรสในสมองของหนูขาวซึ่งเป็นสัตว์ทดลอง
และใช้เทคนิคการย้อมติดโปรตีนที่ชื่อ c-fos
ซึ่งโปรตีนนี้จะเป็นตัวชี้วัดว่าเซลล์ประสาทมีการถูกกระตุ้นให้เกิดการทางานขึ้นหรือไม่
ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่าสารสกัดจากต้นพุดจีบสามารถยับยั้งการทางานของเอนไซม์อะเซทิลโคลิเนส
เทอเรสในสมองได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะสมองส่วนนอก (cerebral cortex)
ซึ่งเป็นสมองที่มีบทบาทสาคัญในการจาและการเรียนรู้นอกจากนี้ยังมีผลทาให้มีการทางานของระบบประสา
ทเพิ่มขึ้นในสมองของหนูขาวและมีบทบาทในการควบคุมการทางานของการสื่อประสาทระหว่างเซลล์ประ
สาทเช่นเดียวกับยากาเลนทามิน ดังนั้น
สารสกัดจากต้นพุดจีบจึงมีประโยชน์ต่อการศึกษาหาตัวยาในสารสกัดพุดจีบเพื่อใช้รักษาโรคอัลไซเมอร์ต่อไ
ปในอนาคต
จากผลวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ค้นพบเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ สรุปได้
สารสกัดจากต้นพุดจีบสามารถยับยั้งการทางานของเอนไซม์อะเซทิลโคลิเนสเทอเรสในสมองได้อย่างมีประ
สิทธิภาพ
บทที่ 3
ขั้นตอนการดาเนินการศึกษา
ในการศึกษาค้นคว้า เรื่องโรคอัลไซเมอร์ คณะผู้จัดทามีวิธีดาเนินการศึกษา ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา
1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
1.2 ปากกา สมุดจดบันทึก ดินสอ
1.3 เว็บไซต์ที่ใช้ค้นคว้า th.wikipedia.org/wiki/โรคอัลไซเมอร์
2. ขั้นตอนการดาเนินการศึกษา
1.ประชุมปรึกษาหารือเสนอความคิดเห็นและคัดเลือกเรื่องที่จะศึกษาและคิดหัวข้อเพื่อนาเสนอครูที่
ปรึกษาค้นคว้า
2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
3.ทบทวนเรื่องที่ศึกษาจาก is1 เรื่องโรคอัลไซเมอร์
4.จัดทาโครงร่างต่อครูที่ปรึกษาค้นคว้าเพื่อพิจารณาอนุมัติ
5.ศึกษาวิธีการจัดทารายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่ม
6.นาเสนอความก้าวหน้าเป็นระยะๆ ตามระยะเวลาที่ครูที่ปรึกษาค้นคว้ากาหนด
เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า
7.ศึกษาวิธีการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
8.จัดทาร่างรายงานทางวิชาการและเป็นรูปเล่ม
9.ตรวจสอบความถูกต้องของร่างรายงานทางวิชาการ
10.นาเสนอร่างรายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่มต่อครูที่ปรึกษาค้นคว้าเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
11.จัดทารายงานเป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
12.จัดทา เพาว์เวอร์พอยต์ นาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
13.เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น โซเชียลมีเดียออนไลน์
บทที่ 4
ผลการดาเนินการศึกษา
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารนี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ วิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ และ
เพื่อไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชนท้องถึ่น ซึ่งมีผลการดาเนินการศึกษา ดังนี้
1. ผลการศึกษา
จากการศึกษาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ คณะผู้จัดทาได้นาเนินการตามขั้นตอนในบทที่ 3 แล้ว
โดยได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของโรคอัลไซเมอร์ จากการศึกษาจากเว็บไซต์ต่างๆ ได้ข้อมูลดังนี้ อัลไซเมอร์
เป็นโรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยที่สุด
โดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มีวันหาย ผู้ป่วยจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเอง
ไม่สามารถแยกทุกผิด มีปัญหาในเรื่องการใช้ภาษา การประสานงานของกล้ามเนื้อเสียไป ความจาเสื่อม
ในระยะท้ายของโรคจะสูญเสียความจาทั้งหมด ในสหรัฐประมาณว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคนี้กว่า3-4 ล้านคน
และจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก เนื่องจากประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น
ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 2-4% ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี
ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้มากขึ้น กล่าวคือจะพบเพิ่มขึ้น 2เท่าทุก 5 ปี หลังอายุ 60 ปี
วิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ ได้ข้อมูล ดังนี้
การให้เวลาผู้ป่วยในการตอบคาถามหรือการตอบสนองกับสิ่งรอบข้าง
เนื่องจากผู้ป่วยจะเชื่องช้าลงจากการทางานของสมองที่เสียไป
ควรจะช่วยให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลโดยบอกขั้นตอนทีละลาดับช้าๆ
เพื่อให้ผู้ป่วยทาตามได้และควรจัดให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเป็นช่วงๆซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยอารมณ์ดีขึ้น
จากเพื่อนๆ ม.2/1 ได้ข้อมูลเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ด.ญ. ทิพย์สุดา ธรรมเจริญ
ได้ให้ข้อมูลว่า ให้พบแพทย์เพื่อรับก่ารตรวจและรับยามากิน 2. ด.ช. วุฒิไกร ใจซื่อ ได้ให้ข้อมูลว่า
ใช้การสะกดจิต 3. ด.ญ. ธรรมสรณ์ หายวิชัยวัฒนา ได้ให้ข้อมูลว่า ใช้ไฟฟ้ากระตุ้นสมอง
ซึ่งขากข้อมูลดังกล่าว ทาให้ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจ เพื่อนๆม.2/1 ได้รับความรู้
และสามารถนาความรู้ที่ได้ไปช่วยเหลือ ผู้ป่วยที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ ในระแวกชุมชนของเราได้
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงาน และข้อเสนอแนะ
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ สามารถสรุปผลการดาเนินการศึกษา และข้อเสนอแนะ ดังนี้
1. การดาเนินงานการศึกษาค้นคว้า
1.1 วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
1) เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
2) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์
3) เพื่อนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชน ท้องถิ่น
1.2 วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
2. ปากกา สมุดจดบันทึก ดินสอ
2. สรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า
การศึกษา เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ ในรายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (IS1)
และได้รวบรวมข้อมูลและพร้อมนาเสนอในรายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
เพื่อนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชน ท้องถิ่น
คณะผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินการศึกษาตามขั้นตอนการศึกที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว และได้รับความรู้ต่างๆ
เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์มากยิ่งขึ้น เช่น ได้รู้สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคอัลไซเมอร์ วิธีการรักษา และ
ป้องกันของโรคอัลไซเมอร์ และงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรคอัลไซเมอร์ ทั้งนี้ทางคณะผู้จัดทาได้จัดทา
Power Point เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ ที่มีความน่าสนใจด้านเนื้อหาและรูปลักษณ์ขึ้นมา
เพื่อเผยแพร่ความรู้ที่มีประโยชน์ให้ประชาชนทั่วไปได้ศึกษานาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
3. ข้อเสนอแนะ
ใ น ก า ร ท า ก า ร ศึ ก ษ า ค้ า น ค ว้ า เ รื่ อ ง โ ร ค อั ล ไ ซ เ ม อ ร์
ที่คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าขึ้นนี้สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการรักษาผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์
4. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการพัฒนา
1. นักเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน
จึงทาให้การศึกษาโรคอัลไซเมอร์เกิดความล่าช้าตามไปด้วย
2. ระบบอินเตอร์เน็ต มีปัญหาบ่อยครั้ง
จึงทาให้การติดต่อครูที่ปรึกษาค้นคว้าและการสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนนักเรียน เกิดการสะดุด
ไม่ต่อเนื่องจึงทาให้การศึกษาโรคอัลไซเมอร์ล่าช้ากว่าที่คาดหวังไว้
อ้างอิง
th.wikipedia.org/wiki/โรคอัลไซเมอร์
www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/.../alzheimers.html
health.kapook.com/view20029.html
Is 2 3 9
Is 2 3 9

