SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บทที่ ๓
วิธีดําเนินการวิจัย 
 
การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของนิสิตนักศึกษาที่มีต่อหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์
มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ โดยมีรายละเอียด
ดังต่อไปนี้
๓.๑ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ คือ นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีของหน่วยวิทย
บริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ทั้งสองกลุ่มการ
เรียน คือ กลุ่มการเรียนปกติ และกลุ่มการเรียนภาคสมทบเสาร์-อาทิตย์คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ และสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ และหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหาร
กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.)ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๖ ณ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๖ จํานวน ๒๕๒ รูป/
คน โดยจําแนกเป็น บรรพชิตและคฤหัสถ์๑
ดังแสดงในรายละเอียดต่อไปนี้ 
 
ตาราง ๓.๑. การจัดสัดส่วนตามกลุ่มการเรียน 
 
ลําดับ คณะ จํานวนประชากรการวิจัยทั้งหมด
๑ กลุ่มการเรียนภาคปกติ ๑๑๒
๒ กลุ่มการเรียนภาคเสาร์-อาทิตย์ ๑๔๐
รวมจํานวนนักศึกษาทั้งสิ้น ๒๕๒
ประชากรทั้งหมดจํานวน ๒๕๒ รูป/คนแยกเป็นบรรพชิต ๑๙๒ รูป เป็นคฤหัสถ์ ๖๐ ราย เป็นเพศชาย
๒๐๒ รูป/คน เป็นเพศหญิง ๕๐ รูป/คน กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๑ มีจํานวน ๑๑๔ ราย กําลังศึกษา
อยู่ในช่วงชั้นที่ ๒ มีจํานวน ๖๕ ราย กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๓ มีจํานวน ๗๓ ราย ผู้ตอบ
                                                            
๑
งานทะเบียนและวัดผล, หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน
จ. นครปฐม ๑ กันยายน ๒๕๕๖
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๓๗
 
แบบสอบถามสังกัดสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ ๑๑๘ราย สังกัดสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ๑๐๔
ราย และ สังกัดสาขาวิชารัฐศาสตร์หลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.บส.) ๓๐ ราย ได้แจกแบบสอบถาม
จํานวน ๒๕๒ ฉบับแต่ได้รับกลับคืนมาเพียง ๒๕๐ ฉบับ คิดเป็น ๙๙.๒๑ เปอร์เซ็นต์ 
๓.๒ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 
๓.๒.๑. การสร้างเครื่องมือและการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ
๑. ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น โดยศึกษาจากทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อ
เป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือ
๒. สร้างเครื่องมือโดยการศึกษาหลักการสร้างแบบสอบถามและแบบตรวจรายการ
โดยกําหนดประเด็นและขอบเขตคําถามด้วยการจัดหมวดหมู่ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการ
วิจัย
๓. ทําการ Try out โดยแจกแบบสอบถามกับนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะ
สังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐมที่ จํานวน ๓๐ ชุด ของ
แบบสอบถาม เพื่อหาค่าความเที่ยงตรง (Reliability) โดยการคํานวณหาค่าความเชื่อมั่นตามสูตร
สัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient)๒
ได้ค่าสัมประสิทธ์เท่ากับ ๐.๘๙.
๔. ปรับปรุงเครื่องมือ แล้วนําไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูล  
๓.๒.๒. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เพศ ชั้นปี สาขาวิชาและคณะที่สังกัด
ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจรายการ (Check List)
ส่วนที่ ๒ สภาพการใช้อาคารและสถานที่ การใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ ใช้คําถามแบบ
มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ๓ ระดับ ได้แก่ สภาพสมบูรณ์ใช้การได้ดี สภาพไม่สมบูรณ์แต่
พอใช้การได้และควรปรับปรุงแก้ไข การใช้ประโยชน์มี ๓ ระดับ คือ การใช้ประโยชน์ในระดับมาก
น้อย และไม่มีการใช้ประโยชน์ 
                                                            
