SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
Transformative Education
วิจารณ์ พานิช
ประธานมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์
บรรยายใน การประชุมวิชาการการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (MOPH R2R Forum) ประจาปี ๒๕๖๑ : R2R to Future Health Care 2018
ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๑
ข้อจำกัด
• ไม่ได้เรียนมาทางด้านการศึกษา
• ไม่ได้ปฏิบัติเป็นเวลานาน
• จึงไม่รู้จริง ไม่แตกฉาน
• พึงฟังอย่างใช้วิจารณญาณ
ประเด็นนำเสนอ
• การเรียนรู้คืออะไร
• การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงคืออะไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างไร
• ครู ทา/ไม่ทา อะไร
• ระบบการศึกษาต้องทา/ไม่ทา อะไรบ้าง เพื่อส่งเสริมให้
เกิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ในนักเรียน ครู และ
ภาคีการศึกษา
ประเด็นนำเสนอ
• การเรียนรู้คืออะไร เพื่ออะไร
• การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงคืออะไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างไร
• ครูทา/ไม่ทา อะไร
• ระบบการศึกษาต้องทา/ไม่ทา อะไรบ้าง เพื่อส่งเสริมให้
เกิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ในนักเรียน ครู และ
ภาคีการศึกษา
การเรียนรู้เป็นการเตรียมคน
ไปใช้ชีวิตในอนาคต
ที่ไม่รู้ว่าจะเป็นอย่างไร
การเรียนรู้ที่สาคัญ
การปรับตัว (Agility)
การเปลี่ยนแปลงตนเอง (Transformation)
กำรเรียนรู้ที่ครบด้ำน(21st Century Learning)
• มีความรู้ (Literacy) : อ่านออกเขียนได้, คิดเลขเป็น,
รู้ธรรมชาติ, รู้ ICT, รู้การเงิน, รู้วัฒนธรรมและความเป็น
พลเมือง, รู้เรื่องสุขภาพ
• มีสมรรถนะ (Competency) : วิจารณญาณ, สร้างสรรค์,
สื่อสาร, ร่วมมือ
• มีบุคลิก/คุณลักษณะ (Character) : ใคร่รู้ ริเริ่ม มานะ
อดทน ปรับตัว ภาวะผู้นา สังคมวัฒนธรรม เห็นแก่
ส่วนรวม
• เรียนรู้ตลอดชีวิต (Learning Skils / Affinity)
โลกประจาวัน
โลกซับซ้อน
โลกเปลี่ยนแปลง
รู้
เข้าใจ
นาไปใช้
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประเมิน/เปรียบเทียบ
เปลี่ยนวิธีเรียนรู้
เปลี่ยนกระบวนทัศน์/ตัวตนTransformative Learning
กำรเรียนรู้ที่ลึกและเชื่อมโยง
Modified Bloom’s Taxonomy of Learning
คุณลักษณะของมนุษย์ในศตวรรษที่ ๒๑
Learning Fluency
Learn
Unlearn
Relearn
• สมรรถนะ (competence)
• จัดการอารมณ์ (emotion management)
• เป็นตัวของตัวเอง และร่วมกับผู้อื่น (autonomy & interdependence)
• ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น (interpersonal relationship)
• อัตลักษณ์ (identity)
• เป้าหมายในชีวิต (purpose)
• มั่นคงในคุณธรรม (integity) ไม่เบี้ยว ไม่โกง ไม่ผักชีโรยหน้า ไม่จ่าย
สินบน
การพัฒนาตัวตน ๗ ด้าน ของ Chickering
พัฒนำเต็มศักยภำพ
• Transformative Learning เรียนรู้แบบพัฒนาจาก
ภายในตน และมีมิติด้านการเป็นผู้นาการ
เปลี่ยนแปลง
• เกิด Holistic Development : Intellectual, Social,
Emotional, Spiritual, Physical, Esthetic
• พัฒนาทั้งด้านนอก และด้านใน ความเชื่อพรแสวง
• 21st Century Skills
Growth Mindset
Grit
ความมุมานะต่อเนื่องเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ในระยะยาว
