SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
จัดทําโดย
น.ส. สุ ทธิกานต์ อภิจิระโภคี
      ม.6/1 เลขที 39
พันธุกรรม
            พันธุกรรม คือ สิ งทีได้ รับถ่ ายทอดมาจากบรรพบุรุษ และสิ งที
ถ่ ายทอดส่ งต่ อจากรุ่นหนึง ไปยังอีกรุ่น หนึง พันธุ-กรรมจะถูกควบคุมโดย
หน่ วยควบคุมลักษณะทีเรียกว่ าจีนส์ จีนส์ จะมีอยู่เป็ นจํานวนมากใน เซลล์
ทุกเซลล์ และจัดเรียงตัวเป็ นแถวเป็ นกลุ่ม จับตัวเป็ นเส้ นยาวเรียกว่ า
โครโมโซม ลักษณะทีโคแสดงออกและถูกถ่ ายทอดไปยังรุ่นต่ อไป แบ่ งเป็ น
ประเภทคือ ลักษณะทางคุณภาพและลักษณะทาง ปริมาณ ลักษณะทาง
คุณภาพเป็ นลักษณะทีควบคุมโดยยีนส์ น้อยคู่ เช่ น ลักษณะสี ของ
ขน ลักษณะมีเขาหรือไม่ มีเขา และลักษณะผิดปกติทถ่ ายทอดทางพันธุกรรม
                                                      ี
ลักษณะทางปริมาณเป็ นลักษณะทีควบคุมโดยจีนส์ หลายคู่ ส่ วนใหญ่ เป็ น
ลักษณะทีสํ าคัญทางเศรษฐกิจ เช่ น ส่ วนประกอบในนํานม ลักษณะปรากฏ
                                                         <
ถูกกําหนดโดยอิทธิพลร่ วมระหว่ างพันธุกรรมและสภาพแวดล้ อม
ลักษณะทีถ่ ายทอดทางพันธุกรรม
            สิ งมีชีวตแต่ ละชนิดจะมีรูปร่ างและโครงสร้ างทีกําหนดไว้ เฉพาะ
                     ิ
ด้ วยองค์ ประกอบทางพันธุกรรมทีแตกต่ างกัน จึงทําให้ สิงมีชีวตมีความ
                                                               ิ
หลากหลายและทําให้ มีสิงมีชีวตต่ างๆ มีลกษณะเฉพาะหรือมีรูปร่ างเป็ นไป
                               ิ           ั
ตามเผ่ าพันธุ์ของพ่อแม่ นอกจากนั<นสิ งมีชีวตทั<งหลายยังมีคุณสมบัตในการ
                                              ิ                       ิ
ปรับตัวเพือความอยู่รอดในสภาพแวดล้ อมของตน ลักษณะต่ างๆ ทีถูก
ปรับเปลียนไปตามสภาพแวดล้ อมเพือความอยู่รอดนั<น หากเป็ นลักษณะที
ไม่ สามารถสื บทอดไปยังลูกหลานได้ ลักษณะทีถูกปรับเปลียนไปนั<น
ก็จะหมดไปในรุ่นนั<นเอง ดังนั<นลักษณะของสิ งมีชีวตทีแตกต่ างกันและ
                                                   ิ
สามารถถ่ ายทอดไปสู่ ร่ ุนต่ อไปได้ ลักษณะดังกล่ าวจัดเป็ นลักษณะทาง
พันธุกรรม
     ลักษณะทีถ่ ายทอดไปสู่ ร่นต่ อไปโดยผ่ านทางเซลล์ สืบพันธ์ ของพ่อและ
แม่ เมือเซลล์ สืบพันธ์ ของพ่อ (อสุ จิ) ผสมกับเซลล์ สืบพันธ์ ของแม่ (ไข่ )
ลักษณะต่ างๆ จากพ่อแม่ จะถูกถ่ ายทอดไปสู่ ลูก
ตัวอย่ างของการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
             - คิวห่ าง
                 <          คิวต่ อ
                              <



          - ถนัดขวา    ถนัดซ้ าย
ความแปรผันทางพันธุกรรม (genetic variation)
สิ งมีชีวตทีอยู่ในสปี ชีส์เดียวกัน ย่ อมมีลกษณะทางพันธุกรรมทีคล้ ายคลึงกัน
         ิ                                 ั
มากกว่ าสิ งมีชีวตต่ างสปี ชีส์กน หรือสิ งมีชีวตชนิดเดียวกันจะมีลกษณะ
                  ิ             ั              ิ                 ั
คล้ ายคลึงกันและมีความแตกต่ างกันน้ อยกว่ าสิ งมีชีวตต่ างชนิดกัน ความ
                                                      ิ
แตกต่ างอันเนืองจากมีลกษณะพันธุการรมแตกต่ างกัน เรียกว่ า ความแปรผัน
                           ั
ทางพันธุกรรม (genetic variation)
      1. ความผันแปรทางพันธุกรรม ทีไม่ ต่อเนือง(discontinuous variation)
เป็ นลักษณะ
ทางพันธุกรรมทีสามารถแยกความแตกต่ างได้ อย่ างชัดเจน เกิดจากอิทธิพล
ของกรรมพันธุ์เพียงอย่ างเดียว เช่ น
 มีลกยิม-ไม่ มลกยิม มีตงหู-ไม่ มีตงหู ห่ อลินได้ -ห่ อลินไม่ ได้
     ั <        ีั <         ิ         ิ         <       <
2.ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่ อเนือง(continuous
variation) เป็ นลักษณะทาง
พันธุกรรมทีไม่ สามารถแยกความแตกต่ างได้ อย่ างเด่ นชัด เช่ นความสู ง
นําหนัก โครงร่ าง สี ผว ซึงเป็ นเกิดจาก
   <                  ิ
อิทธิพลของกรรมพันธุ์และสิ งแวดล้ อมร่ วมกัน เช่ นความสู ง ถ้ าได้ รับ
สารอาหารถูกต้ องตามหลักโภชนาการ และมีการออกกําลังกายก็จะทําให้ มี
ร่ างกายสู งได้