๒
Cronbach, Lee J. (1951). "Coefficient alpha and the internal structure of
tests". Psychometrika 16 (3): 297–334; Cronbach, Lee J. (1970). Essentials of Psychological Testing. Harper &
Row. p. 161.
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๓๘
 
ส่วนที่ ๓ ความพึงพอใจในการใช้อาคารสถานที่ ใช้คําถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) ๕ ระดับ๓
ได้แก่ ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และ
น้อยที่สุด ส่วนข้อเสนอแนะ ใช้แบบเติมคํา ดังตัวอย่าง 
 
ตัวอย่างแบบสอบถาม 
ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คําชี้แจง - โปรดเขียนเครื่องหมาย (√) ลงหน้าข้อความที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด  
๑. สถานภาพ ( ) บรรพชิต  ( ) คฤหัสถ์
๒. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง  
๓.ชั้นปี ( ) ชั้นปีที่ ๑ ( ) ชั้นปีที่ ๒ ( ) ชั้นปีที่ ๓  ( ) หลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.บส.)
๔. สาขาวิชาที่สังกัด ( ) การจัดการเชิงพุทธ ( ) รัฐประศาสนศาสตร์
ส่วนที่ ๒ แผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
คําชี้แจง-โปรดเขียนเครื่องหมาย (√) ลงหน้าข้อความที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด 
รายการ 
การใช้ประโยชน์
(p.ex)
สภาพการใช้งานจริง
(p.ac) 
Codes
มาก
น้อย
ไม่ใช้
Codes
ใช้การได้ดี
พอใช้
ควรปรับปรุง
๑.ผังบริเวณสถานศึกษา p1ex p1ac
๒.สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา p2ex p2ac
๓.อาคารเรียน p3ex p3ac
๔.ห้องเรียน p4ex p4ac
๕.สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน p5ex p5ac
๖.ห้องประชุมและห้องสัมมนา p6ex p6ac
๗.ห้องสมุด p7ex p7ac
๘.ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ p8ex p8ac
๙.ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา p9ex p9ac
๑๐.ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน p10ex p10ac
                                                            
๓
Likert, Rensis (1932). "A Technique for the Measurement of Attitudes". Archives of
Psychology 140: 1–55.
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๓๙
 
๑๑.ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา p11ex p11ac
๑๒.ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล p12ex p12ac
๑๓.โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม p13ex p13ac
๑๔.ห้องนํ้าห้องส้วม p14ex p14ac
๑๕.สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว p15ex p15ac
๑๖.ที่จอดรถ p16ex p16ac
๑๗.อื่นๆ (ระบุ)…………………… p17ex p17ac
ส่วนที่ ๓ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย
บริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม
คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย (√) ลงหน้าข้อความที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด โดยที่ ๕ หมายถึง พึง
พอใจมากที่สุด ๔ หมายถึง พึงพอใจมาก ๓ หมายถึง พึงพอใจปานกลาง ๒ หมายถึง พึงพอใจน้อย ๑
หมายถึง พึงพอใจน้อยที่สุด 
รายการ 
ระดับความพึงพอใจ
Codes ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
ก. อาคารเรียน A
๑. การจัดทําแผนผังอาคาร a1
๒. การจัดระบบแสงสว่างภายในอาคาร a2
๓. การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ในอาคารเรียน a3
๔. ความสะดวกในการใช้ประโยชน์  a4
๕. ห้องนํ้าห้องส้วมสําหรับนักศึกษา a5
ข. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ B
๖. มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี b6
๗. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้อง b7
๘.ห้องเรียนมีจํานวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษา b8
๙.โต๊ะเก้าอี้มีการจัดวางอย่างเป็นระเบียบ b9
๑๐. ห้องเรียนมีตารางการใช้อย่างชัดเจน b10
๑๑. บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ b11
๑๒. สื่ออุปกรณ์ที่สะดวกต่อการเรียนการสอน b12
๑๓. การจัดโต๊ะหมู่บูชาเพื่อสร้างการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรม b13
ค. บริเวณสถานศึกษา C
๑๔. การจัดทําแผนที่ตั้งบริเวณสถานศึกษา c14
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๔๐
 