• Passion
• Perseverance
Peak
Absolute Pitch
คารวะ
สร้าง
จริยธรรมวินัย
สังเคราะห์ Five Minds
For the
Future
https://www.gotoknow.org/posts/418836
Howard Gardner
respectful
creating
ethicaldiscipline
synthesizing
พหุปัญญา
Howard Gardner’s Multiple Intelligence
มนุษย์ทุกยุคต้องฝึกฝนพัฒนำ
น้าใจ Heart Attitude
ทักษะ Hand Skills
ปัญญา Head Knowledge
เป้ำหมำยผลลัพธ์กำรเรียนรู้
• คิดตามแบบแผน
• มีความรู้ตามที่รับ
ถ่ายทอด
• รู้วิชา สอบได้คะแนนดี
ตามหลักสูตร
• Informative learning
• มีความคิดของตนเอง
• มีความรู้ตามที่ตน
ปฏิบัติและสะท้อนคิด
• มีทักษะแห่งศตวรรษที่
๒๑
• Transformative
learning
20 21ศตวรรษที่
ประเด็นนำเสนอ
• การเรียนรู้คืออะไร เพื่ออะไร
• การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงคืออะไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างไร
• ครูทา/ไม่ทา อะไร
• ระบบการศึกษาต้องทา/ไม่ทา อะไรบ้าง เพื่อส่งเสริมให้
เกิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ในนักเรียน ครู และ
ภาคีการศึกษา
การเรียนรู้
• การเรียนรู้เป็นผลของการกระทาและการคิดของ
ตนเอง
• เกิดจากการกระทาและการคิดของตนเองเท่านั้น
• ผู้อื่นช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยเข้าไป
จัดการสิ่งที่ตัวเราทา (ปฏิบัติ และคิด) เพื่อการ
เรียนรู้
Herbert A. Simon
https://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/5462
Adult Learning
Observation &
Reflection
Forming Abstract
Concepts
Testing in New
Situations
Concrete
Experience
1
2
3
4
Student Learning = AL + Scaffolding
ทักษะกำรเรียนรู้
• ปฏิบัติ -> สังเกต -> ไตร่ตรองสะท้อนคิด -> เรียนรู้
• ตั้งเป้า -> ปฏิบัติ -> ประเมิน
• ประเมิน : ผล (Summative) & วิธีปฏิบัติ (Formative)
• รู้วิธีเรียน (metacognition)
• ปรับปรุง(เปลี่ยน) วิธีเรียนรู้ (Transform Learning Strategy/Method)
ทักษะกำรเรียนรู้
• ปฏิบัติ -> สังเกต -> ไตร่ตรองสะท้อนคิด -> เรียนรู้
• ตั้งเป้า -> ปฏิบัติ -> ประเมิน
• ประเมิน : ผล (Summative) & วิธีปฏิบัติ (Formative)
• รู้วิธีเรียน (metacognition)
• ปรับปรุง(เปลี่ยน) วิธีเรียนรู้ (TransformativeLearning in Learning)
ทั้งของนักเรียนและครู
น้าใจ
ทักษะ
ปัญญา
เรียนอย่างบูรณาการ ไม่แยกกัน
น้าใจ
ทักษะ
ปัญญา
เรียนโดยการปฏิบัติ สร้างใส่ตน
ไม่ใช่เรียนโดยรับถ่ายทอด เพื่อให้เกิดทักษะภาวะผู้นา
น้าใจ
ทักษะ
ปัญญา
เรียนโดยการปฏิบัติ สร้างใส่ตน
เรียนเป็นทีม เพื่อให้เกิดทักษะความร่วมมือ
ไม่สำมำรถบรรลุได้
โดยกำรถ่ำยทอด
ควำมรู้สำเร็จรูป
กำรพัฒนำคนทั้งคน
เพื่อสร้ำงพลเมืองแห่งศตวรรษที่ ๒๑
เพื่อให้เกิด Transformative Learning
ประเด็นนำเสนอ
• การเรียนรู้คืออะไร เพื่ออะไร
• การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงคืออะไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างไร
• ครูทา/ไม่ทา อะไร
• ระบบการศึกษาต้องทา/ไม่ทา อะไรบ้าง เพื่อส่งเสริมให้
เกิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ในนักเรียน ครู และ
ภาคีการศึกษา
ชีวิตที่ดีของมนุษย์ในศตวรรษที่ ๒๑
• อยู่ได้ในโลก/สังคม VUCA (Volatile, Uncertain, Complex,
Ambiguous)
• เปลี่ยนแปลงเร็ว พลิกผัน