                   ลักษณะความแปรผันต่ อเนืองของผลไม้ ทเก็บ
                                                      ี
                       จากต้ นเดียวกันแต่ คนละกิง
โครโมโซม
  โดยปกติแล้ วสิ งมีชีวตประกอบด้ วยหน่ วยพืนฐานทีสํ าคัญ ก็คอ เซลล์ เซลล์ มี
                         ิ                    <             ื
ส่ วนประกอบทีสํ าคัญได้ แก่ 1. เยือหุ้มเซลล์ 2. ไซโตพลาสซึม 3.นิวเคลียส ภายใน
นิวเคลียสจะมีองค์ ประกอบทีสํ าคัญชนิดหนึงทีทําหน้ าทีควบคุมลักษณะของ
สิ งมีชีวต เรียกว่ า โครโมโซม โครโมโซมมีองค์ ประกอบเป็ นสารเคมีประเภท
         ิ
โปรตีน และ กรดนิวคลีอก ขณะแบ่ งเซลล์ โครโมโซมจะมีรูปร่ างเปลียน
                           ิ
แปลงไป มีชือเรียกตามรู ปร่ างลักษณะทีเปลียนแปลงไปของ โครโมโซม เช่ น
เมือใดทีโครโมโซมคลายเกลียวออกเป็ นเพียงเส้ นยาวๆ บาง จะเรียกชือว่ า “โครมา
ทิน” และเรียกโครมาทินทีหดสั< นเห็นเป็ นแท่ ง
หนา ๆ และชัดเจนขึนว่ า โครโมโซม”
                       <
ในระยะทีกําลังแบ่ งเซลล์ บางขั<นตอนจะเห็น โครโมโซมแยกออก
เป็ น 2 ข้ างตามแนวยาว แต่ ยงคงมีส่วนทีเชือมติดกันอยู่ เรียก โครโมโซมแต่
                               ั
ละข้ างว่ า โครมาทิด โครโมโซมของสิ งมีชีวตแต่ ละชนิดทีปกติจะมีจํานวน
                                          ิ
คงทีเสมอ และจะมีจํานวนเป็ นเลขคู่ เช่ น โครโมโซมของคนมี 46 แท่ ง
หรือ 23 คู่ ซึงจะมี 22 คู่ทเหมือนกันในเพศหญิงและเพศชาย เราจะเรียกคู่
                             ี
โครโมโซมนีว่าโครโมโซมร่ างกาย(autosome) ส่ วนโครโมโซมทีเหลืออีก 1
              <
คู่ จากทั<งหมด 23 คู่ จะเป็ นโครโมโซมทีทําหน้ าทีกําหนดเพศ เรียกว่ า
โครโมโซมเพศ (sex chromosome)ในผู้ชาย โครโมโซมเพศ 1 คู่น<ัน
มีรูปร่ างลักษณะและขนาดต่ างกัน คือ X และ Y ให้ สัญลักษณ์ XY ในผู้หญิง
โครโมโซมเพศ 1 คู่ มีรูปร่ างลักษณะและขนาดเท่ ากัน คือ X และ X ให้
สั ญลักษณ์ XX
ดังทีกล่ าวมาแล้ ว คนปกติจะมีโครโมโซมอยู่ 46 แท่ งในเซลล์ ทุกเซลล์ จึงจะ
ทําให้ ร่างกายทําหน้ าทีได้ ปกติ หากมีการเกินมาหรือขาดหายไปของโครโมโซม
หรือส่ วนใดส่ วนหนึงของโครโมโซม จะมีผลให้ ร่างกายเกิดความผิดปกติ และ
เกิดความพิการได้ ยกตัวอย่ างเช่ น ในกรณีทมีโครโมโซมที 21 เกินมาหนึงแท่ ง
                                            ี
จะทําให้ เกิดกลุ่มอาการผิด ปกติ ทีเรียกว่ ากลุ่มอาการดาวน์ (Down Syndrome)
ซึงผู้ทมีลกษณะเช่ นนีจะมีพฒนาการช้ า และอาจมีความผิดปกติของ อวัยวะ
        ี ั             <     ั
อืนๆร่ วมด้ วยเช่ น หัวใจผิดปกติเป็ นต้ น
หน่ วยพันธุกรรมหรือยีน
          หน่ วยพันธุกรรมหรือยีนมีสมบัตในการ ควบคุมลักษณะ
                                                ิ
กรรมพันธุ์ต่างๆในร่ างกายของสิ งมีชีวต และมีสมบัตถ่ายทอด จากพ่อแม่
                                           ิ               ิ
ไปสู่ ลูกได้ อย่ างไม่ มีทสิ<นสุ ด ตราบใดทีสิ งมีชีวตนั<นยังคงมีสมบัตการ
                          ี                         ิ                ิ
สื บพันธุ์ทสมบูรณ์ แบบต่ อไปได้ อก นักบวชชาวออสเตรียทีมีชือว่ า เกรกอร์
             ี                        ี
เมนเดล (Gregor Mendel) ได้ รับการยกย่ องว่ าเป็ นบิดาแห่ งวิชาพันธุศาสตร์
(genetics) เพราะได้ ค้นพบกฎการถ่ ายทอดพันธุกรรม ๒ ประการ จากผล
ของการทดลองเพือศึกษาการถ่ ายทอดพันธุกรรมในถัวลันเตา ในบริเวณ
แปลงทดลองของโบสถ์ ทีเมืองบรึนน์ (Brnn) ประเทศออสเตรีย และได้
รายงานผลการวิจัยดังกล่ าวใน พ.ศ. ๒๔๐๘ นับได้ ว่าเป็ นการวิจัยทาง
ชีววิทยาทียิงใหญ่ ทสุ ดอย่ างหนึงในขณะนั<น เมนเดลได้ แยกแยะไว้ ชัดเจน
                        ี
ระหว่ างลักษณะกรรมพันธุ์ทเขาใช้ คาว่ า “merkmal” กับแนวความคิด
                                   ี     ํ
เกียวกับหน่ วยพันธุกรรมทีเขาใช้ คาว่ า “elemente”
                                 ํ
โดยเมนเดล คิดว่ าหน่ วยพันธุกรรมนีคงจะ อยู่ภายในเซลล์ และมีส่วนควบคุม
                                      <
ลักษณะกรรมพันธุ์ดงกล่ าวด้ วย โดยหน่ วยพันธุกรรมดังกล่ าวนีปัจจุบน
                      ั                                           <   ั
เรียกว่ า ยีน เมนเดลตระหนักดีว่า หน่ วยพันธุกรรมดังกล่ าวนั<นจะอยู่เป็ นคู่ๆ
มากมายหลายคู่ด้วยกัน ซึงต่ างก็ทาหน้ าทีควบคุมลักษณะกรรมพันธุ์มากมาย
                                    ํ
หลายลักษณะ ดังทีได้ สังเกตเห็นในถัวลันเตาทีเขาใช้ ทดลอง ยิงไปกว่ านั<น เมน
เดลยังคาดคิดต่ อไปอีกว่ า หน่ วยพันธุกรรมในแต่ ละคู่น<ันคงจะควบคุมลักษณะ
กรรมพันธุ์ในแต่ ละอย่ างทีมีความแตกต่ างตรงข้ ามกัน เช่ น คู่ของ หน่ วยA กับ
a ควบคุมลักษณะต้ นสู งกับต้ นเตียตามลําดับหรือคู่ของหน่ วย B กับ bควบคุม
                                  <
ลักษณะเมล็ดสี เหลืองกับเมล็ดสี เขียวลักษณะทางกรรมพันธุ์ทแสดงออกทุกรุ่น
                                                              ี
เช่ น ต้ นสู งและเมล็ดสี เหลือง ควบคุมโดยหน่ วยพันธุกรรมทีมีลกษณะเด่ น
                                                                ั
(domi-nant) ส่ วนลักษณะตรงกันข้ าม
เช่ น ต้ นเตียและเมล็ดสี เขียว ซึงไม่ แสดงออกทุกรุ่น ควบคุมโดยหน่ วย
             <
พันธุกรรมทีมีลกษณะด้ อย (recessive) ซึงถูกข่ มโดยหน่ วยพันธุกรรมทีมี
                  ั
ลักษณะเด่ นเมือมันมาเข้ าคู่อยู่ด้วยกัน เช่ น คู่ Aa หรือคู่ Bb ถึงแม้ ว่าเมนเดล
ไม่ ได้ สังเกตเห็นหน่ วยพันธุกรรมทีอยู่กนเป็ นคู่ๆภายในเซลล์ กตาม แต่ เขาก็
                                          ั                        ็
เข้ าใจดีว่า หน่ วยพันธุกรรมทีเป็ นคู่กนในลูกผสมนั<นครึงหนึงได้ มาจากพันธุ์
                                        ั
พ่อ โดยผ่ านทางละอองเกสรตัวผู้ ส่ วนอีกครึงหนึงได้ จากพันธุ์แม่ โดย
ผ่ าน ทางไข่ ทได้ รับการปฏิสนธิจากละอองเกสรตัวผู้ เมนเดลได้ สรุป
               ี
แนวความคิดเกียวกับหลักเกณฑ์ การถ่ ายทอดหน่ วยพันธุกรรมไว้ ๒
ประการ คือ (๑) การแยกตัวของหน่ วยพันธุกรรม (๒) การรวมกลุ่มของ
หน่ วย พันธุกรรมอย่ างอิสระ แต่ แนวความคิดทีลึกซึ<งของเมนเดลนีก้าวหน้ า   <
ลํายุคเกินกว่ าที นักวิชาการร่ วมสมัยจะเข้ าใจได้
   <
สารพันธุกรรม
สิ งมีชีวตถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปยังลูกหลานโดยอาศัยสาร
         ิ
พันธุกรรมคือ กรดนิวคลีอก ในธรรมชาติมีกรดนิวคลีอกอยู่เพียง ๒ ชนิด
                           ิ                              ิ
ได้ แก่ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอกหรือ DNA กับกรดไรโบนิวคลีอกหรือ
                                ิ                                 ิ
RNA กรดนิวคลีอกจัดเป็ นสารพวกแมโครโมเลกุล เป็ นโพลีเมอร์ ของนิวคลี
                    ิ
โอไทด์ เรียกว่ า polynucleotide เพือให้ เข้ าใจคุณสมบัตทางเคมีของกรด
                                                        ิ
นิวคลีอก เราควรทําความเข้ าใจคุณสมบัตทางเคมีของนิวคลีโอไทด์ ให้ ได้
           ิ                                 ิ
เสี ยก่ อน ดังนั<นในบทความนีจึงเริมแนะนําให้ รู้ จักกับนิวคลีโอไทด์ ก่อนทีจะ
                              <