ส่วนที่ ๓ (ต่อ)
รายการ 
ระดับความพึงพอใจ
Codes ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๑๕. สถานที่พักผ่อน c15
๑๖. พื้นที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ c16
๑๗. เครื่องหมายแสดงการจราจรภายในสถานศึกษา c17
๑๘. การบํารุงรักษาพื้นที่และบริเวณสวนและสนามให้ร่มรื่น c18
๑๙. การปรับปรุงภูมิทัศน์ c19
ง. ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ D
๒๐. มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี d20
๒๑. ความสะดวกในการค้นหาหนังสือและสิ่งพิมพ์ในห้องสมุด d21
๒๒. ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในห้องสมุด d22
๒๓. ความทันสมัยของหนังสือและเอกสารในห้องสมุด d23
๒๔. จํานวนหนังสือและเอกสารในห้องสมุด d24
๒๕. การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน์ วัสดุ อุปกรณ์ ภายในสํานักหอสมุด d25
๒๖. ห้องสมุดมีความสะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อย d26
๒๗. มีโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษา d27
๒๘. ความเพียงพอของจํานวนคอมพิวเตอร์ d28
๒๙. ความรวดเร็วของระบบอินเทอร์เน็ต d29
๓๐.ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ d30
จ. โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร E
๓๑. มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี e31
๓๒. การจัดวัสดุ อุปกรณ์ และการรักษาความสะอาด e32
๓๓. การจัดโต๊ะ เก้าอี้ภายในโรงอาหาร e33
ฉ. ห้องประชุมและห้องสัมมนา F
๓๔. มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี f34
๓๕.ห้องประชุมและห้องสัมมนามีจํานวนเพียงพอต่อการใช้งาน และ
สามารถรองรับการจัดกิจกรรมประเภทต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม f35
๓๖.ความพร้อมของห้องประชุมและห้องสัมมนา f36
๓๗. ห้องประชุมและห้องสัมมนามีความสะอาดเป็นระเบียบ f37
๓๘. สิ่งอํานวยความสะดวกมีประสิทธิภาพมีความทันสมัย และมีจํานวน
เพียงพอต่อการใช้งาน f38
๓๙. ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ f39
๔๐. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้องประชุม f40
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๔๑
 
ส่วนที่ ๓ (ต่อ)
รายการ 
ระดับความพึงพอใจ
Codes ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
ช. ห้องกิจกรรม G
๔๑. มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี g41
๔๒. การจัดวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และสิ่งอํานวยความสะดวก g42
๔๓. ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และการใช้บริการ g43
๔๔. การจัดบรรยากาศภายในห้องที่เอื้อต่อการใช้บริการ g44
๔๕. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้อง g45
ซ. การจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ H
๔๖. การดูแลรักษาห้องนํ้า ห้องส้วมให้สะอาด h46
๔๗. การจัดที่นั่งให้นักศึกษาพักผ่อนในเวลาว่าง h47
๔๘. การมีถังขยะที่แยกตามประเภทขยะ h48
๔๙. ระบบระบายนํ้าตามแนวถนน h49
๕๐. การจัดการไฟฟ้าภายในอาคาร เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม h50
๕๑. การจัดนํ้าเพื่อบริโภคในสถานศึกษา h51
๕๒. การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา เช่น ระบบโทรศัพท์
บอร์ดประชาสัมพันธ์ h52
ฐ. การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการ I
๕๓. มีระบบป้ องกันเพลิงไหม้และสัญญาณเตือนภัยต่างๆ อย่างเพียงพอ i53
๕๔. การให้บริการของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย i54
๕๕. ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยในหน่วยวิทยบริการสร้างความ
มั่นใจ ในความปลอดภัยให้แก่นักศึกษา i55
ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ความพึงพอใจของนิสิตนักศึกษาที่มีต่อหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร.
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จังหวัดนครปฐม
ปัญหา อุปสรรค: .......................................................................................................................................................... 
ข้อเสนอแนะอื่นๆ: ........................................................................................................................................................ 
 