• ต้องเปลี่ยนแปลงตัวเองเป็น เรียนรู้เป็น : Learn, Unlearn,
Relearn
• ต้องเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Change Agent)
Level Objectives Outcome
Informative •Information
•Skills
Experts
Formative •Socialization
•Values
Professionals
Transformative •Leadership
attributes
Change agents
Table III-1. Levels of learning
2. เรียนรู้งอกงามจากภายใน
3. เปลี่ยนสมอง
นิยาม Transformative Education
• การเรียนรู้แบบเปลี่ยนแปลงจากภายใน
เปลี่ยนแปลงทั้งเนื้อทั้งตัว
• การเรียนรู้แบบที่เกิดมิติภาวะผู้นา เป็นผู้นาการ
เปลี่ยนแปลง - Change Agent
http://www.ted.com/talks/sugata_mitra_build_a_school_in_the_cloud.html
การเรียนรู้เป็นการสั่งสม
TL เป็นการสั่งสม
ต้องการ Growth Mindset
Transformative Learning
เป็น
Life Skills
ทฤษฎีกำรเรียนรู้เพื่อกำรเปลี่ยนแปลง
• สานักคิดที่ 1 สายเหตุผล ผู้นาคือ Jack Mezirow
• สานักคิดที่ 2 สายจิตวิทยาเชิงลึก ผู้นาคือ Robert Boyle
• สานักคิดที่ 3 กลุ่มเคลื่อนประเด็นสังคม ผู้นาคือ Paulo Freire
• สานักคิดที่ 4 กลุ่มประกอบสร้าง ผู้นาคือ Robert Kegan
• สานักคิดที่ 5 กลุ่มความเป็นองค์รวม
ดร. อดิศร จันทรสุข
https://www.gotoknow.org/posts/tags/TL-อดิศร จันทรสุข
ประเด็นนำเสนอ
• การเรียนรู้คืออะไร เพื่ออะไร
• การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงคืออะไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างไร
• ครูทา/ไม่ทา อะไร
• ระบบการศึกษาต้องทา/ไม่ทา อะไรบ้าง เพื่อส่งเสริมให้
เกิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ในนักเรียน ครู และ
ภาคีการศึกษา
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Mezirow
https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/001/118/349/original_8a511172e210f2942a79c400363f4033.jpg
การท้าทายระบบโลกทัศน์
เปลี่ยนระบบคุณค่าและโลกทัศน์
ประสบการณ์ตรง + ไตร่ตรองสะท้อนคิด
+ อารมณ์
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Mezirow
https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/001/118/349/original_8a511172e210f2942a79c400363f4033.jpg
การท้าทายระบบโลกทัศน์
เปลี่ยนทั้งเนื้อทั้งตัว
ประสบการณ์ตรง + ไตร่ตรองสะท้อนคิด
ใจ คิด พฤติกรรม
+ อารมณ์
พลังทั้งหก
พลังทั้งหก
• ประสบการณ์ของปัจเจก (Experience)
• การสะท้อนคิดอย่างจริงจัง (Critical Reflection)
• สุนทรียสนทนา (Dialogue)
• มุมมอง/วิธีการที่ครบด้าน (holistic)
• บริบท (Conext)
• ความสัมพันธ์ที่จริงใจ (Mutual Trust)
กำรเรียนรู้สู่กำรเปลี่ยนแปลง
• Individual Learning + Social Learning
• Action Learning + Reflection Learning
• Integrated Learning
Acting  Sensing  Reflecting  Learning
Telling / Reading / Observing
Sharing
Coaching
Reflecting
• Questioning
• Theorizing
• Reasoning
• Interpreting
• Analyzing
• Synthesizing
• Lateralizing (Lateral Thinking)
• Intuitioning
• Etc
ปัจจัยทั้งหก
• การปฏิบัติ เป็นทั้งเป้าหมายและวิธีการ
• เผชิญอานาจ และยอมรับความแตกต่าง
• ใช้/ยอมรับ พลังจินตนาการ
• นาการเรียนรู้สู่ชายขอบ/ดินแดนไม่ชัดเจน/สับสน
• Reflection เป็นทั้งเครื่องมือและเป้าหมายการฝึกฝน