เรียนเรืองกรดนิวคลีอกต่ อไป
                       ิ
ดี เอน เอ (Deoxyribonucleic acid DNA)
ดี เอน เอ เป็ นสารชีวโมเลกุลทีใหญ่ ทสุ ด ในคนพบ ดี เอน เอ ในนิวเคลียส
                                       ี
ของเซลล์ และในไมโตคอนเดรีย ดี เอน เอ มีขนาดและรู ปร่ างทีแตกต่ างกัน
ตั<งแต่ มีรูปร่ างเป็ นวงกลม เช่ น พลาสมิดซึงเป็ น ดี เอน เอ ขนาดเล็กในบักเต
รีจนถึง ดี เอน เอ ขนาดใหญ่ พนม้ วนกับแกนโปรตีนอย่ างซับซ้ อนจน
                                  ั
มองเห็นได้ ด้วยกล้ องจุลทรรศน์ เช่ น โครโมโซมในเซลล์ มนุษย์ โครงสร้ าง
ของ ดี เอน เอ การศึกษาโครงสร้ างของ ดี เอน เอ มีรากฐานมาจากการศึกษา
ของนักวิทยาศาสตร์ หลายกลุ่ม เริมตั<งแต่ งานของ Chargaff แห่ ง
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ซึงได้ ศึกษาองค์ ประกอบเบสของ ดี เอน เอ จากแหล่ ง
ต่ างๆ แล้ วสรุปเป็ นกฎของ Chargaff ดังนี<
1.องค์ประกอบเบสของ DNA จากสิ' งมีชีวิตต่างชนิดจะแตกต่างกัน
2.องค์ประกอบเบสของ DNA จากสิ' งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะ
                ่
เหมือนกัน แม้วาจะนํามาจากเนื5อเยือต่างกันก็ตาม
                                 '
3.องค์ประกอบเบสของ DNA ในสิ' งมีชีวิตชนิดหนึ'งมีความคงที'
ไม่แปรผันตามอายุ อาหาร หรื อสิ' งแวดล้อม
                  ่
4.ใน DNA ไม่วาจะนํามาจากแหล่งใดก็ตาม จะพบ A=T , C=G
หรื อ purine = pyrimidine เสมอ
นักวิทยาศาสตร์ อกกลุ่ม ได้ แก่ Flanklin และ Wilkins แห่ งมหาวิทยาลัยลอนดอน ได้
                 ี
ศึกษาโครงสร้ างของโมเลกุลของ ดี เอน เอ โดยใช้ ภาพถ่ ายการหักเหรังสี เอกซ์ ทฉายผ่ าน
                                                                             ี
โมเลกุล (X-rays diffraction) ผลงานจากทั<งสองแหล่ งนีทาให้ Watson และ Crick
                                                      < ํ
ค้ นพบลักษณะโครงสร้ างทุตยภูมิของ ดี เอน เอ ว่ ามีลกษณะดังนี< ดี เอน เอ มีรูปร่ างเป็ น
                            ิ                      ั
แท่ งเกลียวเวียนขวา (alpha-helix) ประกอบขึนจากโพลีดออกซีไรโบนิวคลีโอไทด์ สอง
                                            <           ี
สาย เชือมกันด้ วยพันธะไฮโดรเจนทีเกิดระหว่ างเบสไนโตรเจนของแต่ ละสาย โพลีดี
ออกซีไรโบนิคลีโอไทด์ ท<งสองสายนี< จะทอดตัวกลับหัวกลับหางกัน (antiparalle) สาย
                        ั
หนึงทอดตัวในทิศ 5′ - 3′ อีกสายหนึงจะทอดตัวในทิศ 3′ -5′ ในการเข้ าคู่กนนีท<งสอง
                                                                        ั < ั
สายจะหันส่ วนทีเป็ นนําตาลและฟอสเฟตออกข้ างนอกแล้ วฝังส่ วนทีเป็ นเบสไว้ ภายใน
                      <
แกนกลางโมเลกุล
ทําให้ ขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางของแท่ งเกลียว ดี เอน เอมีขนาด 20 Å ๑ รอบ
เกลียวมีขนาด 34 Å ประกอบขึนจากจํานวนคู่เบส ๑๐ คู่ ดังนั<นแต่ ละคู่เบส
                                <
จะอยู่ห่างกัน 3.4 Å และการบิดรอบเกลียวทําให้ โมเลกุลของดี เอน เอ เกิด
ร่ องเกลียวสองขนาดขนาดใหญ่ เรียกว่ า major groove ขนาดเล็กเรียกว่ า
 minor groove การจับกันด้ วยพันธะไฮโดรเจนของคู่เบสนั<น เป็ น
การเข้ าคู่ทจําเพาะ คือ C จะจับกับ G ด้ วยพันธะไฮโดรเจน ๓ พันธะ และ A
            ี
จับกับ T ด้ วยพันธะไฮโดรเจน ๒ พันธะ รู ปการจับคู่เบสการจับคู่เบสอย่ าง
จําเพาะมีประโยชน์ คอ เมือเราทราบการเรียงลําดับเบสของโพลีดออกซีไรโบ
                       ื                                        ี
นิวคลีโอไทด์ สายหนึงแล้ ว ก็จะรู้ การเรียงลําดับเบสของโพลีดออกซีไรโบนิ
                                                             ี
วคลีโอไทด์ ในสายทีเข้ าคู่กนด้ วย เรียกลําดับนิวคลีโอไทด์ ทสามารถเข้ าคู่กน
                            ั                              ี              ั
ได้ นีว่า complementary base sequence
      <
คุณสมบัตของ ดี เอน เอ
        ิ
1.ความเป็ นกรด ในสิ งแวดล้ อมปกติของเซลล์ ดี เอน เอ มีประจุเป็ นลบ
แสดงถึงคุณสมบัตการเป็ นกรด ดี เอน เอ จึงสามารถจับกับไอออนหรือสาร
                       ิ
อืนทีมีประจุบวกได้
2. การเสี ยสภาพของ ดี เอน เอ คําว่ าการเสี ยสภาพ (denaturation) ของ ดี
เอน เอ หมายถึงการทําให้ ดี เอน เอ ซึงเคยเป็ นสายคู่แยกตัวออกมาเป็ นสาย
เดียว สิ งทีทําให้ เกิดการเสี ยสภาพธรรมชาติของ ดี เอน เอ ได้ แก่ ความร้ อน
กรด ด่ าง รังสี เอกซ์ ยูเรีย ดี เอน เอ ทีเสี ยสภาพธรรมชาติไปแล้ ว ถ้ าปรับ
สิ งแวดล้ อมใหม่ ให้ เหมาะสม มันสามารถคืนสภาพธรรมชาติได้ ใหม่
ตัวอย่ างเช่ น ในเทคนิค hybridization เขาจะทําให้ ดี เอน เอ เสี ยสภาพ
ธรรมชาติด้วยความร้ อนก่ อน แล้ วให้ คนสภาพธรรมชาติใหม่ ด้วยการค่ อยๆ
                                           ื
ลดอุณหภูมิลง
3. การดูดกลืนแสง ด้ วยคุณสมบัตของเบส ทีสามารถดูดกลืนแสงได้ มาก
                                    ิ
ทีสุ ดที 260 nm ดี เอน เอ ก็ดูดกลืนแสงทีความยาวคลืนนีได้ ดทสุ ดเช่ นกัน
                                                         < ี ี
คุณสมบัตนีทาให้ เราสามารถวัดหาปริมาณ ดี เอน เอ ด้ วยการวัดการดูดกลืน
           ิ < ํ
แสง แต่ สิงทีต้ องคํานึงในทีนีคอ ดี เอน เอ ในปริมาณทีเท่ ากัน ถ้ าเป็ นสาย
                               <ื
เดียว (จากการทําให้ เสี ยสภาพธรรมชาติ) จะดูดกลืนแสงได้ มากกว่ า ดี เอน
เอ สายคู่ คุณสมบัตนีเ< รียกว่ า ไฮเพอร์ โครมิซึม (hyperchromism)
                     ิ
อาร์ เอน เอ (Ribonucleic acid RNA)
    อาร์ เอน เอ เป็ นโพลีไรโบนิวคลีโอไทด์ ทมีนิวคลีโอไทด์ มาเชือมกันด้ วย
                                            ี
พันธะฟอสโฟไดเอสเธอร์ ในทิศ 5′ - 3′ เหมือน ดี เอน เอ สิ งมีชีวตบางชนิด
                                                                  ิ
ใช้ อาร์ เอน เอ เป็ นสารพันธุกรรมเช่ นไวรัสเอดส์ แต่ ในสิ งมีชีวตชั<นสู งเช่ น
                                                                ิ
มนุษย์ อาร์ เอน เอ ทําหน้ าทีหลายอย่ างแบ่ งตามชนิดได้ ตามนี< Ribosomal
RNA (rRNA)rRNA เป็ น อาร์ เอน เอ ทีเป็ นองค์ ประกอบของไรโบโซม ใน
สิ งมีชีวตชั<นสู งพบ rRNA อยู่ ๔ ขนาดคือ 28S, 18S, 5.8S และ 5S rRNA ทํา
         ิ
หน้ าทีในการสั งเคราะห์ โปรตีน
Messenger RNA (mRNA)
mRNA เป็ นตัวถ่ ายทอดข้ อมูลทางพันธุกรรม จาก ดี เอน เอ ออกมาเป็ น
โปรตีน เมือเซลล์ ต้องการสร้ างโปรตีนขึนมาใช้ งาน เซลล์ จะคัดลอก gene
                                       <
สํ าหรับสร้ างโปรตีนนั<นออกมาเป็ น mRNA ดังนั<น mRNA จึงเกิดขึนใน
                                                               <
นิวเคลียส เมือมี mRNA แล้ ว จะมีกระบวนการขนส่ ง mRNA ออกจาก
นิวเคลียสสู่ ไซโตพลาสม ซึงเป็ นทีสํ าหรับสั งเคราะห์ โปรตีน
transfer RNA (tRNA)
tRNA ตัวมันจะมีกรดอะมิโนมาเกาะอยู่ ทําหน้ าทีนํากรดอะมิโนมาเรียงร้ อย
ต่ อกันเป็ นโปรตีน ชนิดของกรดอะมิโนทีจะนํามาต่ อนีถูกกําหนดโดยรหัส
                                                  <
พันธุกรรมบน mRNA ส่ วน tRNA มีตวช่ วยอ่ านรหัสเรียกว่ า anticodon
                                   ั