More Related Content

Viewers also liked

Angular boilerplate generator
Angular boilerplate generatorAngular boilerplate generator
Angular boilerplate generatorVincent De Smet
 
Παρουσίαση Αthens Plaza εγκυμοσύνη με εξωσωματική γονιμοποίηση
Παρουσίαση Αthens Plaza εγκυμοσύνη με εξωσωματική γονιμοποίησηΠαρουσίαση Αthens Plaza εγκυμοσύνη με εξωσωματική γονιμοποίηση
Παρουσίαση Αthens Plaza εγκυμοσύνη με εξωσωματική γονιμοποίησηMarinos Tsirigotis
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตjamisuly
 
saltandpepper_noise_removal_2013
saltandpepper_noise_removal_2013saltandpepper_noise_removal_2013
saltandpepper_noise_removal_2013pranay yadav
 
Bab5 tingk2 rajah kitaran
Bab5 tingk2 rajah kitaranBab5 tingk2 rajah kitaran
Bab5 tingk2 rajah kitarannurmarliya
 
Develop with docker 2014 aug
Develop with docker 2014 augDevelop with docker 2014 aug
Develop with docker 2014 augVincent De Smet
 
elsevier_publication_2013
elsevier_publication_2013elsevier_publication_2013
elsevier_publication_2013pranay yadav
 
Pengembangan dan menajemen produk baru recover
Pengembangan dan menajemen produk baru recoverPengembangan dan menajemen produk baru recover
Pengembangan dan menajemen produk baru recoverIndah Hayati
 
Livre Blanc Niouzeo L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
Livre  Blanc  Niouzeo  L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...Livre  Blanc  Niouzeo  L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
Livre Blanc Niouzeo L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...Alain Planger
 
Altics : Maximiser votre potentiel de conversion en soignant le couple objet/...
Altics : Maximiser votre potentiel de conversion en soignant le couple objet/...Altics : Maximiser votre potentiel de conversion en soignant le couple objet/...
Altics : Maximiser votre potentiel de conversion en soignant le couple objet/...Alain Planger
 
Email Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TICEmail Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TICAlain Planger
 
Le social commerce
Le social commerceLe social commerce
Le social commerceCYB@RDECHE
 
Tests & recette - Les fondamentaux
Tests & recette - Les fondamentauxTests & recette - Les fondamentaux
Tests & recette - Les fondamentauxCOMPETENSIS
 

Viewers also liked (16)

Angular boilerplate generator
Angular boilerplate generatorAngular boilerplate generator
Angular boilerplate generator
 
Παρουσίαση Αthens Plaza εγκυμοσύνη με εξωσωματική γονιμοποίηση
Παρουσίαση Αthens Plaza εγκυμοσύνη με εξωσωματική γονιμοποίησηΠαρουσίαση Αthens Plaza εγκυμοσύνη με εξωσωματική γονιμοποίηση
Παρουσίαση Αthens Plaza εγκυμοσύνη με εξωσωματική γονιμοποίηση
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
 
PID3474431
PID3474431PID3474431
PID3474431
 
แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
saltandpepper_noise_removal_2013
saltandpepper_noise_removal_2013saltandpepper_noise_removal_2013
saltandpepper_noise_removal_2013
 
Bab5 tingk2 rajah kitaran
Bab5 tingk2 rajah kitaranBab5 tingk2 rajah kitaran
Bab5 tingk2 rajah kitaran
 
Develop with docker 2014 aug
Develop with docker 2014 augDevelop with docker 2014 aug
Develop with docker 2014 aug
 
elsevier_publication_2013
elsevier_publication_2013elsevier_publication_2013
elsevier_publication_2013
 
Pengembangan dan menajemen produk baru recover
Pengembangan dan menajemen produk baru recoverPengembangan dan menajemen produk baru recover
Pengembangan dan menajemen produk baru recover
 
Livre Blanc Niouzeo L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
Livre  Blanc  Niouzeo  L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...Livre  Blanc  Niouzeo  L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
Livre Blanc Niouzeo L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
 
Altics : Maximiser votre potentiel de conversion en soignant le couple objet/...
Altics : Maximiser votre potentiel de conversion en soignant le couple objet/...Altics : Maximiser votre potentiel de conversion en soignant le couple objet/...
Altics : Maximiser votre potentiel de conversion en soignant le couple objet/...
 