• Modeling
Transformative Learning
• เป็นการเรียนรู้ที่พึงประสงค์ของทุกคน ทุกฐานะ ทุกวัย
• เน้น experiential learning
• ให้ความสาคัญต่อความรู้สึกของปัจเจก แต่ ลปรร. กัน
• บรรยากาศไว้วางใจกัน
• ใช้พลังของความอึดอัด ไม่ชัดเจน
• ใช้พลังของความมุ่งมั่น ทาเพื่อผู้อื่น (altruism)
• ฟังหลายๆ ความคิด/ตีความ
• นากลับไปทดลองปฏิบัติใหม่ เป็นวัฏจักร
ประเด็นนำเสนอ
• การเรียนรู้คืออะไร เพื่ออะไร
• การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงคืออะไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างไร
• ครูทา/ไม่ทา อะไร
• ระบบการศึกษาต้องทา/ไม่ทา อะไรบ้าง เพื่อส่งเสริมให้
เกิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ในนักเรียน ครู และ
ภาคีการศึกษา
พระราชกระแสฯ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
รัชกาลที่ ๙ เกี่ยวกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา
• ให้ครูรักเด็ก และเด็กรักครู
• ให้ครูสอนเด็กให้มีน้าใจต่อเพื่อน ไม่ให้แข่งขันกัน แต่
ให้แข่งกับตัวเอง ให้เด็กที่เรียนเก่งช่วยสอนเพื่อนที่เรียน
ช้ากว่า
• ให้ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนทาร่วมกัน เพื่อให้เห็นคุณค่า
ของความสามัคคี
เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยดังกล่ำว
• ครูต้องฝึกฝนการสอนแบบไม่ถ่ายทอด ค. สาเร็จรูป
• ให้ นร. เรียนโดยการ ถาม(Inquiry) ทา สะท้อนคิด
• เรียนเป็นทีม
• เรียนให้เกิด Transformative Learning, Mastery
Learning
• เรียนให้เกิดการพัฒนาทั้งส่วน Cognitive และ Non-
Cognitive
ครูรับผิดชอบ ว่าศิษย์ทุกคน
บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
ตามมาตรฐาน
หากไม่ได้ ต้องปรึกษา
ผู้อานวยการ
Accountability
ไม่เน้นสอนให้ครบตามหลักสูตร
• หลักสูตรมาตรฐานมักเน้นความครอบคลุมระบุเนื้อหา
มากเกินไป
• ครูต้องร่วมกันกาหนดสาระส่วนที่จาเป็นต้องสอน
(สาหรับนักเรียนกลุ่มนั้น) เพื่อให้ นร. เรียนรู้พัฒนา ๔ ด้าน
• แล้วกาหนด สเกลความเข้าใจ สาหรับใช้สื่อสารเป้าหมาย
การเรียนรู้แก่ นร.
https://www.gotoknow.org/posts/tags/ศาสตร์และศิลป์ของการสอน
สอนแบบโฟกัสเป้ำหมำย
เคล็ดลับสู่ควำมสำเร็จ
• อย่าทางานคนเดียว
• หาเพื่อนร่วมอุดมการณ์
• ทางานเป็นทีม
• สร้างรูปแบบงาน ลาบากก่อนแล้วสบาย
เมื่อปลายมือ
• 3 = 1 ทางาน ๑ ส่วน ได้ผล ๓ ส่วน
บทบำทครูไทยในศตวรรษที่ ๒๑
• เป็น Learner ใน PLC ... เรียนรู้ร่วมกัน
กับเพื่อนครู ผ่านการปฏิบัติหน้าที่ครู
• เป็นการเรียนรู้แบบไม่รู้จบ
• ต้องการการจัดการการเปลี่ยนแปลง ใน
ระดับสถาบัน
• เป็น “ผู้ปฏิบัติงาน” เพื่อเรียนรู้
• มุ่งมั่นเรียนรู้จากการทาหน้าที่ครู
เคล็ดลับสู่ควำมสำเร็จ
• เป็นครู = สอน (แบบไม่สอน) เรียน วิจัย
ครู
สอน
เรียนวิจัย
สร้างรูปแบบ
การทางาน
จนกลายเป็น
ปกติวิสัย
ในการทางาน
ประจาวัน
วิจัยชั้นเรียนเปลี่ยนครู
https://www.gotoknow.org/posts/tags/วิจัยชั้นเรียนเปลี่ยนครู
สอนแบบไม่สอน ครูทำอะไร
ตั้งเป้า ชวนศิษย์ตั้งเป้า อยากเรียนอะไร เรียนไปทาไม
ออกแบบ ชวนศิษย์ออกแบบการเรียนรู้ แบบ Inquiry-BasedLearning
ฝึกตั้งคาถาม ให้ศิษย์หาคาตอบกันเอง ครูหลีกเลี่ยงการ
บอก/สอน
วัสดุช่วยเรียน เครื่องมือ หนังสือ/ตารา VDO YouTube