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมฟลุ๊ค ลำพูน
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1kasidid20309
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศMaikeed Tawun
 
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมคุง นู๋
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมJanistar'xi Popae
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมkrapong
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมJiraporn
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 

What's hot (20)

Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
 
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรม
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรม
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 

Viewers also liked

สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3juejan boonsom
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3juejan boonsom
 
สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3juejan boonsom
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมwijitcom
 
Бизнес-завтрак от CPA Network. Эффективные технологии в бизнесе //Артем Кухар...
Бизнес-завтрак от CPA Network. Эффективные технологии в бизнесе //Артем Кухар...Бизнес-завтрак от CPA Network. Эффективные технологии в бизнесе //Артем Кухар...
Бизнес-завтрак от CPA Network. Эффективные технологии в бизнесе //Артем Кухар...cpanetwork
 
1030 presentation
1030 presentation1030 presentation
1030 presentationyewfuong
 
РИФ+КИБ 2012 // CPA. Бизнес // CPA Network Russia
РИФ+КИБ 2012 // CPA. Бизнес // CPA Network RussiaРИФ+КИБ 2012 // CPA. Бизнес // CPA Network Russia
РИФ+КИБ 2012 // CPA. Бизнес // CPA Network Russiacpanetwork
 
Удержание пользователей. Докладчик Артем Кухаренко, специально для eTarget
Удержание пользователей. Докладчик Артем Кухаренко, специально для eTargetУдержание пользователей. Докладчик Артем Кухаренко, специально для eTarget
Удержание пользователей. Докладчик Артем Кухаренко, специально для eTargetcpanetwork
 
Екатерина Шинкевич (CPA Network) - Есть ли жизнь после клика?
Екатерина Шинкевич (CPA Network) - Есть ли жизнь после клика?Екатерина Шинкевич (CPA Network) - Есть ли жизнь после клика?
Екатерина Шинкевич (CPA Network) - Есть ли жизнь после клика?cpanetwork
 
Linking Millions of People Policies and Places
Linking Millions of People Policies and PlacesLinking Millions of People Policies and Places
Linking Millions of People Policies and PlacesHugh Saalmans
 
Codigo de procedimiento civil
Codigo de procedimiento civil Codigo de procedimiento civil
Codigo de procedimiento civil RICARDO GUEVARA
 
СПИК 2012// СРА Маркет // CPA Network Russia
СПИК 2012// СРА Маркет // CPA Network RussiaСПИК 2012// СРА Маркет // CPA Network Russia
СПИК 2012// СРА Маркет // CPA Network Russiacpanetwork
 
CPANetwork: объединение каналов коммуникации — Email & Social media.
CPANetwork: объединение каналов коммуникации — Email & Social media.CPANetwork: объединение каналов коммуникации — Email & Social media.
CPANetwork: объединение каналов коммуникации — Email & Social media.cpanetwork
 
Nmt quantum and attack 2011 exp
Nmt   quantum and attack 2011 expNmt   quantum and attack 2011 exp
Nmt quantum and attack 2011 expsandraoddy2
 
프레젠테이션3
프레젠테이션3프레젠테이션3
프레젠테이션3Jeongin
 

Viewers also liked (20)

Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
 
54101 engineer 3
54101 engineer 354101 engineer 3
54101 engineer 3
 
สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3
 
Plan(7)
Plan(7)Plan(7)
Plan(7)
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Бизнес-завтрак от CPA Network. Эффективные технологии в бизнесе //Артем Кухар...
Бизнес-завтрак от CPA Network. Эффективные технологии в бизнесе //Артем Кухар...Бизнес-завтрак от CPA Network. Эффективные технологии в бизнесе //Артем Кухар...
Бизнес-завтрак от CPA Network. Эффективные технологии в бизнесе //Артем Кухар...
 