Email Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TICEmail Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TIC
 
Le social commerce
Le social commerceLe social commerce
Le social commerce
 
ergonomie
ergonomieergonomie
ergonomie
 
Tests & recette - Les fondamentaux
Tests & recette - Les fondamentauxTests & recette - Les fondamentaux
Tests & recette - Les fondamentaux
 

Similar to Is 2 3 9

เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆRujira Meechin
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_Swnee_eic
 
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556Rattikan Kanankaew
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณKnooknickk Pinpukvan
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 

Similar to Is 2 3 9 (20)

อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์
 
อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
At1
At1At1
At1
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556
Facts & Figure 2013: ข้อเท็จจริงและสถิติภาวะคุกคามสุขภาพภาคใต้ 2556
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
งาน
งานงาน
งาน
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 

More from Ratchaphon Yanklai

More from Ratchaphon Yanklai (6)

แผ่นผับ222
แผ่นผับ222แผ่นผับ222
แผ่นผับ222
 
แผ่นผับ222
แผ่นผับ222แผ่นผับ222
แผ่นผับ222
 
แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
ประวัติส่วนตัวบาส
ประวัติส่วนตัวบาสประวัติส่วนตัวบาส
ประวัติส่วนตัวบาส
 

Is 2 3 9

  • 1. เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ คณะผู้จัดทำ เด็กชำย รัชพล ยำนไกล เลขที่2 เด็กหญิงธัญสุดำ จินำย เลขที่7 เด็กหญิงธรรมสรณ์ หำญวิชัยวัฒนำ เลขที่9 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2/1 เสนอ คุณครูอุไร ทองดี เอกสำรเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรำยวิชำกำรสื่อสำรและกำรนำเสนอ (IS2) ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2556 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนชุมแพศึกษำ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต25 กระทรวงศึกษำธิกำร
  • 2. ชื่อเรื่องการศึกษาค้นคว้า โรคอัลไซเมอร์ ชื่อผู้ศึกษาค้นคว้า เด็กชาย รัชพล ยานไกล เด็กหญิง ธัญสุดา จินาย เด็กหญิง ธรรมสรณ์ หาญวิชัยวัฒนา คุณครูที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้า คุณครู อุไร ทองดี ระดับชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียน โรงเรียน ชุมแพศึกษา ปีการศึกษาที่ค้นคว้า 2556 บทคัดย่อ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ 3. เพื่อนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชน ท้องถิ่น วิธีดำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ ในกำรศึกษำค้นคว้ำครั้งนี้คณะผู้จัดทำศึกษำได้ค้นคว้ำข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ โดยกำรศึกษำค้นคว้ำข้อมูลจำกเว็บไซต์ต่ำงๆ ซึ่งคณะผู้จัดทำได้ศึกษำค้นคว้ำจำกแหล่งข้อมูลและแหล่งควำมรู้หลำยๆที่ ได้แก่ สืบค้นข้อมูลจำกอินเทอร์เน็ตและข้อเสนอแนะจำกเพื่อนๆ ม.2/1 เพื่อที่จะได้นำควำมรู้ที่ได้ศึกษำมำใช้ให้เกิดประโยชน์ และเผยแพร่ควำมรู้ให้แก่บุคคลต่ำงๆ ผลกำรศึกษำค้นคว้ำพบว่ำ อัลไซเมอร์ เป็นโรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยที่สุด โดยจะมีกำรเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มีวันหำย ผู้ป่วยจะไม่สำมำรถควบคุมอำรมณ์ตัวเอง ไม่สำมำรถแยกทุกผิด มีปัญหำในเรื่องกำรใช้ภำษำ กำรประสำนงำนของกล้ำมเนื้อเสียไป ควำมจำเสื่อม ในระยะท้ำยของโรคจะสูญเสียควำมจำทั้งหมด ในสหรัฐประมำณว่ำมีผู้ป่วยเป็นโรคนี้กว่ำ3-4 ล้ำนคน และจะมีเพิ่มมำกขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก เนื่องจำกประชำกรมีอำยุยืนยำวขึ้น ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ประมำณ 2-4% ของผู้ที่มีอำยุมำกกว่ำ 60 ปี ยิ่งอำยุมำกขึ้นก็จะพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้มำกขึ้น กล่ำวคือจะพบเพิ่มขึ้น 2เท่ำทุก 5 ปี หลังอำยุ 60 ปี
  • 3. กิตติกรรมประกำศ รายงานศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1) เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ได้รวบรวมข้อมูลเสร็จสมบูรณ์พร้อมนาเสนอข้อมูลในการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2) ในรูปแบบรายงานฉบับสาเร็จสมบูรณ์ซึ่งรายงานดังกล่าวได้รับความอนุเคราะห์อย่างสูงจาก คุณครูโชคสวัสดิ์ โพธิกุล, เพื่อนในห้องที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์และคุณครูประจาวิชา คือ คุณครู อุไร ทองดี ที่ให้ข้อเสนอแนะและความรู้เพิ่มเติมในการทารายงานเล่มนี้ให้มีความถูกต้อง ชัดเจนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ผู้เป็นกาลังอย่างยิ่งในการทารายงานเล่มนี้ คอยให้ความช่วยเหลือ ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดีและให้ความสะดวกทางด้านสถานที่ และอาหาร จึงทาให้ทางคณะผู้จัดทาได้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ได้อย่างครบถ้วน คุณค่าและประโยชน์อันเกิดจากรายงานเล่มนี้ ทางคณะผู้จัดทาขอมอบบูชาพระคุณบิดา มารดา ตลอดจนพระผู้มีพระคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ หาข้อมูล และขอน้อมบูชาท่านบูรพาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสานความรู้ด้วยความรักและเมตตา เด็กชาย รัชพล ยานไกล เด็กหญิง ธัญสุดา จินาย เด็กหญิง ธรรมสรณ์ หาญวิชัยวัฒนา