 
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๔๒
 
๓.๓. การเก็บรวมรวมข้อมูล
ผู้วิจัยจะขอความร่วมมือจากหน่วยวิทยบริการเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากนิสิตนักศึกษา ผู้วิจัย
ทําการเก็บข้อมูลเอง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนและเที่ยงตรง ซึ่งผู้วิจัยได้ทําการเก็บรวบรวมข้อมูลใน
เดือน มกราคม ๒๕๕๗ จากนั้นตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของข้อมูลเพื่อนําไปวิเคราะห์ และ
แปรผลต่อไป
 
๓.๔. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยนําข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม มาทําการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย
โปรแกรมสําเร็จรูป โดยใช้สถิติในการวิจัยดังนี้ 
๑. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ข้อมูลพื้นฐานของจํานวนประชากร
ทั้งหมด สภาพการใช้อาคารและสถานที่ การใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ และระดับความพึง
พอใจต่อการใช้อาคารสถานที่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency)
ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้เป็นสถิติเบื้องต้นในการอภิปราย
ผล 
๒. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ใช้เป็นสถิติในการทดสอบความแตกต่างของ
เพศนักศึกษาโดยใช้สถิติ t-test และใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of
Variance) สําหรับชั้นปีและสาขาวิชาที่สังกัด ๔
 
๓. เกณฑ์การให้คะแนน 
ก. สภาพการใช้อาคารและสถานที่ 
สมบูรณ์ใช้การได้ดี คะแนนเท่ากับ  ๒
ไม่สมบูรณ์แต่พอใช้การได้ คะแนนเท่ากับ  ๑
ควรปรับปรุงแก้ไข คะแนนเท่ากับ  ๐
ข. การแปรผลสภาพการใช้อาคารและสถานที่๕
ค่าเฉลี่ย ๑.๕๑-๒.๐๐ = สภาพการใช้งานสมบูรณ์ใช้การได้ดี
                                                            
๔
สมบูรณ์ สุริยวงศ์และคณะ,(๒๕๔๔).ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
๕
Ibid/เรื่องเดียวกัน
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๔๓
 
ค่าเฉลี่ย ๐.๕๐-๑.๕๐ = สภาพการใช้งานไม่สมบูรณ์แต่พอใช้การได้
ค่าเฉลี่ย ๐.๐๐-๐.๔๙ = สภาพการใช้งานควรปรับปรุงแก้ไข
ค. เกณฑ์การให้คะแนนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่
ใช้ประโยชน์ในระดับมาก คะแนนเท่ากับ  ๒
ใช้ประโยชน์ในระดับน้อย คะแนนเท่ากับ  ๑
ไม่มีการใช้ประโยชน์ คะแนนเท่ากับ  ๐
ง. การแปรผลการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่๖
ค่าเฉลี่ย ๒.๓๔- ๓.๐๐ = ระดับการใช้ประโยชน์อยู่ในระดับมาก 
ค่าเฉลี่ย ๑.๖๗ -๒.๓๓ = ระดับการใช้ประโยชน์อยู่ในระดับน้อย 
ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐-๑.๖๖ = ไม่มีการใช้ประโยชน์
จ. เกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจ
พึงพอใจมากที่สุด คะแนนเท่ากับ ๕
พึงพอใจมาก คะแนนเท่ากับ ๔ 
พึงพอใจปานกลาง คะแนนเท่ากับ ๓ 
พึงพอใจน้อย คะแนนเท่ากับ ๒
พึงพอใจน้อยที่สุด คะแนนเท่ากับ ๑
ฉ. การแปรผลความพึงพอใจ๗
ค่าเฉลี่ย ๔.๕๑ – ๕.๐๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย ๓.๕๑ – ๔.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ย ๒.๕๑ – ๓.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
                                                            