Estatica cap 1 h12
Estatica cap 1 h12Estatica cap 1 h12
Estatica cap 1 h12
 
1030 presentation
1030 presentation1030 presentation
1030 presentation
 
РИФ+КИБ 2012 // CPA. Бизнес // CPA Network Russia
РИФ+КИБ 2012 // CPA. Бизнес // CPA Network RussiaРИФ+КИБ 2012 // CPA. Бизнес // CPA Network Russia
РИФ+КИБ 2012 // CPA. Бизнес // CPA Network Russia
 
Удержание пользователей. Докладчик Артем Кухаренко, специально для eTarget
Удержание пользователей. Докладчик Артем Кухаренко, специально для eTargetУдержание пользователей. Докладчик Артем Кухаренко, специально для eTarget
Удержание пользователей. Докладчик Артем Кухаренко, специально для eTarget
 
Екатерина Шинкевич (CPA Network) - Есть ли жизнь после клика?
Екатерина Шинкевич (CPA Network) - Есть ли жизнь после клика?Екатерина Шинкевич (CPA Network) - Есть ли жизнь после клика?
Екатерина Шинкевич (CPA Network) - Есть ли жизнь после клика?
 
Linking Millions of People Policies and Places
Linking Millions of People Policies and PlacesLinking Millions of People Policies and Places
Linking Millions of People Policies and Places
 
Codigo de procedimiento civil
Codigo de procedimiento civil Codigo de procedimiento civil
Codigo de procedimiento civil
 
СПИК 2012// СРА Маркет // CPA Network Russia
СПИК 2012// СРА Маркет // CPA Network RussiaСПИК 2012// СРА Маркет // CPA Network Russia
СПИК 2012// СРА Маркет // CPA Network Russia
 
Chap8
Chap8Chap8
Chap8
 
CPANetwork: объединение каналов коммуникации — Email & Social media.
CPANetwork: объединение каналов коммуникации — Email & Social media.CPANetwork: объединение каналов коммуникации — Email & Social media.
CPANetwork: объединение каналов коммуникации — Email & Social media.
 
Nmt quantum and attack 2011 exp
Nmt   quantum and attack 2011 expNmt   quantum and attack 2011 exp
Nmt quantum and attack 2011 exp
 
프레젠테이션3
프레젠테이션3프레젠테이션3
프레젠테이션3
 

Similar to พันธุกรรม2

พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์kanitnun
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptrathachokharaluya
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 

Similar to พันธุกรรม2 (20)

Aaa
AaaAaa
Aaa
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
1
11
1
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
Bbb
BbbBbb
Bbb
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
1
11
1
 