  • 4. สำรบัญ บทที่ หน้ำ 1 บทนำ……………………………………………………………………………………………. 1 ที่มำและควำมสำคัญ…………………………………………………………………………...... 1 วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำค้นคว้ำ………………………………………………………………. 1 ขอบเขตกำรศึกษำค้นคว้ำ………………………………………………………………………... 2 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ……………………………………………………………………………… 2 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง…………………………………………………………………. 3 ข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์……………………………………………………………………. 3 กำรดูแลรักษำผู้ป่วย ที่เปนโรคอัลไซเมอร์………………………………………………………. 6 ปัจจัยเสียงของโรคอัลไซเมอร์…………………………………………………………………... 6 วิธีป้องกัน ของโรคอัลไซเมอร์………………………………………………………………...... 7 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง………………………………………………………………………………. 8 3 ขั้นตอนกำรดำเนินกำรศึกษำ……………………………………………………………………. 10 วัสดุ อุปกรณ์ และโปรแกรมที่ใช้งำน…………………………………………………………… 10 วิธีดำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ.……………………………………………………………………… 10 4 ผลกำรดำเนินกำรศึกษำ………………………………………………………………………….. 11 ผลกำรศึกษำ……………………………………………………………………………………... 11 5 สรุปผลกำรดำเนินกำรศึกษำ และข้อเสนอแนะ………………………………………………….. 12 กำรดำเนินกำรศึกษำ…………………………………………………………………………….. 12 วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำค้นคว้ำ……………………………………………………………. 12 วัสดุ อุปกรณ์และโปรแกรมที่ใช้งำน………………………………………………………….. 12 สรุปผลกำรดำเนินกำรศึกษำ…………………………………………………………………….. 12 ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………….. 12 ข้อเสนอแนะทั่วไป………………………………………………………………………….... 12 ปัญหำ อุปสรรคและแนวทำงในกำรศึกษำ……………………………………………………. 12 บรรณำนุกรม………………………………………………………………………………………. 14 ภำคผนวก………………………………………………………………………………………….. 15
  • 5. เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวิชำ กำรสื่อสำรและกำรนำเสนอ (IS2) ภำพประกอบกำรทำกำรศึกษำค้นคว้ำ ประวัติผู้จัดทำ บทที่ 1 บทนา แนวคิด ที่มา และความสาคัญ โรคอัลไซเมอร์ เมื่อผู้คนได้ยินชื่อนี้แล้วมักจะพูดว่า เป็นโรคที่ไม่ได้มีความร้ายแรงอะไรมากมาย แต่คณะผู้จัดทาเห็นว่าเป็นเรื่องที่สาคัญมาก เพราะจากที่คณะผู้จัดทาได้สืบค้นมาพบว่า มีผู้สูงอายุจานวนมาก ในประเทศไทยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายป่วยถึงขั้นร้ายแรงจนจา คนในครอบครัวของตนเองไม่ได้ ทาให้ญาติของผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายอาจถึงขั้นต้องหยุดพักงานเพื่อมาอยู่ดูแลผู้ป่วยที่ป่วยเป็ นโรคอัลไซเมอร์ ทาให้เกิดปัญหาวุ่นวายเกี่ยวกับคนที่ป่วยเป็นโรคนี้และ คนรอบข้าง อัลไซเมอร์ เป็นโรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยที่สุด โดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มีวันหาย ผู้ป่วยจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเอง ไม่สามารถแยกทุกผิด มีปัญหาในเรื่องการใช้ภาษา การประสานงานของกล้ามเนื้อเสียไป ความจาเสื่อม ในระยะท้ายของโรคจะสูญเสียความจาทั้งหมด ในสหรัฐประมาณว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคนี้กว่า3-4 ล้านคน และจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก เนื่องจากประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 2-4% ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้มากขึ้น กล่าวคือจะพบเพิ่มขึ้น 2เท่าทุก 5 ปี หลังอายุ 60 ปี ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายอาจจาคนในครอบครัวหรือคนสนิทของตนเองได้ แต่อาจจาทางกลับบ้านหรือสถานที่ต่างๆเหตุการณ์ต่างๆที่เคยผ่านไปเมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้ อาจทาให้คนที่อยู่ดูแลผู้ป่วย เกิดอาการเบื่อหน่าย หงุดหงิด และอารมณ์ไม่ดีเมื่อผู้ป่วยถามนู่นถามนี่ เกี่ยวกับเรื่องที่ผ่านไปเมื่อไม่นานมานี้ ทาให้มีผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางราย ต้องไปอาศัยอยู่บ้านพักคนชรา เพราะถูกทอดทิ้งทาให้เกิด ปัญหาสังคม คณะผู้จัดทาเล็งเห็นปัญหานี้เป็นปัญหาสาคัญ จึงศึกษาเรื่องโรคอัลไซเมอร์ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับเรื่อง โรคอัลไซเมอร์ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 2) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์
  • 6. 3) เพื่อนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชน ท้องถิ่น ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา แหล่งที่มา ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ จาก http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/alzheimer/alzheimers.html และศึกษาจาก หนังสือ ทาอย่างไรไม่ให้เป็นโรคอัลไซเมอร์ 2. ขอบเขตด้านสถานที่ สถานที่ ในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียนชุมแพศึกษา 3. ขอบเขตด้านระยะเวลา ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2556 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง โรคอัลไซเมอร์ 2. ได้นาเอาวิธีการป้องกันของโรคอัลไซเมอร์ มาใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 7. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาค้นคว้า เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารจากเว็บต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 1.1 ความเป็นมาของรคอัลไซเมอร์ 1.2 อาการชองผู้ที่ป่วยเป็นรคอัลไซเมอร์ 1.3 สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคอัลไซเมอร์ 2. การดูแลรักษาผู้ป่วย ที่เปนโรคอัลไซเมอร์ 3. ปัจจัยเสียงของโรคอัลไซเมอร์ 4. วิธีป้องกัน ของโรคอัลไซเมอร์ 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1 ข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 1.1 ความเป็นมาของโรคอัลไซเมอร์ เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มีวันหาย ผู้ป่วยจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเอง ไม่สามารถแยกทุกผิด มีปัญหาในเรื่องการใช้ภาษา การประสานงานของกล้ามเนื้อเสียไป ความจาเสื่อม ในระยะท้ายของโรคจะสูญเสียความจาทั้งหมด ในสหรัฐประมาณว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคนี้กว่า3-4 ล้านคน และจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก เนื่องจากประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 2-4 % ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี โรคนี้ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อว่า อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ (Alois Alzheimer) และถูกตั้งชื่อตามท่าน โรคนี้จัดเป็นโรคความเสื่อมที่รักษาไม่หายและจัดเป็นอาการป่วยระยะสุดท้าย
  • 8. 1.2 อาการของผู้ที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ ลาดับการดาเนินโรคอัลไซเมอร์แบ่งออกเป็น 4 ระยะ โดยมีลักษณะของความบกพร่องของหน้าที่และการรู้ที่แย่ลงเรื่อยๆ 1.2.1 ระยะก่อนสมองเสื่อม ในระยะก่อนสมองเสื่อม อาการแรกสุดมักจะเข้าใจผิดว่าเกิดขึ้นเองจากความชรา หรือเกิดจากภาวะเครียด การทดสอบทางจิตประสาทวิทยาแสดงความบกพร่องทางการรู้เล็กน้อยซึ่งกินเวลาถึง 8 ปีกว่าที่ผู้ป่วยจะมีลักษณะครบตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ อาการเริ่มแรกจะมีผลกระทบต่อชีวิตประจาวันที่ซับซ้อนส่วนใหญ่[ ความบกพร่องที่เห็นชัดคือการสูญเสียความจา คือพยายามจาข้อมูลที่เรียนรู้เมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้และไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ๆ ได้ ปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่การบริหารจัดการ อาทิความใส่ใจต่อสิ่งหนึ่งๆ การวางแผน, ความยืดหยุ่น และความคิดเชิงนามธรรม หรือความบกพร่องของความจาเชิงอรรถศาสตร์ (การจาความหมายและความสัมพันธ์เชิงแนวคิด เช่นปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แอปเปิลมีสีแดง เป็นต้น) อาจปรากฏอาการได้ในโรคอัลไซเมอร์ระยะแรก อาจพบภาวะไร้อารมณ์ ได้ในระยะนี้และจะเป็นอาการที่คงปรากฏอยู่ตลอดทุกระยะเวลาการดาเนินโรค ในระยะก่อนแสดงอาการทางคลินิกนี้อาจเรียกอีกอย่างว่า ความบกพร่องทางการรู้เล็กน้อย แต่ก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันว่าชื่อดังกล่าวเป็นโรคหนึ่งซึ่งได้รับการวินิจฉัยต่างหากหรือเป็นเพียงระยะแรกขอ งโรคอัลไซเมอร์ 1.2.2 สมองเสื่อมระยะแรก ระยะสมองเสื่อมระยะแรก ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีความบกพร่องของความจาและการเรียนรู้จนสามารถวินิจฉัยอย่างแน่นอนได้ ผู้ป่วยบางส่วนมีอาการบกพร่องทางภาษา การบริหาร การกาหนดรู้ (ภาวะเสียการระลึกรู้ ) หรือการจัดการเคลื่อนไหว (ภาวะเสียการรู้ปฏิบัติ ) เด่นกว่าการสูญเสียความทรงจา โรคอัลไซเมอร์ไม่ได้มีผลกระทบต่อความจาทั้งหมดเท่าๆ กัน แต่ความทรงจาระยะยาวที่เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวของผู้ป่วย (ความจาเชิงเหตุการณ์ ) ความรู้ทั่วไป (ความจาเชิงอรรถศาสตร์ ) และความจาโดยปริยาย ( ความจาของร่างกายว่าทาสิ่งต่างๆ อย่างไร เช่น การใช้ช้อนส้อมรับประทานอาหาร) ทั้งสามอย่างนี้จะได้รับผลกระทบน้อยกว่าความจาหรือความรู้ใหม่ปัญหาทางภาษามีลักษณะเด่นคือการรวบ คาให้สั้นและพูดหรือใช้ศัพท์ไม่ฉะฉานหรือคล่องเหมือนเดิม ซึ่งทาให้พูดหรือเขียนภาษาได้น้อยลง
  • 9. ในระยะนี้ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ยังสามารถสื่อสารบอกความคิดพื้นฐานของตนได้ เมื่อผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวโดยละเอียด เช่นการเขียน การวาดภาพ หรือการแต่งตัว อาจพบความบกพร่องของการประสานการเคลื่อนไหวและการวางแผน (ภาวะเสียการรู้ปฏิบัติ) ทาให้ผู้ป่วยดูเงอะงะหรือซุ่มซ่าม เมื่อโรคดาเนินต่อไปผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์มักสามารถทางานหลายอย่างได้ด้วยตัวเองแต่อาจต้องอาศัยผู้ช่วย หรือผู้ดูแลในกิจกรรมที่ต้องอาศัยกระบวนการคิดหรือการรู้อย่างมาก 1.2.3 สมองเสื่อมระยะปานกลาง ระยะสมองเสื่อมระยะปานกลาง จะพบความเสื่อมของสมองจนไม่สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้ด้วยตนเอง มีความบกพร่องด้านการพูดปรากฏชัดเจนเนื่องจากไม่สามารถนึกหาคาศัพท์ได้ ทาให้ใช้ศัพท์ผิดหรือใช้คาอื่นมาแทน ทักษะการอ่านและการเขียนค่อยๆ เสียไปเรื่อยๆ เมื่อเวลาผ่านไปการประสานงานเพื่อการเคลื่อนไหวที่ซับซ้อนจะลดลง ทาให้ไม่สามารถทากิจกรรมในชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ได้อย่างปกติ ในระยะนี้ปัญหาความจาของผู้ป่วยจะแย่ลงเรื่อยๆ และผู้ป่วยไม่สามารถจาญาติสนิทของตนเองได้ ความทรงจาระยะยาวซึ่งแต่เดิมยังคงอยู่ก็จะค่อยๆ บกพร่องไป และมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง อาการแสดงที่พบบ่อยคือการหนีออกจากบ้าน ความรู้สึกผิดปกติ สับสนหรือเห็นภาพหลอนในเวลาโพล้เพล้หรือกลางคืน หงุดหงิดโมโหง่าย และอารมณ์แปรปรวน เช่นร้องไห้ก้าวร้าวอย่างไม่มีเหตุผล หรือดื้อต่อผู้ดูแล ประมาณร้อยละ 30 ของผู้ป่วยอาจมีอาการเชื่อว่าบุคคล สิ่งของ หรือสถานที่เปลี่ยนแปลงไป (เรียกว่ากลุ่มอาการ Delusional misidentification syndrome) และอาจมีอาการหลงผิดอื่นๆ อาจมีอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้อาการดังกล่าวทาให้เกิดความเครียดต่อผู้ดูแลหรือญาติ ซึ่งต้องตัดสินใจส่งผู้ป่วยไปยังสถานรับดูแลผู้ป่วยระยะยาวอื่นๆ เพื่อลดความเครียด 1.2.4 สมองเสื่อมระยะสุดท้าย ในระยะสมองเสื่อมระยะสุดท้าย ผู้ป่วยต้องพึ่งพาผู้ดูแลตลอดเวลา ทักษะทางภาษาของผู้ป่วยลดลงแม้เพียงการพูดวลีง่ายๆ หรือคาเดี่ยวๆ จนกระทั่งไม่สามารถพูดได้เลย แม้ว่าผู้ป่วยจะไม่สามารถพูดจาตอบโต้เป็นภาษาได้ แต่ผู้ป่วยมักสามารถเข้าใจคาพูดและตอบสนองกลับมาด้วยการแสดงอารมณ์ ถึงแม้ผู้ป่วยจะยังมีลักษณะก้าวร้าว แต่ลักษณะของภาวะไร้อารมณ์และอ่อนเพลียจะเด่นกว่า ในที่สุดผู้ป่วยจะไม่สามารถทากิจกรรมใดได้เลยหากขาดผู้ช่วยเหลือ มวลกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหวร่างกายลดลงจนผู้ป่วยต้องนอนนิ่งอยู่เฉยๆ
