SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
15.5.1 การข่มไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant)
คาร์ล คอร์เรนส์ (Carl Correns) นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน
เป็นคนแรกที่ค้นพบต้นบานเย็นสีชมพูที่เกิดจากการผสมกันของต้นบานเย็น
สีขาวกับสีแดง
ตามกฎของเมนเดล ผลที่ได้จะต้องมีเพียงลักษณะสีแดงหรือสีขาวเท่านั้น
15.5.1 การข่มไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant)
ต่อมามีผู้ศึกษาการผสมกันของลิ้นมังกรดอกสีแดงพันธุ์แท้และดอกสีขาว
พันธุ์แท้ ผลที่ได้รุ่น F1 มีดอกสีชมพู
และได้รุ่น F2 ที่มีดอกสีแดง : สีชมพู : สีขาว ในอัตราส่วน 1:2:1
15.5.1 การข่มไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant)
ต่อมาได้มีการกาหนดให้ลักษณะดอกสีแดงถูกควบคุมด้วยแอลลีล 2 แอลลีล
คือ R และ R’
โดยแอลลีลหนึ่งไม่สามารถข่มอีกแอลลีลหนึ่งได้ จึงเกิดเป็นลักษณะผสม
ระหว่าง 2 ลักษณะ
เรียกลักษณะดังกล่าวนี้ว่า “การข่มไม่สมบูรณ์” (Incomplete Dominant)
ตัวอย่างการผสม
พ่อดอกแดง RR
RR
แม่ดอกขาว R’R’
R’R’
RR’ RR’ RR’ RR’
ดอกชมพู
รุ่น F1
ตัวอย่างการผสม (หารุ่น F2)
พ่อดอกชมพูRR’
R’R
แม่ดอกชมพู RR’
R’R
RR RR’ RR’ R’R’
ดอกแดง
ดอกชมพู ดอกขาว
รุ่น F2
15.5.2 การข่มร่วมกัน (Codominance)
ตัวอย่างของการข่มร่วมกัน คือ หมู่เลือด
เช่น พ่อที่มีหมู่เลือด Aและแม่มีหมู่เลือด B ได้ลูกที่หมู่เลือด AB
เนื่องจากทั้ง IA และ IB เป็นลักษณะเด่นทั้งคู่จึงแสดงออกเท่าๆกัน
ลักษณะแบบนี้เรียกว่า “การข่มร่วมกัน” (โดยมี i เป็นลักษณะด้อย)
15.5.3 มัลติเปิ ลแอลลีล (Multiple Alleles)
คือ การที่ยีนตาแหน่งเดียว แต่มี allele มากกว่า 2 แบบ
เช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะหมู่เลือด แสดง 3 ลักษณะ ได้แก่ IA, IB, i
โดย IA, IB เป็นยีนเด่น และ i เป็นยีนด้อย
15.5.3 มัลติเปิ ลแอลลีล (Multiple Alleles)
หมู่ A มีแอนติเจน A แอนติบอดี B จีโนไทป์ IAIA , IAi
หมู่ B มีแอนติเจน B แอนติบอดี A จีโนไทป์ IB IB , IB i
หมู่ AB มีแอนติเจน A , B จีโนไทป์ IAIB
หมู่ O มีแอนติบอดี A , B จีโนไทป์ ii
หลักการจา
แอนติเจนของผู้ให้จะตรงกับเอนติบอดีของผู้รับไม่ได้เด็ดขาด
เพราะจะทาให้เลือดตกตะกอน
ตัวอย่างการผสมหมู่เลือด
แม่ : หมู่ AB
IB
IA
ii
iIA iIB
iIA iIB
หมู่ A หมู่ B
หมู่ Aหมู่ B
15.5.4 พอลิยีน(polygenes)
ถูกค้นพบจากการผสมเม็ดข้าวสาลี
ลักษณะทางพันธุกรรมเช่นนี้คือ ไม่ได้มียีนเพียง 2 ยีนที่ควบคุม
ลักษณะที่แสดงออกมา
ตัวอย่าง R แสดงเมล็ดข้าวสีแดง (เด่น) และ r แสดงเมล็ดข้าวสีขาว
แต่ลักษณะยังแบ่งได้อีกว่าเมล็ดสีแดงเข้มและสีแดงอ่อน
15.5.4 พอลิยีน(polygenes)
ตัวอย่างเช่นลักษณะสีแดงเข้มมีจีโนไทป์ เป็น R1R2R3 และสีขาวคือ
r1r2r3