เอ๊ะ
เอ๊ะเอ๊ะ
เอ๊ะ
 

พันธุกรรม2

  • 1.
  • 2. จัดทําโดย น.ส. สุ ทธิกานต์ อภิจิระโภคี ม.6/1 เลขที 39
  • 3. พันธุกรรม พันธุกรรม คือ สิ งทีได้ รับถ่ ายทอดมาจากบรรพบุรุษ และสิ งที ถ่ ายทอดส่ งต่ อจากรุ่นหนึง ไปยังอีกรุ่น หนึง พันธุ-กรรมจะถูกควบคุมโดย หน่ วยควบคุมลักษณะทีเรียกว่ าจีนส์ จีนส์ จะมีอยู่เป็ นจํานวนมากใน เซลล์ ทุกเซลล์ และจัดเรียงตัวเป็ นแถวเป็ นกลุ่ม จับตัวเป็ นเส้ นยาวเรียกว่ า โครโมโซม ลักษณะทีโคแสดงออกและถูกถ่ ายทอดไปยังรุ่นต่ อไป แบ่ งเป็ น ประเภทคือ ลักษณะทางคุณภาพและลักษณะทาง ปริมาณ ลักษณะทาง คุณภาพเป็ นลักษณะทีควบคุมโดยยีนส์ น้อยคู่ เช่ น ลักษณะสี ของ ขน ลักษณะมีเขาหรือไม่ มีเขา และลักษณะผิดปกติทถ่ ายทอดทางพันธุกรรม ี ลักษณะทางปริมาณเป็ นลักษณะทีควบคุมโดยจีนส์ หลายคู่ ส่ วนใหญ่ เป็ น ลักษณะทีสํ าคัญทางเศรษฐกิจ เช่ น ส่ วนประกอบในนํานม ลักษณะปรากฏ < ถูกกําหนดโดยอิทธิพลร่ วมระหว่ างพันธุกรรมและสภาพแวดล้ อม
  • 4. ลักษณะทีถ่ ายทอดทางพันธุกรรม สิ งมีชีวตแต่ ละชนิดจะมีรูปร่ างและโครงสร้ างทีกําหนดไว้ เฉพาะ ิ ด้ วยองค์ ประกอบทางพันธุกรรมทีแตกต่ างกัน จึงทําให้ สิงมีชีวตมีความ ิ หลากหลายและทําให้ มีสิงมีชีวตต่ างๆ มีลกษณะเฉพาะหรือมีรูปร่ างเป็ นไป ิ ั ตามเผ่ าพันธุ์ของพ่อแม่ นอกจากนั<นสิ งมีชีวตทั<งหลายยังมีคุณสมบัตในการ ิ ิ ปรับตัวเพือความอยู่รอดในสภาพแวดล้ อมของตน ลักษณะต่ างๆ ทีถูก ปรับเปลียนไปตามสภาพแวดล้ อมเพือความอยู่รอดนั<น หากเป็ นลักษณะที ไม่ สามารถสื บทอดไปยังลูกหลานได้ ลักษณะทีถูกปรับเปลียนไปนั<น ก็จะหมดไปในรุ่นนั<นเอง ดังนั<นลักษณะของสิ งมีชีวตทีแตกต่ างกันและ ิ สามารถถ่ ายทอดไปสู่ ร่ ุนต่ อไปได้ ลักษณะดังกล่ าวจัดเป็ นลักษณะทาง พันธุกรรม ลักษณะทีถ่ ายทอดไปสู่ ร่นต่ อไปโดยผ่ านทางเซลล์ สืบพันธ์ ของพ่อและ แม่ เมือเซลล์ สืบพันธ์ ของพ่อ (อสุ จิ) ผสมกับเซลล์ สืบพันธ์ ของแม่ (ไข่ ) ลักษณะต่ างๆ จากพ่อแม่ จะถูกถ่ ายทอดไปสู่ ลูก
  • 5. ตัวอย่ างของการถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม - คิวห่ าง < คิวต่ อ < - ถนัดขวา ถนัดซ้ าย
  • 6. ความแปรผันทางพันธุกรรม (genetic variation) สิ งมีชีวตทีอยู่ในสปี ชีส์เดียวกัน ย่ อมมีลกษณะทางพันธุกรรมทีคล้ ายคลึงกัน ิ ั มากกว่ าสิ งมีชีวตต่ างสปี ชีส์กน หรือสิ งมีชีวตชนิดเดียวกันจะมีลกษณะ ิ ั ิ ั คล้ ายคลึงกันและมีความแตกต่ างกันน้ อยกว่ าสิ งมีชีวตต่ างชนิดกัน ความ ิ แตกต่ างอันเนืองจากมีลกษณะพันธุการรมแตกต่ างกัน เรียกว่ า ความแปรผัน ั ทางพันธุกรรม (genetic variation) 1. ความผันแปรทางพันธุกรรม ทีไม่ ต่อเนือง(discontinuous variation) เป็ นลักษณะ ทางพันธุกรรมทีสามารถแยกความแตกต่ างได้ อย่ างชัดเจน เกิดจากอิทธิพล ของกรรมพันธุ์เพียงอย่ างเดียว เช่ น มีลกยิม-ไม่ มลกยิม มีตงหู-ไม่ มีตงหู ห่ อลินได้ -ห่ อลินไม่ ได้ ั < ีั < ิ ิ < <
  • 7.
  • 8. 2.ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่ อเนือง(continuous variation) เป็ นลักษณะทาง พันธุกรรมทีไม่ สามารถแยกความแตกต่ างได้ อย่ างเด่ นชัด เช่ นความสู ง นําหนัก โครงร่ าง สี ผว ซึงเป็ นเกิดจาก < ิ อิทธิพลของกรรมพันธุ์และสิ งแวดล้ อมร่ วมกัน เช่ นความสู ง ถ้ าได้ รับ สารอาหารถูกต้ องตามหลักโภชนาการ และมีการออกกําลังกายก็จะทําให้ มี ร่ างกายสู งได้ ลักษณะความแปรผันต่ อเนืองของผลไม้ ทเก็บ ี จากต้ นเดียวกันแต่ คนละกิง
  • 9. โครโมโซม โดยปกติแล้ วสิ งมีชีวตประกอบด้ วยหน่ วยพืนฐานทีสํ าคัญ ก็คอ เซลล์ เซลล์ มี ิ < ื ส่ วนประกอบทีสํ าคัญได้ แก่ 1. เยือหุ้มเซลล์ 2. ไซโตพลาสซึม 3.นิวเคลียส ภายใน นิวเคลียสจะมีองค์ ประกอบทีสํ าคัญชนิดหนึงทีทําหน้ าทีควบคุมลักษณะของ สิ งมีชีวต เรียกว่ า โครโมโซม โครโมโซมมีองค์ ประกอบเป็ นสารเคมีประเภท ิ โปรตีน และ กรดนิวคลีอก ขณะแบ่ งเซลล์ โครโมโซมจะมีรูปร่ างเปลียน ิ แปลงไป มีชือเรียกตามรู ปร่ างลักษณะทีเปลียนแปลงไปของ โครโมโซม เช่ น เมือใดทีโครโมโซมคลายเกลียวออกเป็ นเพียงเส้ นยาวๆ บาง จะเรียกชือว่ า “โครมา ทิน” และเรียกโครมาทินทีหดสั< นเห็นเป็ นแท่ ง หนา ๆ และชัดเจนขึนว่ า โครโมโซม” <
  • 10. ในระยะทีกําลังแบ่ งเซลล์ บางขั<นตอนจะเห็น โครโมโซมแยกออก เป็ น 2 ข้ างตามแนวยาว แต่ ยงคงมีส่วนทีเชือมติดกันอยู่ เรียก โครโมโซมแต่ ั ละข้ างว่ า โครมาทิด โครโมโซมของสิ งมีชีวตแต่ ละชนิดทีปกติจะมีจํานวน ิ คงทีเสมอ และจะมีจํานวนเป็ นเลขคู่ เช่ น โครโมโซมของคนมี 46 แท่ ง หรือ 23 คู่ ซึงจะมี 22 คู่ทเหมือนกันในเพศหญิงและเพศชาย เราจะเรียกคู่ ี โครโมโซมนีว่าโครโมโซมร่ างกาย(autosome) ส่ วนโครโมโซมทีเหลืออีก 1 < คู่ จากทั<งหมด 23 คู่ จะเป็ นโครโมโซมทีทําหน้ าทีกําหนดเพศ เรียกว่ า โครโมโซมเพศ (sex chromosome)ในผู้ชาย โครโมโซมเพศ 1 คู่น<ัน มีรูปร่ างลักษณะและขนาดต่ างกัน คือ X และ Y ให้ สัญลักษณ์ XY ในผู้หญิง โครโมโซมเพศ 1 คู่ มีรูปร่ างลักษณะและขนาดเท่ ากัน คือ X และ X ให้ สั ญลักษณ์ XX