  • 10. และไม่สามารถป้อนอาหารด้วยตนเองได้ และสุดท้ายผู้ป่วยจะเสียชีวิตจากปัจจัยภายนอกอื่นๆ โดยตรง อาทิ แผลกดทับหรือโรคปอดบวม แต่ไม่ได้เสียชีวิตจากตัวโรคโดยตรง 1.3 สาเหตุ จากความผิดปกติในเนื้อสมองจะพบลักษณะที่สาคัญสองอย่างคือกลุ่มใยประสาทที่พันกัน Neurofibrillary Tangles.และมีสาร Beta Amyloid ในสมอง ใยสมองที่พันกันทาให้สารอาหารไม่สามารถไปเลี้ยงสมอง การที่สมองมีคราบ Beta Amyloid หุ้มทาระดับ acetylcholine สมองลดลงสาร acetylcholine จะมีส่วนสาคัญในเรื่องการเรียนรู้และความจา การอักเสบ inflammatory สาร amyloid เมื่อสลายจะให้สารอนุมูลอิสระออกมา อนุมูลนี้จะทาให้เกิดการอักเสบของเซลล์สมอง กรรมพันธุ์ โรค Alzheimer ทีเกิด late onset จะมีการเพิ่มของ gene ที่ควบคุมการสร้าง apolipoprotein E4 (ApoE 4) ส่วนที่เกิด early onset จะมีการเปลี่ยนแปลงของ gene presenilin-1 (PS1) และ presenelin-2 (PS2) 2. การดูแลรักษาผู้ป่วย ที่เปนโรคอัลไซเมอร์ ผู้ป่วยในระยะแรก บอกการวินิจฉัยให้แก่ผู้ป่วยเพื่อที่แพทย์จะสามารถให้การรักษาได้ตั้งแต่เริ่มเป็น แพทย์ ผู้ที่ดูแล และผู้ป่วยจะต้องมาปรึกษาว่าจะเกิดภาวะอะไรกับผู้ป่วย เช่นความจา อารมณ์เป็นต้น อารมณ์ เนื่องจากผู้ป่วยจะมีอารมณ์ที่ผันผวนอย่างรวดเร็ว อาจจะกร้าวและโกรธจัด พฤติกรรมนี้เกิดจากความไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง และเกิดจากที่ผู้ป่วยสูญเสียความรู้และไม่สามารถเข้าใจสิ่งต่างๆรอบตัว และไม่สามารถใช้คาพูดได้อย่างเหมาะสมจึงทาให้ผู้ป่วยมีอารมณ์ที่แปรปรวน ผู้ให้การดูแลต้องจัดสิ่งแวดล้อมให้เรียบง่าย ให้เงียบเวลาพูดกับผู้ป่วยต้องช้าๆ และให้ชัดเจน ไม่ให้ทางเลือกกับผู้ป่วยมากไปเนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้ถูกต้อง เช่นให้ผู้ป่วยเลือกเสื้อผ้าเอง ผู้ป่วยไม่สามารถเลือกเสื้อผ้าให้เข้ากันซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยโกรธ เมื่อผู้ป่วยโกรธ หรือตะโกนอาจจะหาของว่างให้รับประทาน หรือขับรถให้ผู้ป่วยเที่ยวซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยสงบ ผู้ให้การบริการจะต้องมีอารมณ์ทีสงบ อารมณ์ไม่ฉุนเฉียว ความสะอาด ผู้ป่วยมักจะไม่อยากอาบน้า ผู้ป่วยอาจจะเลือกเสื้อผ้าไม่เหมาะสมผู้ดูแลอย่าโกรธ ต้องแสดงความเห็นใจ
  • 11. การขับรถ เมื่อวินิจฉัยว่าเป็นโรคนี้ห้ามขับรถ ต้องป้องกันผู้ป่วยออกนอกบ้านโดยการ lock ประตูและอาจจะติดสัญญาณเตือนเมื่อผู้ป่วยออกนอกบ้านพยายามให้ผู้ป่วยออกกาลัง เช่นเดินครั้งละ 30 นาทีวันละ 3 ครั้งจะทาให้ผู้ป่วยเพลียและหลับง่าย การนอนหลับ มีคาแนะนาให้เปิดไฟให้สว่างในเวลากลางวัน จะทาให้ผู้ป่วยหลับในเวลากลางคืน การดูและในระยะท้ายของโรค ผู้ป่วยจะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ หากมีอาการดังกล่าวจะต้องตรวจดูว่ามีโรคติดเชื้อหรือไม่ ผู้ดูแลสามารถกะเวลาปัสสาวะได้โดยกาหนดเวลา และปริมาณน้าและอาหารที่ให้ และสามารถพาผู้ป่วยไปห้องน้าได้ทัน การเคลื่อนไหว ระยะท้ายผู้ป่วยจะจาไม่ได้ว่าเคลื่อนไหวอย่างไร จะนอนหรือนั่งรถเข็น ผู้ดูแลต้องคอยพลิกตัวผู้ป่วยทุกสองชั่วโมง ทากายภาพบาบัดเพื่อแก้ข้อติด การรับประทานอาหาร ผู้ป่วยจะกลืนอาหารไม่ได้ต้องให้อาหารทางสายยาง ผู้ดูแลต้องระวังสาลักอาหาร 3. ปัจจัยเสียงของโรคอัลไซเมอร์ ปัจจัยเสี่ยงคือ อายุ ยิ่งอายุมากยิ่งมีโอกาสเป็นมากดังกล่าว พบว่าร้อยละ25ของผู้ป่วยอายุ 85ปี เป็นโรคนี้ โรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงทาให้ผู้ป่วยสูญเสียความจา การรักษาความดันจะทาให้ความจาดีขึ้น เรื่องของกรรมพันธุ์ ถ้ามีบุคคลในครอบครัวป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์ โอกาสที่จะเป็นก็มากขึ้น เรื่องพันธุกรรมนี้มีความก้าวหน้าขึ้นมาก เช่น ทราบว่าความผิดปกติของยีน (gene) ที่สร้าง amyloid precursor protein จะทาให้ได้โปรตีนที่ผิดปกติ ก่อให้เกิดตะกอนที่เรียกว่า amyloid plaques ในเนื้อสมอง และผู้ที่มี gene บนโครโมโซมที่ 19 ชนิด Apolipoprotein E4 จะมีโอกาสเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้มากกว่าคนปกติ นอกจากนี้ ยังพบโปรตีนที่ผิดปกติอื่นๆ เช่น Tau protein ที่อาจเกี่ยวข้องกับการเกิดกลุ่มใยประสาทที่พันกัน (Neurofibrillary tangles) ที่พบเป็นลักษณะจาเพาะของพยาธิสภาพของโรคอัลไซเมอร์ 4. วิธีป้องกัน ของโรคอัลไซเมอร์ การศึกษาจากทั่วโลกเพื่อวัดการป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์มักให้ผลการศึกษาที่ขัดแย้ งกัน ในปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดสนับสนุนว่ามีวิธีใดที่ป้องกันโรคอัลไซเมอร์อย่างมีประสิทธิผล อย่างไรก็ตามการศึกษาทางระบาดวิทยาหลายชิ้นแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ อาทิอาหาร