๖
Ibid/เรื่องเดียวกัน
๗
Ibid/เรื่องเดียวกัน

More Related Content

What's hot

ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีcomed
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04Prachyanun Nilsook
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & FreewareBoonlert Aroonpiboon
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03Prachyanun Nilsook
 
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่Yota Bhikkhu
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01Prachyanun Nilsook
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เทวัญ ภูพานทอง
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมScott Tape
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606Angkana Potha
 
คำสั่งใหม่ 16 07-56.doc
คำสั่งใหม่ 16 07-56.docคำสั่งใหม่ 16 07-56.doc
คำสั่งใหม่ 16 07-56.docPochchara Tiamwong
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา06
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา06สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา06
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา06Prachyanun Nilsook
 
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)jjworapod
 

What's hot (20)

ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
SAR โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
 
Kamonchanok sankunta
Kamonchanok sankuntaKamonchanok sankunta
Kamonchanok sankunta
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
 
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์606
 
คำสั่งใหม่ 16 07-56.doc
คำสั่งใหม่ 16 07-56.docคำสั่งใหม่ 16 07-56.doc
คำสั่งใหม่ 16 07-56.doc
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา06
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา06สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา06
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา06
 
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)
ระบบสารสนเทศทางการศึกษา(ห้องสมุด)
 
Abc3.pdf
Abc3.pdfAbc3.pdf
Abc3.pdf
 

Viewers also liked

1.บทที่.1 บทนำ
1.บทที่.1 บทนำ1.บทที่.1 บทนำ
1.บทที่.1 บทนำYota Bhikkhu
 
Language and communication
Language and communicationLanguage and communication
Language and communicationYota Bhikkhu
 
Course syllabus basic english
Course syllabus basic englishCourse syllabus basic english
Course syllabus basic englishYota Bhikkhu
 
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2Yota Bhikkhu
 
English for political+science 9
English for political+science 9English for political+science 9
English for political+science 9Yota Bhikkhu
 
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeวินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeYota Bhikkhu
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์Yota Bhikkhu
 
Advance english 1[1]
Advance english 1[1]Advance english 1[1]
Advance english 1[1]Yota Bhikkhu
 
พระวินัย ความเข้าใจวินัยสงฆ์00
พระวินัย  ความเข้าใจวินัยสงฆ์00พระวินัย  ความเข้าใจวินัยสงฆ์00
พระวินัย ความเข้าใจวินัยสงฆ์00Yota Bhikkhu
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6Yota Bhikkhu
 
Advance english 4[1]
Advance english 4[1]Advance english 4[1]
Advance english 4[1]Yota Bhikkhu
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1Yota Bhikkhu
 
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสาร
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสารตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสาร
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสารYota Bhikkhu
 
การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์Yota Bhikkhu
 
English for political+science 9
English for political+science 9English for political+science 9
English for political+science 9Yota Bhikkhu
 
Advance english 2[1]
Advance english 2[1]Advance english 2[1]
Advance english 2[1]Yota Bhikkhu
 
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัยYota Bhikkhu
 
พระวินัยปิฎกศึกษา 1
พระวินัยปิฎกศึกษา 1พระวินัยปิฎกศึกษา 1
พระวินัยปิฎกศึกษา 1Yota Bhikkhu
 

Viewers also liked (19)

1.บทที่.1 บทนำ
1.บทที่.1 บทนำ1.บทที่.1 บทนำ
1.บทที่.1 บทนำ
 
Language and communication
Language and communicationLanguage and communication
Language and communication
 
Course syllabus basic english
Course syllabus basic englishCourse syllabus basic english
Course syllabus basic english
 
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2
 
English for political+science 9
English for political+science 9English for political+science 9
English for political+science 9
 
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeวินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
 
Advance english 1[1]
Advance english 1[1]Advance english 1[1]
Advance english 1[1]
 