  • 11.
  • 12. ดังทีกล่ าวมาแล้ ว คนปกติจะมีโครโมโซมอยู่ 46 แท่ งในเซลล์ ทุกเซลล์ จึงจะ ทําให้ ร่างกายทําหน้ าทีได้ ปกติ หากมีการเกินมาหรือขาดหายไปของโครโมโซม หรือส่ วนใดส่ วนหนึงของโครโมโซม จะมีผลให้ ร่างกายเกิดความผิดปกติ และ เกิดความพิการได้ ยกตัวอย่ างเช่ น ในกรณีทมีโครโมโซมที 21 เกินมาหนึงแท่ ง ี จะทําให้ เกิดกลุ่มอาการผิด ปกติ ทีเรียกว่ ากลุ่มอาการดาวน์ (Down Syndrome) ซึงผู้ทมีลกษณะเช่ นนีจะมีพฒนาการช้ า และอาจมีความผิดปกติของ อวัยวะ ี ั < ั อืนๆร่ วมด้ วยเช่ น หัวใจผิดปกติเป็ นต้ น
  • 13. หน่ วยพันธุกรรมหรือยีน หน่ วยพันธุกรรมหรือยีนมีสมบัตในการ ควบคุมลักษณะ ิ กรรมพันธุ์ต่างๆในร่ างกายของสิ งมีชีวต และมีสมบัตถ่ายทอด จากพ่อแม่ ิ ิ ไปสู่ ลูกได้ อย่ างไม่ มีทสิ<นสุ ด ตราบใดทีสิ งมีชีวตนั<นยังคงมีสมบัตการ ี ิ ิ สื บพันธุ์ทสมบูรณ์ แบบต่ อไปได้ อก นักบวชชาวออสเตรียทีมีชือว่ า เกรกอร์ ี ี เมนเดล (Gregor Mendel) ได้ รับการยกย่ องว่ าเป็ นบิดาแห่ งวิชาพันธุศาสตร์ (genetics) เพราะได้ ค้นพบกฎการถ่ ายทอดพันธุกรรม ๒ ประการ จากผล ของการทดลองเพือศึกษาการถ่ ายทอดพันธุกรรมในถัวลันเตา ในบริเวณ แปลงทดลองของโบสถ์ ทีเมืองบรึนน์ (Brnn) ประเทศออสเตรีย และได้ รายงานผลการวิจัยดังกล่ าวใน พ.ศ. ๒๔๐๘ นับได้ ว่าเป็ นการวิจัยทาง ชีววิทยาทียิงใหญ่ ทสุ ดอย่ างหนึงในขณะนั<น เมนเดลได้ แยกแยะไว้ ชัดเจน ี ระหว่ างลักษณะกรรมพันธุ์ทเขาใช้ คาว่ า “merkmal” กับแนวความคิด ี ํ เกียวกับหน่ วยพันธุกรรมทีเขาใช้ คาว่ า “elemente” ํ
  • 14. โดยเมนเดล คิดว่ าหน่ วยพันธุกรรมนีคงจะ อยู่ภายในเซลล์ และมีส่วนควบคุม < ลักษณะกรรมพันธุ์ดงกล่ าวด้ วย โดยหน่ วยพันธุกรรมดังกล่ าวนีปัจจุบน ั < ั เรียกว่ า ยีน เมนเดลตระหนักดีว่า หน่ วยพันธุกรรมดังกล่ าวนั<นจะอยู่เป็ นคู่ๆ มากมายหลายคู่ด้วยกัน ซึงต่ างก็ทาหน้ าทีควบคุมลักษณะกรรมพันธุ์มากมาย ํ หลายลักษณะ ดังทีได้ สังเกตเห็นในถัวลันเตาทีเขาใช้ ทดลอง ยิงไปกว่ านั<น เมน เดลยังคาดคิดต่ อไปอีกว่ า หน่ วยพันธุกรรมในแต่ ละคู่น<ันคงจะควบคุมลักษณะ กรรมพันธุ์ในแต่ ละอย่ างทีมีความแตกต่ างตรงข้ ามกัน เช่ น คู่ของ หน่ วยA กับ a ควบคุมลักษณะต้ นสู งกับต้ นเตียตามลําดับหรือคู่ของหน่ วย B กับ bควบคุม < ลักษณะเมล็ดสี เหลืองกับเมล็ดสี เขียวลักษณะทางกรรมพันธุ์ทแสดงออกทุกรุ่น ี เช่ น ต้ นสู งและเมล็ดสี เหลือง ควบคุมโดยหน่ วยพันธุกรรมทีมีลกษณะเด่ น ั (domi-nant) ส่ วนลักษณะตรงกันข้ าม
  • 15. เช่ น ต้ นเตียและเมล็ดสี เขียว ซึงไม่ แสดงออกทุกรุ่น ควบคุมโดยหน่ วย < พันธุกรรมทีมีลกษณะด้ อย (recessive) ซึงถูกข่ มโดยหน่ วยพันธุกรรมทีมี ั ลักษณะเด่ นเมือมันมาเข้ าคู่อยู่ด้วยกัน เช่ น คู่ Aa หรือคู่ Bb ถึงแม้ ว่าเมนเดล ไม่ ได้ สังเกตเห็นหน่ วยพันธุกรรมทีอยู่กนเป็ นคู่ๆภายในเซลล์ กตาม แต่ เขาก็ ั ็ เข้ าใจดีว่า หน่ วยพันธุกรรมทีเป็ นคู่กนในลูกผสมนั<นครึงหนึงได้ มาจากพันธุ์ ั พ่อ โดยผ่ านทางละอองเกสรตัวผู้ ส่ วนอีกครึงหนึงได้ จากพันธุ์แม่ โดย ผ่ าน ทางไข่ ทได้ รับการปฏิสนธิจากละอองเกสรตัวผู้ เมนเดลได้ สรุป ี แนวความคิดเกียวกับหลักเกณฑ์ การถ่ ายทอดหน่ วยพันธุกรรมไว้ ๒ ประการ คือ (๑) การแยกตัวของหน่ วยพันธุกรรม (๒) การรวมกลุ่มของ หน่ วย พันธุกรรมอย่ างอิสระ แต่ แนวความคิดทีลึกซึ<งของเมนเดลนีก้าวหน้ า < ลํายุคเกินกว่ าที นักวิชาการร่ วมสมัยจะเข้ าใจได้ <
  • 16.
  • 17. สารพันธุกรรม สิ งมีชีวตถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปยังลูกหลานโดยอาศัยสาร ิ พันธุกรรมคือ กรดนิวคลีอก ในธรรมชาติมีกรดนิวคลีอกอยู่เพียง ๒ ชนิด ิ ิ ได้ แก่ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอกหรือ DNA กับกรดไรโบนิวคลีอกหรือ ิ ิ RNA กรดนิวคลีอกจัดเป็ นสารพวกแมโครโมเลกุล เป็ นโพลีเมอร์ ของนิวคลี ิ โอไทด์ เรียกว่ า polynucleotide เพือให้ เข้ าใจคุณสมบัตทางเคมีของกรด ิ นิวคลีอก เราควรทําความเข้ าใจคุณสมบัตทางเคมีของนิวคลีโอไทด์ ให้ ได้ ิ ิ เสี ยก่ อน ดังนั<นในบทความนีจึงเริมแนะนําให้ รู้ จักกับนิวคลีโอไทด์ ก่อนทีจะ < เรียนเรืองกรดนิวคลีอกต่ อไป ิ
  • 18. ดี เอน เอ (Deoxyribonucleic acid DNA) ดี เอน เอ เป็ นสารชีวโมเลกุลทีใหญ่ ทสุ ด ในคนพบ ดี เอน เอ ในนิวเคลียส ี ของเซลล์ และในไมโตคอนเดรีย ดี เอน เอ มีขนาดและรู ปร่ างทีแตกต่ างกัน ตั<งแต่ มีรูปร่ างเป็ นวงกลม เช่ น พลาสมิดซึงเป็ น ดี เอน เอ ขนาดเล็กในบักเต รีจนถึง ดี เอน เอ ขนาดใหญ่ พนม้ วนกับแกนโปรตีนอย่ างซับซ้ อนจน ั มองเห็นได้ ด้วยกล้ องจุลทรรศน์ เช่ น โครโมโซมในเซลล์ มนุษย์ โครงสร้ าง ของ ดี เอน เอ การศึกษาโครงสร้ างของ ดี เอน เอ มีรากฐานมาจากการศึกษา ของนักวิทยาศาสตร์ หลายกลุ่ม เริมตั<งแต่ งานของ Chargaff แห่ ง มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ซึงได้ ศึกษาองค์ ประกอบเบสของ ดี เอน เอ จากแหล่ ง ต่ างๆ แล้ วสรุปเป็ นกฎของ Chargaff ดังนี<