เว็บไซต์ Wifi คอมพิวเตอร์ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน ฯลฯ
เพื่อให้ นร. เรียนเนื้อหาเอง ... กลับทางห้องเรียน
ทักษะของครู
เรียนรู้จำกกำรปฏิบัติ : ครูฝึกอะไร
• สังเกต เก็บข้อมูลในห้องเรียน (ถ่าย VCD ชวนเพื่อนครูเข้าสังเกต
ห้องเรียน) ใช้เป็น Feedback
• ฝึกทา Critical Reflection (AAR – After Action
Review) ด้วยตนเอง เพื่อนาเอาประสบการณ์มาเรียนรู้
ตั้งคาถามให้ตนเองตอบ
• เขียน personal journal
• ทา Critical Reflection ร่วมกับเพื่อนครู … พัฒนาเป็น
PLC
ยิ่งดี หากมี “คุณอานวย”
เรียนรู้จำกกำรปฏิบัติ : ครูช่วยเหลือกันอย่ำงไร
• ผลัดกันเข้าสังเกตการณ์ห้องเรียน
• เพื่อทา Peer Coaching
• คุยกันว่าครูผู้สอนมีเป้าหมายอะไร ใช้
เทคนิคอะไรในการสอน
• มีส่วนไหนที่ทาได้ดี ส่วนไหนที่มีลู่ทาง
ปรับปรุง น่าจะทาต่างจากเดิมอย่างไร
เรียนรู้จำกกำรปฏิบัติ : ครูช่วยเหลือกันอย่ำงไร
• มีนักเรียนคนไหนบ้างที่น่าจะเรียนไม่ได้
ตามที่ครูตั้งเป้าหมาย
• สังเกตอย่างไร
• มีวิธีการอย่างไรที่ครูจะพานักเรียนแบบนี้สู่
เป้าหมาย
• คราวหน้าจะทดลองทาอย่างไร ทีมครูจะ
ช่วยกันอย่างไร
ครูทาอะไรให้แก่ศิษย์
• Inspirator กระตุ้นแรงบันดาลใจ
• ให้ High Expectation, High Support
• Designer ออกแบบกิจกรรม และ “นั่งร้าน” (Scaffold)
• Facilitator โดยตั้งคาถาม ชวนคิด
• Assessor (Formative Assessment) ประเมินเพื่อพัฒนา
• Constructive Feedback ให้คิดไปข้างหน้า มุมานะ Growth Mindset
• Summative Evaluation ยืนยันว่าบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
ครูทาอะไรให้แก่ตน
• Inspirator
• Designer ออกแบบกิจกรรม และ “นั่งร้าน” (Scaffold)
• Facilitator โดยตั้งคาถาม ชวนคิด
• Assessor (Formative Assessment) ประเมินเพื่อพัฒนา
• Constructive Feedback ให้คิดไปข้างหน้ามุมานะ
• Summative Evaluation ยืนยันว่าบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
ทาสิ่งเดียวกันให้แก่ตนเอง และแก่เพื่อนครู
ชีวิตครู คือชีวิต(แห่งการเดินทาง)เพื่อการเรียนรู้
ครูต้องเข้าใจและพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตน
ฝึกคิด/เรียนระดับสูง (Higher Order Thinking/Learning)
• สร้าง (Create)
• เปลี่ยนใจ (Mindset Change) …
Transformative
Learning
• รู้ (Know)
• เข้าใจ (Understand)
• ประยุกต์ (Apply)
• วิเคราะห์ (Analyze)
• สังเคราะห์ (Synthesize)
• ประเมิน (Evaluate)
ครูฝึกวิธี facilitate ให้ศิษย์ฝึก/เรียนรู้
โดยการตั้งคาถาม/โจทย์ให้ศิษย์ลงมือทา คิด และประเมิน
ประเมินขณะสอน(แบบไม่สอน)
• ประเมินเพื่อหนุนการเรียนรู้
(Formative Assessment)
• ตามด้วยคาแนะนาป้อนกลับแบบ
สร้างสรรค์(ConstructiveFeedback)
• แล้วจึงประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้
(Summative Evaluation) เพื่อยืนยัน
ว่าบรรลุเป้าหมาย
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Dylan_Wiliam
5 คำถำมหลักในกำรออกแบบกำรเรียนรู้
• ต้องการให้ นร. ได้ทักษะ และ ค. ที่จาเป็นอะไรบ้าง
(ตรวจสอบเอกสารหลักสูตร หนังสือทักษะแห่งอนาคตใหม่
ฯลฯ)
• จัดการเรียนรู้อย่างไรให้ได้ทักษะเหล่านั้น
• รู้ได้อย่างไรว่าได้
• ทาอย่างไร กับ นร. บางคนที่ไม่ได้
• ทาอย่างไรกับ นร.บางคนที่เรียนเก่งก้าวหน้าไปแล้ว
• Prior Knowledge