พระวินัย ความเข้าใจวินัยสงฆ์00
พระวินัย  ความเข้าใจวินัยสงฆ์00พระวินัย  ความเข้าใจวินัยสงฆ์00
พระวินัย ความเข้าใจวินัยสงฆ์00
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6
 
Advance english 4[1]
Advance english 4[1]Advance english 4[1]
Advance english 4[1]
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
 
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสาร
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสารตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสาร
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสาร
 
การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
 
English for political+science 9
English for political+science 9English for political+science 9
English for political+science 9
 
Advance english 2[1]
Advance english 2[1]Advance english 2[1]
Advance english 2[1]
 
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย
 
พระวินัยปิฎกศึกษา 1
พระวินัยปิฎกศึกษา 1พระวินัยปิฎกศึกษา 1
พระวินัยปิฎกศึกษา 1
 

Similar to 3.บทที่.3 วิธีวิจัย

โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย ssuserd40879
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญThitiwat Paisan
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพkoyrattanasri
 
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...Kruthai Kidsdee
 
เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ Tay Chaloeykrai
 
คำที่มีตัวการันต์
คำที่มีตัวการันต์คำที่มีตัวการันต์
คำที่มีตัวการันต์Aunop Nop
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Lib Rru
 
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีcomed
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourismchickyshare
 
หนึ่งแสนครูดีทับทิมและศุภกิจ
หนึ่งแสนครูดีทับทิมและศุภกิจหนึ่งแสนครูดีทับทิมและศุภกิจ
หนึ่งแสนครูดีทับทิมและศุภกิจทับทิม เจริญตา
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าChanida Manonom
 

Similar to 3.บทที่.3 วิธีวิจัย (20)

โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
 
เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่
 
บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)
 
คำที่มีตัวการันต์
คำที่มีตัวการันต์คำที่มีตัวการันต์
คำที่มีตัวการันต์
 
job1-2
job1-2job1-2
job1-2
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีSar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
 
Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
หนึ่งแสนครูดีทับทิมและศุภกิจ
หนึ่งแสนครูดีทับทิมและศุภกิจหนึ่งแสนครูดีทับทิมและศุภกิจ
หนึ่งแสนครูดีทับทิมและศุภกิจ
 
case study 2
case study 2 case study 2
case study 2
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
 