ถ้ามี R มากก็จะแสดงไปทางแดงเข้มถ้ามี r มากก็จะแสดงไปทางขาว
ตัวอย่าง R1R2r3 ย่อมมีสีแดงเข้มกว่า R1r2r3
ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการแปรผันต่อเนื่อง
(Continuous variant trait )
พอลิยีน ทาให้เกิดลักษณะที่แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ลดหลั่นกันไป
เรียกลักษณะเช่นนี้ว่า ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการแปรผันต่อเนื่อง
(Continuous variant trait ) เช่น ความสูง สีผิว ขนาดผลไม้
ส่วนลักษณะที่แตกต่างอย่างชัดเจน เช่น การมี/ไม่มีลักยิ้ม ห่อลิ้นได้
ห่อลิ้นไม่ได้ เรียกว่าลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการแปรผันไม่ต่อเนื่อง
(Discontinuous variant trait )
15.5.5 ยีนในโครโมโซมเพศ
โครโมโซมของคนมี 46 แท่ง 23 คู่
โดยในเพศชายและเพศหญิงมีโครโมโซมเหมือนกัน 22คู่
ส่วนอีก 1 คู่ต่างกัน เรียกว่า โครโมโซมเพศ
โดยเพศหญิงเป็น XX และเพศชายเป็น XY
15.5.5 ยีนในโครโมโซมเพศ
ส่วนใหญ่ จะศึกษายีนบนออโทโซม(โครโมโซมร่างกาย)
ในปี 2453 T.H.Morgan ค้นพบลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนบน
โครโมโซมเพศครั้งแรก ในแมลงหวี่
แมลงหวี่ มีโครโมโซม 4 คู่ โดยมีออโทโซม 3 คู่ และโครโมโซมเพศ 1 คู่
โดยทาการผสมแมลงหวี่เพศผู้ตาสีขาว กับเพศเมียตาสีแดง
ได้รุ่น F1ที่มีตาแดงทุกตัว แล้วนารุ่น F1 ผสมกันเอง
พบว่ารุ่น F2 เพศเมียทุกตัวมีตาสีแดง ส่วนเพศผู้มีอัตราแดง:ขาว เป็น 1:1
สังเกตได้ว่า ไม่มีตาสีขาวในแมลงหวี่เพศเมียเลย
สรุปตาของแมลงหวี่
ลักษณะสีของตา ถูกควบคุมโดยยีนบนโครโมโซม X (แดง-เด่น ขาว-ด้อย)
ดังนั้นหากแมลงหวี่เพศผู้ได้รับโครโมโซม X เพียงโครโมโซมเดียวก็จะแสดง
ตาสีขาวออกมา
ส่วนแมลงหวี่เพศเมียถึงจะได้รับยีนด้อยจากแม่ แต่ยีนเด่นจากพ่อสามารถ
ข่มยีนด้อยจากแม่ได้นั่นเอง
เรียกการถ่ายทอดยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศว่า ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
(Sex linked gene)
ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ (Sex linked gene)
ตาบอดสี
ถูกควบคุมบนยีนด้อยบนโครโมโซม X
จึงเกิดในผู้ชายได้มากกว่าผู้หญิง
ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ (Sex linked gene)
ฮีโมฟีเลีย(Hemophelia)
โรคเลือดแข็งตัวช้า เนื่องจากขาดโปรตีนที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด
ถูกควบคุมบนยีนด้อยบนโครโมโซม X
พบ1คนใน10,000คน
ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ (Sex linked gene)
โรคภาวะพร่องเอนไซม์G-6PD
ทาให้เกิดอาการแพ้สารบางชนิด เช่น ยาแก้ปวดลดไข้ ถั่วปากอ้า
ถูกควบคุมบนยีนเด่นบนโครโมโซม X พบในชายไทยร้อยละ 12
จะทาให้เกิดอาการเม็ดเลือดแดงแตก (Heamolysis) ได้ง่าย
ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ (Sex linked gene)
ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับ Y
มักพบเกี่ยวกับการควบคุมลักษณะของเพศชาย
ถ่ายทอดจากพ่อ ไปยังลูกชาย และหลานชายตามลาดับ
ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ (Sex linked gene)
15.5.6 ยีนในโครโมโซมเดียวกัน
วอลเตอร์ซัตตัน (Walter Sutton)เป็นผู้ค้นพบ เรียกว่า ลิงค์เกจ (Linkage)
ตัวอย่างการผสมระหว่างแมลงหวี่ตัวสีน้าตาลปีกตรง(BbCc) และตัวสีดาปีกโค้ง
(bbcc) โดยตัวสีน้าตาลเป็นยีนเด่น และปีกตรงเป็นยีนเด่น
ปรากฏว่าได้ลูกรุ่น F1 เป็นตัวน้าตาลปีกตรงและตัวดาปีกโค้ง 1:1 ซึ่งไม่ตรงตาม
กฎของเมนเดล
ซึ่งถ้าตามปกติต้องได้ ตัวน้าตาลปีกตรง : ตัวน้าตาลปีกโค้ง : ตัวดาปีกตรง :
ตัวดาปีกโค้ง ในอัตรา 1:1:1:1
b b c c
b
c
b
c
BbCc bbcc
Bc BC bC bc bc
Bbcc BbCc bbCc bbcc
ตัวน้าตาลปีกโค้ง ตัวน้าตาลปีกตรง ตัวดาปีกตรง ตัวดาปีกโค้ง
ตัวน้าตาลปีกตรง : ตัวน้าตาลปีกโค้ง : ตัวดาปีกตรง : ตัวดาปีกโค้ง
ในอัตราส่วน 1:1:1:1
ยีนในโครโมโซมเดียวกัน
B
C
b
c
B b C c
Bc BC bC bc BC bc
b b c c
b
c
b
c
b
c
bc
BbCc bbcc
ตัวน้าตาลปีกตรง ตัวดำปีกโค้ง
b
c
ครอสซิงโอเวอร์ (Crossing over)
B
C
B
C
b
c
b
c
B
C
b
C
B
c
b
c
ส่วนใหญ่จะเกิดในระยะโพรเฟส ของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
และทาให้เกิดการแปรผันทางพันธุกรรม
ครอสซิงโอเวอร์ (Crossing over)
15.5.7 พันธุกรรมที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของเพศ
ตัวอย่าง คือลักษณะหัวล้าน
ให้ B แสดงลักษณะศีรษะล้าน และ b แสดงศีรษะไม่ล้าน
โดยในเพศชาย B ถือเป็นยีนเด่น แต่ในผู้หญิง b เป็นยีนเด่น
BB
ชายล้าน
หญิงล้าน
Bb
ชายล้าน
หญิงไม่ล้าน
bb
ชายไม่ล้าน
หญิงไม่ล้าน
15.5.7 พันธุกรรมที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของเพศ
คือลักษณะที่แสดงเฉพาะบางเพศเท่านั้น
ให้ H แสดงลักษณะขนหางสั้น และ h แสดงขนหางยาว ในไก่
แต่ลักษณะขนหางยาวจะถูกจากัดให้แสดงออกเฉพาะในเพศผู้เท่านั้น
HH
ผู้ หางสั้น
เมีย หาง
สั้น
Hh
ผู้ หางสั้น
เมีย หางสั้น
hh
ผู้ หางยาว
เมีย หางสั้น

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอYaovaree Nornakhum
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมYaovaree Nornakhum
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 

Viewers also liked

บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 

Viewers also liked (11)

บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 

More from Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 

More from Pinutchaya Nakchumroon (20)

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)