  • 12. โรคหลอดเลือดหัวใจ ยา หรือกิจกรรมที่ใช้ทักษะทางสติปัญญา กับการลดความเสี่ยงเป็นโรคอัลไซเมอร์ แต่ยังจาเป็นต้องมีงานวิจัยต่อไปเพิ่มเติมเพื่ออธิบายบทบาทว่าปัจจัยเหล่านี้ลดอัตราการเกิดของโรคนี้ได้อย่าง ไร[ ส่วนประกอบของอาหารเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ผักและผลไม้ ขนมปัง ข้าวสาลีและธัญพืชต่างๆ น้ามันมะกอก ปลา และไวน์แดง ทั้งหมดสามารถลดความเสี่ยงและช่วงเวลาการเป็นโรคอัลไซเมอร์ วิตามินหลายชนิดเช่น วิตามินบี12 วิตามินบี3 วิตามินซี หรือกรดโฟลิก ในบางงานวิจัยพบว่าช่วยลดความเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ แต่ในบางการศึกษากล่าวว่าไม่พบผลของวิตามินต่อการเกิดหรือการดาเนินโรคอย่างมีนัยสาคัญ ซ้ายังอาจทาให้เกิดผลข้างเคียงที่สาคัญ สารเคอร์คิวมิน จากขมิ้นพบว่ามีประสิทธิผลบ้างในการป้องกันการทาลายสมองในหนูทดลอง แม้ว่าปัจจัยเสี่ยงด้านโรคหลอดเลือดหัวใจ เช่น ภาวะเลือดมีคอเลสเทอรอลมาก ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และการสูบบุหรี่ จะเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงต่อการเกิดและระยะเวลาการดาเนินโรคอัลไซเมอร์ แต่การใช้ยากลุ่มสแตตินเพื่อควบคุมระดับคอเลสเทอรอลกลับไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันหรือช่วยทาให้ การดาเนินโรคอัลไซเมอร์ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การใช้ยากลุ่มยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตรอยด์ เช่น แอสไพริน ไอบูโปรเฟน ช่วยลดความเสี่ยงจะเป็นโรคอัลไซเมอร์ในบางคน ยาอื่นๆ เช่น ฮอร์โมนทดแทนในสตรี ไม่พบว่าช่วยป้องกันภาวะสมองเสื่อม ในการทบทวนวรรณกรรมในปี พ.ศ. 2550 สรุปว่าไม่มีหลักฐานอันสอดคล้องกันหรือเชื่อได้ว่าแปะก๊วยให้ผลในการป้องกันความบกพร่องของการรู้ และการศึกษาล่าสุดสรุปว่าแปะก๊วยไม่มีผลในการลดอัตราอุบัติการณ์ของโรคอัลไซเมอร์ กิจกรรมที่ใช้ทักษะทางสติปัญญาเช่นอ่านหนังสือ เล่นหมากกระดาน เล่นปริศนาอักษรไขว้ เล่นดนตรีหรือมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมช่วยชะลอการเกิดหรือลดความรุนแรงของโรคอัลไซเมอร์ การพูดได้สองภาษาสามารถชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์เช่นกัน ในบางการศึกษาพบว่าความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์เพิ่มขึ้นในผู้ทางานที่ต้องได้รับสนามแม่เหล็ก ได้รับโลหะโดยเฉพาะอย่างยิ่งอะลูมิเนียม หรือได้รับตัวทาละลาย แต่คุณภาพของการศึกษาดังกล่าวยังเป็นที่ถกเถียงกัน รวมถึงบางการศึกษากลับสรุปว่าไม่มีความสัมพันธ์กันระหว่างปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมกับการเกิดโรคอัลไซเม อร์ 2.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 13. การวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ทางคลินิกมักอาศัยประวัติของผู้ป่วย ประวัติที่ได้จากญาติ และการสังเกตอาการตามลักษณะที่ปรากฏทางประสาทวิทยาและจิตประสาทวิทยาและจากการวินิจฉัยโดยคั ดออกการศึกษาจากภาพทางรังสีวิทยาเพิ่มเติมด้วยการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ (ซีที สแกน; CT) หรือการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (เอ็มอาร์ไอ; MRI) ร่วมกับ Single photon emission computed tomography (SPECT) หรือโพซิตรอนอีมิสชันโทโมกราฟี (เพท สแกน; PET) ช่วยในการคัดพยาธิสภาพทางสมองหรือภาวะสมองเสื่อมอื่นๆ ออกได้ การประเมินทางจิตประสาทวิทยาอาทิการทดสอบความจาสามารถจาแนกระยะของโรคอัลไซเมอร์ได มีหน่วยงานทางการแพทย์หลายสถาบันได้สร้างเกณฑ์การวินิจฉัยสาหรับแพทย์เพื่อให้การวินิจฉัยโรคอัลไซเ มอร์มีความง่ายและเป็นมาตรฐานมากขึ้น ในบางครั้งการวินิจฉัยสามารถยืนยันหรือกระทาหลังผู้ป่วยเสียชีวิตจากการศึกษาชิ้นส่วนสมองด้วยวิธีทางมิ ญชวิทยา (การศึกษาเนื้อเยื่อด้วยกล้องจุลทรรศน์) ฝ่ายวิชาการ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) จึงได้ให้การสนับสนุนทุนวิจัยแก่ รศ.ดร.ทพญ.สิริพร ฉัตรทิพากร อาจารย์ประจาภาควิชาทันตวิทยา-พยาธิวิทยาช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะฯ จากศูนย์วิจัยและฝึกอบรมสาขาโรคทางไฟฟ้าของหัวใจ ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อศึกษาผลของสารสกัดจากต้นพุดจีบ ในการยับยั้งการทางานของเอนไซม์อะเซทิลโคลิเนสเทอเรสในสมองของหนูขาวซึ่งเป็นสัตว์ทดลอง และใช้เทคนิคการย้อมติดโปรตีนที่ชื่อ c-fos ซึ่งโปรตีนนี้จะเป็นตัวชี้วัดว่าเซลล์ประสาทมีการถูกกระตุ้นให้เกิดการทางานขึ้นหรือไม่ ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่าสารสกัดจากต้นพุดจีบสามารถยับยั้งการทางานของเอนไซม์อะเซทิลโคลิเนส เทอเรสในสมองได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะสมองส่วนนอก (cerebral cortex) ซึ่งเป็นสมองที่มีบทบาทสาคัญในการจาและการเรียนรู้นอกจากนี้ยังมีผลทาให้มีการทางานของระบบประสา ทเพิ่มขึ้นในสมองของหนูขาวและมีบทบาทในการควบคุมการทางานของการสื่อประสาทระหว่างเซลล์ประ สาทเช่นเดียวกับยากาเลนทามิน ดังนั้น สารสกัดจากต้นพุดจีบจึงมีประโยชน์ต่อการศึกษาหาตัวยาในสารสกัดพุดจีบเพื่อใช้รักษาโรคอัลไซเมอร์ต่อไ ปในอนาคต
  • 15. ในการศึกษาค้นคว้า เรื่องโรคอัลไซเมอร์ คณะผู้จัดทามีวิธีดาเนินการศึกษา ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา 1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต 1.2 ปากกา สมุดจดบันทึก ดินสอ 1.3 เว็บไซต์ที่ใช้ค้นคว้า th.wikipedia.org/wiki/โรคอัลไซเมอร์ 2. ขั้นตอนการดาเนินการศึกษา 1.ประชุมปรึกษาหารือเสนอความคิดเห็นและคัดเลือกเรื่องที่จะศึกษาและคิดหัวข้อเพื่อนาเสนอครูที่ ปรึกษาค้นคว้า 2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 3.ทบทวนเรื่องที่ศึกษาจาก is1 เรื่องโรคอัลไซเมอร์ 4.จัดทาโครงร่างต่อครูที่ปรึกษาค้นคว้าเพื่อพิจารณาอนุมัติ 5.ศึกษาวิธีการจัดทารายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่ม 6.นาเสนอความก้าวหน้าเป็นระยะๆ ตามระยะเวลาที่ครูที่ปรึกษาค้นคว้ากาหนด เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า 7.ศึกษาวิธีการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม 8.จัดทาร่างรายงานทางวิชาการและเป็นรูปเล่ม 9.ตรวจสอบความถูกต้องของร่างรายงานทางวิชาการ 10.นาเสนอร่างรายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่มต่อครูที่ปรึกษาค้นคว้าเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 11.จัดทารายงานเป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ 12.จัดทา เพาว์เวอร์พอยต์ นาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน 13.เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น โซเชียลมีเดียออนไลน์