3.บทที่.3 วิธีวิจัย

  • 1. บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย    การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของนิสิตนักศึกษาที่มีต่อหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ๓.๑ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ คือ นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีของหน่วยวิทย บริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ทั้งสองกลุ่มการ เรียน คือ กลุ่มการเรียนปกติ และกลุ่มการเรียนภาคสมทบเสาร์-อาทิตย์คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ และสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ และหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหาร กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.)ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๖ ณ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๖ จํานวน ๒๕๒ รูป/ คน โดยจําแนกเป็น บรรพชิตและคฤหัสถ์๑ ดังแสดงในรายละเอียดต่อไปนี้    ตาราง ๓.๑. การจัดสัดส่วนตามกลุ่มการเรียน    ลําดับ คณะ จํานวนประชากรการวิจัยทั้งหมด ๑ กลุ่มการเรียนภาคปกติ ๑๑๒ ๒ กลุ่มการเรียนภาคเสาร์-อาทิตย์ ๑๔๐ รวมจํานวนนักศึกษาทั้งสิ้น ๒๕๒ ประชากรทั้งหมดจํานวน ๒๕๒ รูป/คนแยกเป็นบรรพชิต ๑๙๒ รูป เป็นคฤหัสถ์ ๖๐ ราย เป็นเพศชาย ๒๐๒ รูป/คน เป็นเพศหญิง ๕๐ รูป/คน กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๑ มีจํานวน ๑๑๔ ราย กําลังศึกษา อยู่ในช่วงชั้นที่ ๒ มีจํานวน ๖๕ ราย กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๓ มีจํานวน ๗๓ ราย ผู้ตอบ                                                              ๑ งานทะเบียนและวัดผล, หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ๑ กันยายน ๒๕๕๖
  • 2. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๓๗   แบบสอบถามสังกัดสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ ๑๑๘ราย สังกัดสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ๑๐๔ ราย และ สังกัดสาขาวิชารัฐศาสตร์หลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.บส.) ๓๐ ราย ได้แจกแบบสอบถาม จํานวน ๒๕๒ ฉบับแต่ได้รับกลับคืนมาเพียง ๒๕๐ ฉบับ คิดเป็น ๙๙.๒๑ เปอร์เซ็นต์  ๓.๒ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  ๓.๒.๑. การสร้างเครื่องมือและการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ ๑. ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น โดยศึกษาจากทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อ เป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือ ๒. สร้างเครื่องมือโดยการศึกษาหลักการสร้างแบบสอบถามและแบบตรวจรายการ โดยกําหนดประเด็นและขอบเขตคําถามด้วยการจัดหมวดหมู่ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการ วิจัย ๓. ทําการ Try out โดยแจกแบบสอบถามกับนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะ สังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐมที่ จํานวน ๓๐ ชุด ของ แบบสอบถาม เพื่อหาค่าความเที่ยงตรง (Reliability) โดยการคํานวณหาค่าความเชื่อมั่นตามสูตร สัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient)๒ ได้ค่าสัมประสิทธ์เท่ากับ ๐.๘๙. ๔. ปรับปรุงเครื่องมือ แล้วนําไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูล   ๓.๒.๒. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เพศ ชั้นปี สาขาวิชาและคณะที่สังกัด ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจรายการ (Check List) ส่วนที่ ๒ สภาพการใช้อาคารและสถานที่ การใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ ใช้คําถามแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ๓ ระดับ ได้แก่ สภาพสมบูรณ์ใช้การได้ดี สภาพไม่สมบูรณ์แต่ พอใช้การได้และควรปรับปรุงแก้ไข การใช้ประโยชน์มี ๓ ระดับ คือ การใช้ประโยชน์ในระดับมาก น้อย และไม่มีการใช้ประโยชน์                                                               ๒ Cronbach, Lee J. (1951). "Coefficient alpha and the internal structure of tests". Psychometrika 16 (3): 297–334; Cronbach, Lee J. (1970). Essentials of Psychological Testing. Harper & Row. p. 161.