  • 19. 1.องค์ประกอบเบสของ DNA จากสิ' งมีชีวิตต่างชนิดจะแตกต่างกัน 2.องค์ประกอบเบสของ DNA จากสิ' งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะ ่ เหมือนกัน แม้วาจะนํามาจากเนื5อเยือต่างกันก็ตาม ' 3.องค์ประกอบเบสของ DNA ในสิ' งมีชีวิตชนิดหนึ'งมีความคงที' ไม่แปรผันตามอายุ อาหาร หรื อสิ' งแวดล้อม ่ 4.ใน DNA ไม่วาจะนํามาจากแหล่งใดก็ตาม จะพบ A=T , C=G หรื อ purine = pyrimidine เสมอ
  • 20. นักวิทยาศาสตร์ อกกลุ่ม ได้ แก่ Flanklin และ Wilkins แห่ งมหาวิทยาลัยลอนดอน ได้ ี ศึกษาโครงสร้ างของโมเลกุลของ ดี เอน เอ โดยใช้ ภาพถ่ ายการหักเหรังสี เอกซ์ ทฉายผ่ าน ี โมเลกุล (X-rays diffraction) ผลงานจากทั<งสองแหล่ งนีทาให้ Watson และ Crick < ํ ค้ นพบลักษณะโครงสร้ างทุตยภูมิของ ดี เอน เอ ว่ ามีลกษณะดังนี< ดี เอน เอ มีรูปร่ างเป็ น ิ ั แท่ งเกลียวเวียนขวา (alpha-helix) ประกอบขึนจากโพลีดออกซีไรโบนิวคลีโอไทด์ สอง < ี สาย เชือมกันด้ วยพันธะไฮโดรเจนทีเกิดระหว่ างเบสไนโตรเจนของแต่ ละสาย โพลีดี ออกซีไรโบนิคลีโอไทด์ ท<งสองสายนี< จะทอดตัวกลับหัวกลับหางกัน (antiparalle) สาย ั หนึงทอดตัวในทิศ 5′ - 3′ อีกสายหนึงจะทอดตัวในทิศ 3′ -5′ ในการเข้ าคู่กนนีท<งสอง ั < ั สายจะหันส่ วนทีเป็ นนําตาลและฟอสเฟตออกข้ างนอกแล้ วฝังส่ วนทีเป็ นเบสไว้ ภายใน < แกนกลางโมเลกุล
  • 21. ทําให้ ขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางของแท่ งเกลียว ดี เอน เอมีขนาด 20 Å ๑ รอบ เกลียวมีขนาด 34 Å ประกอบขึนจากจํานวนคู่เบส ๑๐ คู่ ดังนั<นแต่ ละคู่เบส < จะอยู่ห่างกัน 3.4 Å และการบิดรอบเกลียวทําให้ โมเลกุลของดี เอน เอ เกิด ร่ องเกลียวสองขนาดขนาดใหญ่ เรียกว่ า major groove ขนาดเล็กเรียกว่ า minor groove การจับกันด้ วยพันธะไฮโดรเจนของคู่เบสนั<น เป็ น การเข้ าคู่ทจําเพาะ คือ C จะจับกับ G ด้ วยพันธะไฮโดรเจน ๓ พันธะ และ A ี จับกับ T ด้ วยพันธะไฮโดรเจน ๒ พันธะ รู ปการจับคู่เบสการจับคู่เบสอย่ าง จําเพาะมีประโยชน์ คอ เมือเราทราบการเรียงลําดับเบสของโพลีดออกซีไรโบ ื ี นิวคลีโอไทด์ สายหนึงแล้ ว ก็จะรู้ การเรียงลําดับเบสของโพลีดออกซีไรโบนิ ี วคลีโอไทด์ ในสายทีเข้ าคู่กนด้ วย เรียกลําดับนิวคลีโอไทด์ ทสามารถเข้ าคู่กน ั ี ั ได้ นีว่า complementary base sequence <
  • 22. คุณสมบัตของ ดี เอน เอ ิ 1.ความเป็ นกรด ในสิ งแวดล้ อมปกติของเซลล์ ดี เอน เอ มีประจุเป็ นลบ แสดงถึงคุณสมบัตการเป็ นกรด ดี เอน เอ จึงสามารถจับกับไอออนหรือสาร ิ อืนทีมีประจุบวกได้ 2. การเสี ยสภาพของ ดี เอน เอ คําว่ าการเสี ยสภาพ (denaturation) ของ ดี เอน เอ หมายถึงการทําให้ ดี เอน เอ ซึงเคยเป็ นสายคู่แยกตัวออกมาเป็ นสาย เดียว สิ งทีทําให้ เกิดการเสี ยสภาพธรรมชาติของ ดี เอน เอ ได้ แก่ ความร้ อน กรด ด่ าง รังสี เอกซ์ ยูเรีย ดี เอน เอ ทีเสี ยสภาพธรรมชาติไปแล้ ว ถ้ าปรับ สิ งแวดล้ อมใหม่ ให้ เหมาะสม มันสามารถคืนสภาพธรรมชาติได้ ใหม่ ตัวอย่ างเช่ น ในเทคนิค hybridization เขาจะทําให้ ดี เอน เอ เสี ยสภาพ ธรรมชาติด้วยความร้ อนก่ อน แล้ วให้ คนสภาพธรรมชาติใหม่ ด้วยการค่ อยๆ ื ลดอุณหภูมิลง
  • 23. 3. การดูดกลืนแสง ด้ วยคุณสมบัตของเบส ทีสามารถดูดกลืนแสงได้ มาก ิ ทีสุ ดที 260 nm ดี เอน เอ ก็ดูดกลืนแสงทีความยาวคลืนนีได้ ดทสุ ดเช่ นกัน < ี ี คุณสมบัตนีทาให้ เราสามารถวัดหาปริมาณ ดี เอน เอ ด้ วยการวัดการดูดกลืน ิ < ํ แสง แต่ สิงทีต้ องคํานึงในทีนีคอ ดี เอน เอ ในปริมาณทีเท่ ากัน ถ้ าเป็ นสาย <ื เดียว (จากการทําให้ เสี ยสภาพธรรมชาติ) จะดูดกลืนแสงได้ มากกว่ า ดี เอน เอ สายคู่ คุณสมบัตนีเ< รียกว่ า ไฮเพอร์ โครมิซึม (hyperchromism) ิ
  • 24. อาร์ เอน เอ (Ribonucleic acid RNA) อาร์ เอน เอ เป็ นโพลีไรโบนิวคลีโอไทด์ ทมีนิวคลีโอไทด์ มาเชือมกันด้ วย ี พันธะฟอสโฟไดเอสเธอร์ ในทิศ 5′ - 3′ เหมือน ดี เอน เอ สิ งมีชีวตบางชนิด ิ ใช้ อาร์ เอน เอ เป็ นสารพันธุกรรมเช่ นไวรัสเอดส์ แต่ ในสิ งมีชีวตชั<นสู งเช่ น ิ มนุษย์ อาร์ เอน เอ ทําหน้ าทีหลายอย่ างแบ่ งตามชนิดได้ ตามนี< Ribosomal RNA (rRNA)rRNA เป็ น อาร์ เอน เอ ทีเป็ นองค์ ประกอบของไรโบโซม ใน สิ งมีชีวตชั<นสู งพบ rRNA อยู่ ๔ ขนาดคือ 28S, 18S, 5.8S และ 5S rRNA ทํา ิ หน้ าทีในการสั งเคราะห์ โปรตีน
  • 25. Messenger RNA (mRNA) mRNA เป็ นตัวถ่ ายทอดข้ อมูลทางพันธุกรรม จาก ดี เอน เอ ออกมาเป็ น โปรตีน เมือเซลล์ ต้องการสร้ างโปรตีนขึนมาใช้ งาน เซลล์ จะคัดลอก gene < สํ าหรับสร้ างโปรตีนนั<นออกมาเป็ น mRNA ดังนั<น mRNA จึงเกิดขึนใน < นิวเคลียส เมือมี mRNA แล้ ว จะมีกระบวนการขนส่ ง mRNA ออกจาก นิวเคลียสสู่ ไซโตพลาสม ซึงเป็ นทีสํ าหรับสั งเคราะห์ โปรตีน
  • 26. transfer RNA (tRNA) tRNA ตัวมันจะมีกรดอะมิโนมาเกาะอยู่ ทําหน้ าทีนํากรดอะมิโนมาเรียงร้ อย ต่ อกันเป็ นโปรตีน ชนิดของกรดอะมิโนทีจะนํามาต่ อนีถูกกําหนดโดยรหัส < พันธุกรรมบน mRNA ส่ วน tRNA มีตวช่ วยอ่ านรหัสเรียกว่ า anticodon ั