  • 16. บทที่ 4 ผลการดาเนินการศึกษา การศึกษาค้นคว้า เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ วิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ และ เพื่อไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชนท้องถึ่น ซึ่งมีผลการดาเนินการศึกษา ดังนี้ 1. ผลการศึกษา จากการศึกษาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ คณะผู้จัดทาได้นาเนินการตามขั้นตอนในบทที่ 3 แล้ว โดยได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของโรคอัลไซเมอร์ จากการศึกษาจากเว็บไซต์ต่างๆ ได้ข้อมูลดังนี้ อัลไซเมอร์ เป็นโรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยที่สุด โดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มีวันหาย ผู้ป่วยจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเอง ไม่สามารถแยกทุกผิด มีปัญหาในเรื่องการใช้ภาษา การประสานงานของกล้ามเนื้อเสียไป ความจาเสื่อม ในระยะท้ายของโรคจะสูญเสียความจาทั้งหมด ในสหรัฐประมาณว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคนี้กว่า3-4 ล้านคน และจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก เนื่องจากประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 2-4% ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้มากขึ้น กล่าวคือจะพบเพิ่มขึ้น 2เท่าทุก 5 ปี หลังอายุ 60 ปี วิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ ได้ข้อมูล ดังนี้ การให้เวลาผู้ป่วยในการตอบคาถามหรือการตอบสนองกับสิ่งรอบข้าง เนื่องจากผู้ป่วยจะเชื่องช้าลงจากการทางานของสมองที่เสียไป ควรจะช่วยให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลโดยบอกขั้นตอนทีละลาดับช้าๆ เพื่อให้ผู้ป่วยทาตามได้และควรจัดให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเป็นช่วงๆซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยอารมณ์ดีขึ้น จากเพื่อนๆ ม.2/1 ได้ข้อมูลเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ด.ญ. ทิพย์สุดา ธรรมเจริญ ได้ให้ข้อมูลว่า ให้พบแพทย์เพื่อรับก่ารตรวจและรับยามากิน 2. ด.ช. วุฒิไกร ใจซื่อ ได้ให้ข้อมูลว่า ใช้การสะกดจิต 3. ด.ญ. ธรรมสรณ์ หายวิชัยวัฒนา ได้ให้ข้อมูลว่า ใช้ไฟฟ้ากระตุ้นสมอง ซึ่งขากข้อมูลดังกล่าว ทาให้ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจ เพื่อนๆม.2/1 ได้รับความรู้ และสามารถนาความรู้ที่ได้ไปช่วยเหลือ ผู้ป่วยที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ ในระแวกชุมชนของเราได้
  • 17. บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน และข้อเสนอแนะ การศึกษาค้นคว้า เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ สามารถสรุปผลการดาเนินการศึกษา และข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. การดาเนินงานการศึกษาค้นคว้า 1.1 วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 1) เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 2) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ 3) เพื่อนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชน ท้องถิ่น 1.2 วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต 2. ปากกา สมุดจดบันทึก ดินสอ 2. สรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า การศึกษา เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ ในรายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (IS1) และได้รวบรวมข้อมูลและพร้อมนาเสนอในรายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ (IS2) คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ เพื่อนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชน ท้องถิ่น คณะผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินการศึกษาตามขั้นตอนการศึกที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว และได้รับความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์มากยิ่งขึ้น เช่น ได้รู้สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคอัลไซเมอร์ วิธีการรักษา และ ป้องกันของโรคอัลไซเมอร์ และงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรคอัลไซเมอร์ ทั้งนี้ทางคณะผู้จัดทาได้จัดทา Power Point เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ ที่มีความน่าสนใจด้านเนื้อหาและรูปลักษณ์ขึ้นมา เพื่อเผยแพร่ความรู้ที่มีประโยชน์ให้ประชาชนทั่วไปได้ศึกษานาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน 3. ข้อเสนอแนะ ใ น ก า ร ท า ก า ร ศึ ก ษ า ค้ า น ค ว้ า เ รื่ อ ง โ ร ค อั ล ไ ซ เ ม อ ร์ ที่คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าขึ้นนี้สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการรักษาผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ 4. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการพัฒนา
  • 18. 1. นักเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน จึงทาให้การศึกษาโรคอัลไซเมอร์เกิดความล่าช้าตามไปด้วย 2. ระบบอินเตอร์เน็ต มีปัญหาบ่อยครั้ง จึงทาให้การติดต่อครูที่ปรึกษาค้นคว้าและการสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนนักเรียน เกิดการสะดุด ไม่ต่อเนื่องจึงทาให้การศึกษาโรคอัลไซเมอร์ล่าช้ากว่าที่คาดหวังไว้