• K Organization
• Motivation
• Develop Mastery
• Practice & Feedback
• Student Development
& Climate
• Self-directed Learner
http://www.scbfoundation.com/news_publish_detail.php?cat_id=6&nid=880
ครูในศตวรรษที่ ๒๑ มีคุณค่ามากกว่าครูในศตวรรษที่ ๒๐
• สอน สั่งสอน
• ถ่ายทอดความรู้
• รู้ผิวเผิน
• สอนวิชา
• รู้วิชา
• ผู้รู้
• รอบรู้วิชา
• ฝึก/โค้ช/อานวย
• อานวยการสร้าง
• รู้จริง (mastery)
• พัฒนาครบด้าน
• มีทักษะ
• ผู้เรียนรู้ (PLC)
• กากับการเรียนรู้ของตน
20 21
ความท้าทายของครูไทยในศตวรรษที่ ๒๑
• ฝึกทักษะการโค้ช ให้ศิษย์
- มีพัฒนาการครบทุกด้าน ฟันฝ่าชีวิตได้
- เรียนแล้วรู้จริง เรียนสู่การเปลี่ยนแปลง
• ทางานให้ 3=1 เกิด ส.ป.ก. เป็นวัฒนธรรมใหม่
ของการศึกษาไทย
• สร้าง “ศาสตร์การสอนในศตวรรษที่ ๒๑”
• กู้ศักดิ์ศรีครูไทยกลับคืนมา
ประเด็นนำเสนอ
• การเรียนรู้คืออะไร เพื่ออะไร
• การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงคืออะไร
• การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างไร
• ครูทา/ไม่ทา อะไร
• ระบบการศึกษาต้องทา/ไม่ทา อะไรบ้าง เพื่อส่งเสริมให้
เกิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ในนักเรียน ครู และ
ภาคีการศึกษา
กำรจัดกำรของโรงเรียน
• กาหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ เปลี่ยนรูปแบบ
การเรียนรู้จาก knowledge transfer ไปเป็น inquiry-based
• จัดการการเปลี่ยนแปลง
• เรียนรู้จากโรงเรียนอื่นที่ทาได้ดีกว่า
• ประชาคมของโรงเรียน ร่วมกันกาหนดเป้าหมาย และ
ร่วมกันดาเนินการ
• ใช้นร. และ ผปค. เป็นพลังขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง
กำรจัดกำรของโรงเรียน ๒
• ให้เวลา และส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติ
• สร้างวัฒนธรรม CQI ในหน่วยงาน … Professional Development
• ท้าทายเป้าหมาย High Expectation, High Support
• จัด “คุณอานวย”
• ให้รางวัล ความชื่นชม
• ผู้บริหารทา storytelling ความสาเร็จเล็กๆ ใส่ AI อยู่ภายใน
• ใช้จิตวิทยาเชิงบวก
กำรจัดกำรของโรงเรียน ๓
• จัดการเรียนรู้แก่ นร. ทั้งในห้องเรียน และนอกห้องเรียน
• กาหนดนโยบาย : นักเรียน ทุกคน บรรลุ Learning Outcome
ที่กาหนด
• ร่วมกับภาคีในพื้นที่ จัดพื้นที่เรียนรู้ และชมรมเรียนรู้โดยการ
รับใช้สังคมของ นร. … school – community engagement
• สร้าง alignment & coherence ของนโยบายและการปฏิบัติ
Transformative Learning 4 มิติ
• บุคคล ทีม Individual / Team Transformation
• หน่วยงาน องค์กร Organization Transformation …
MOE 4.0
• ระบบ Systems Transformation … Education 4.0
• สังคม ประเทศ Society / Nation Transformation …
Thailand 4.0
https://www.gotoknow.org/posts/659318
Transformative learning ในชีวิตจริง ครั้งแล้วครั้งเล่า ของ Tara Westover
สรุป Transformative Education
• มีเป้าหมาย เรียนรู้บูรณาการ / องค์รวม (holistic) และทั้งรู้ลึกและ
เชื่อมโยง มี Learning Skills
• ผู้เรียน เรียนโดยสร้างความรู้ใส่ตัว จากการปฏิบัติในสถานการณ์
จริง ตามด้วยการใคร่ครวญสะท้อนคิด
• เรียนเป็นทีม
• บทเรียนท้าทาย ได้ประสบการณ์สู้ความยาก ท้อแต่ไม่ถอย
• ครูทา scaffolding, FA + CF เป็น
• ทุกส่วนของระบบการศึกษา เป็น Learner

