SlideShare uses cookies to improve functionality and performance, and to provide you with relevant advertising. If you continue browsing the site, you agree to the use of cookies on this website. See our User Agreement and Privacy Policy.
SlideShare uses cookies to improve functionality and performance, and to provide you with relevant advertising. If you continue browsing the site, you agree to the use of cookies on this website. See our Privacy Policy and User Agreement for details.
Successfully reported this slideshow.
Activate your 14 day free trial to unlock unlimited reading.
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering to enhance cognitive and skill of learners.The slide shown best practice for using pragmatism philosophy and constructivism approach through project for learners construct knowledge and skill by himself.
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering to enhance cognitive and skill of learners.The slide shown best practice for using pragmatism philosophy and constructivism approach through project for learners construct knowledge and skill by himself.
10.
งานวิจัยที่สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ร่วมกับระบบพี่เลี้ยง
รูปแบบฝึกอบรมการสอนงาน(Coaching) ที่เหมาะสมคือใช้การบรรยาย อภิปราย กรณีศึกษา บทบาทสมมติและ
การฝึกปฎิบัติการสอนงาน
แพรวพรรณ บุญฤทธิ์มนตรี การฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนงานให้กับหัวหน้าโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ : กรณีศึกาา บริาัทแคล-คอมพ์อิเล็กโทรนิคส์.วิทยานิพนธ์ปริญญา
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (การศึกษาผู้ใหญ่),มศว., 2550.
Mentoring ช่วยให้Mentee มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรู้ (Knowledge) และทักษะ (Skill) เพิ่มขึ้น
ช่วยลดความเสียหายที่จะเกิดจากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ได้
Phyllis A. Gordon The Road to Success with Mentor. 17th Annual Society for Vascular Nursing Symposium,Las Vegas, Nevada, June 10, 1999.
Peer-Mentoring นอกจากจะช่วยส่งเสริมให้มีความรู้เพิ่มขึ้นแล้วยังช่วยส่งเสริมด้านจิตใจของ Menteeอีกด้วย
อาทิเช่น การเคารพตนเอง เป็นต้นแบบ(Modeling) ให้Mentee ปกป้อง Mentee จากการถูกตาหนิติเตียน
การให้คาปรึกษา(Counseling) การช่วยให้Mentee มองเห็นหนทางที่เป็นไปได้เป็นต้น
Kimberly A. Smith-Jentsch, Shannon A. Scielzo, Charyl S. Yarbrough and Patrick J. Rosopa. A Comparison of face-to-face and Electronic peer-mentoring :
Interactions with mentor gender. Journal of Vocational Behavior, Volume 72 : 193-206, 2008..
11.
ระบบพี่เลี้ยง
(Mentoring)
กระตุ้นให้ผู้เรียนลงมือทา
ให้การช่วยเหลือทั้งด้านเทคนิค
และด้านจิตใจส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความ
ด้วยตนเองลดภาระการชี้แนะของผู้สอน
การมอบหมายงานเป็น
กลุ่ม จะมีผู้เรียนบางคน
ในกลุ่มที่ตั้งใจทางาน
ปัญหา
การใช้รูปแบบ PBL
ผู้ เ รี ย น บ า ง ค น ที่ มี
พื้นฐานน้อย ขาดความ
กระตือรือร้นในการทา
โครงงาน
การใช้รูปแบบ PBL
ผู้เรียนบางคนใช้เวลา
หาข้อมูลมากจนเกินไป
และอาจเป็นข้อมูลที่ไม่มี
ประโยชน์ในการทา
โครงงาน1. K.Garvin case study of project-based learning course in civil engineering
design. European Journal of Engineering Education,Vol.36, No.6, December 2011.
2. Yu Wang et.all. Project-based learning in mechatronics education in close
collaboration with industrial : Methodologies, example and experiences. Elsevier 2012.
35.
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับระบบพี่เลี้ยงตามแนวทฤษฎีคอน
สตรัคติวิซึ่ม
2.เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเรียนระหว่างผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับพี่เลี้ยง
กับผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพียงอย่างเดียว
4.เพื่อเปรียบเทียบความคงทนทางการเรียนระหว่างผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับพี่เลี้ยง
กับผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพียงอย่างเดียว
3.เพื่อศึกษาระดับความก้าวหน้าทางการเรียนระหว่างผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับพี่เลี้ยง
กับผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพียงอย่างเดียว
5.เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เรียน และความพึงพอใจของพี่เลี้ยง
ระดับความก้าวหน้าทางการเรียนดูใน Richard R. Hake. Interactive engagement versus Tradition Methods:A Six-thousand Student Servey of Mechanics Test Data for Introductory
Physics Courses. American Association of Physics Teachers. Volume 66, Issue 1, 1998.
พัฒนาการทางการเรียนดูใน William A. Scott and Michael Wertheimer Introduction to Psychological Research. 4thEd.,: p264 ,John Wiley&Sons,Inc., NY, USA, 1967.
53.
= 0.906tt
r
ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทฤษฎี
ปฎิบัติ
æ ö÷ç ÷ç= × - ÷ç ÷ç ÷- è ø
å
20 2
( )
: 1
1tt
pqn
KR r
n S
2
2
1
1
ik
k
s
a
s
æ ö÷ç ÷ç= × - ÷ç ÷ç- ÷çè ø
å
สุชาติ ศิริสุขไพบูลย์ การสอนทักาะปฏิบัติ.พฤษภาคม 2526 หน้า95
คะแนนสอบปฏิบัติ ใช้วิธีการให้คะแนนของ
สุชาติ ศิริสุขไพบูลย์
70.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทฤษฎี (t-test Difference Score)
สรุปผลการวิจัย
(William Scott and Michael Wertheim
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านปฏิบัติ (t-test Difference Score)