More Related Content

What's hot

What's hot (8)

Power school
Power schoolPower school
Power school
 
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system EngineeringProject-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
 
Thailand 4
Thailand 4Thailand 4
Thailand 4
 
Tl620118
Tl620118Tl620118
Tl620118
 
Develop school
Develop schoolDevelop school
Develop school
 
C and m
C and mC and m
C and m
 
Lo mini ukm_620531
Lo mini ukm_620531Lo mini ukm_620531
Lo mini ukm_620531
 
Gd610910 n
Gd610910 nGd610910 n
Gd610910 n
 

Similar to Te620118

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Jiramet Ponyiam
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
guest417609
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
looktao
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
Jiramet Ponyiam
 

Similar to Te620118 (20)

Educate21 4
Educate21 4Educate21 4
Educate21 4
 
RealEdu600905_n
RealEdu600905_nRealEdu600905_n
RealEdu600905_n
 
QA forstudent 300511
QA forstudent 300511QA forstudent 300511
QA forstudent 300511
 
Educate3
Educate3Educate3
Educate3
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Science sm by kru.jiraporn
Science sm by kru.jirapornScience sm by kru.jiraporn
Science sm by kru.jiraporn
 
Educate2
Educate2Educate2
Educate2
 
Teach pro bu_610524
Teach pro bu_610524Teach pro bu_610524
Teach pro bu_610524
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
 
Tl 620719 n_2
Tl 620719 n_2Tl 620719 n_2
Tl 620719 n_2
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
High education21
High education21High education21
High education21
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
Sahavitayakarn41
Sahavitayakarn41Sahavitayakarn41
Sahavitayakarn41
 
Ugp ohec 4 620522
Ugp ohec 4 620522Ugp ohec 4 620522
Ugp ohec 4 620522
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602
 

More from Pattie Pattie

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Te620118

Editor's Notes

  1. รู้จำ เข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน/เปรียบเทียบ เปลี่ยนวิธีเรียน เปลี่ยนอัตตาตัวตน / กระบวนทัศน์