  • 3. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๓๘   ส่วนที่ ๓ ความพึงพอใจในการใช้อาคารสถานที่ ใช้คําถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ๕ ระดับ๓ ได้แก่ ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และ น้อยที่สุด ส่วนข้อเสนอแนะ ใช้แบบเติมคํา ดังตัวอย่าง    ตัวอย่างแบบสอบถาม  ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม คําชี้แจง - โปรดเขียนเครื่องหมาย (√) ลงหน้าข้อความที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด   ๑. สถานภาพ ( ) บรรพชิต  ( ) คฤหัสถ์ ๒. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง   ๓.ชั้นปี ( ) ชั้นปีที่ ๑ ( ) ชั้นปีที่ ๒ ( ) ชั้นปีที่ ๓  ( ) หลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.บส.) ๔. สาขาวิชาที่สังกัด ( ) การจัดการเชิงพุทธ ( ) รัฐประศาสนศาสตร์ ส่วนที่ ๒ แผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่ คําชี้แจง-โปรดเขียนเครื่องหมาย (√) ลงหน้าข้อความที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด  รายการ  การใช้ประโยชน์ (p.ex) สภาพการใช้งานจริง (p.ac)  Codes มาก น้อย ไม่ใช้ Codes ใช้การได้ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๑.ผังบริเวณสถานศึกษา p1ex p1ac ๒.สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา p2ex p2ac ๓.อาคารเรียน p3ex p3ac ๔.ห้องเรียน p4ex p4ac ๕.สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน p5ex p5ac ๖.ห้องประชุมและห้องสัมมนา p6ex p6ac ๗.ห้องสมุด p7ex p7ac ๘.ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ p8ex p8ac ๙.ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา p9ex p9ac ๑๐.ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน p10ex p10ac                                                              ๓ Likert, Rensis (1932). "A Technique for the Measurement of Attitudes". Archives of Psychology 140: 1–55.
  • 4. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๓๙   ๑๑.ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา p11ex p11ac ๑๒.ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล p12ex p12ac ๑๓.โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม p13ex p13ac ๑๔.ห้องนํ้าห้องส้วม p14ex p14ac ๑๕.สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว p15ex p15ac ๑๖.ที่จอดรถ p16ex p16ac ๑๗.อื่นๆ (ระบุ)…………………… p17ex p17ac ส่วนที่ ๓ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย บริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย (√) ลงหน้าข้อความที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด โดยที่ ๕ หมายถึง พึง พอใจมากที่สุด ๔ หมายถึง พึงพอใจมาก ๓ หมายถึง พึงพอใจปานกลาง ๒ หมายถึง พึงพอใจน้อย ๑ หมายถึง พึงพอใจน้อยที่สุด  รายการ  ระดับความพึงพอใจ Codes ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ก. อาคารเรียน A ๑. การจัดทําแผนผังอาคาร a1 ๒. การจัดระบบแสงสว่างภายในอาคาร a2 ๓. การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ในอาคารเรียน a3 ๔. ความสะดวกในการใช้ประโยชน์  a4 ๕. ห้องนํ้าห้องส้วมสําหรับนักศึกษา a5 ข. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ B ๖. มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี b6 ๗. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้อง b7 ๘.ห้องเรียนมีจํานวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษา b8 ๙.โต๊ะเก้าอี้มีการจัดวางอย่างเป็นระเบียบ b9 ๑๐. ห้องเรียนมีตารางการใช้อย่างชัดเจน b10 ๑๑. บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ b11 ๑๒. สื่ออุปกรณ์ที่สะดวกต่อการเรียนการสอน b12 ๑๓. การจัดโต๊ะหมู่บูชาเพื่อสร้างการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรม b13 ค. บริเวณสถานศึกษา C ๑๔. การจัดทําแผนที่ตั้งบริเวณสถานศึกษา c14
  • 5. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๔๐   ส่วนที่ ๓ (ต่อ) รายการ  ระดับความพึงพอใจ Codes ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๕. สถานที่พักผ่อน c15 ๑๖. พื้นที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ c16 ๑๗. เครื่องหมายแสดงการจราจรภายในสถานศึกษา c17 ๑๘. การบํารุงรักษาพื้นที่และบริเวณสวนและสนามให้ร่มรื่น c18 ๑๙. การปรับปรุงภูมิทัศน์ c19 ง. ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ D ๒๐. มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี d20 ๒๑. ความสะดวกในการค้นหาหนังสือและสิ่งพิมพ์ในห้องสมุด d21 ๒๒. ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในห้องสมุด d22 ๒๓. ความทันสมัยของหนังสือและเอกสารในห้องสมุด d23 ๒๔. จํานวนหนังสือและเอกสารในห้องสมุด d24 ๒๕. การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน์ วัสดุ อุปกรณ์ ภายในสํานักหอสมุด d25 ๒๖. ห้องสมุดมีความสะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อย d26 ๒๗. มีโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษา d27 ๒๘. ความเพียงพอของจํานวนคอมพิวเตอร์ d28 ๒๙. ความรวดเร็วของระบบอินเทอร์เน็ต d29 ๓๐.ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ d30 จ. โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร E ๓๑. มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี e31 ๓๒. การจัดวัสดุ อุปกรณ์ และการรักษาความสะอาด e32 ๓๓. การจัดโต๊ะ เก้าอี้ภายในโรงอาหาร e33 ฉ. ห้องประชุมและห้องสัมมนา F ๓๔. มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี f34 ๓๕.ห้องประชุมและห้องสัมมนามีจํานวนเพียงพอต่อการใช้งาน และ สามารถรองรับการจัดกิจกรรมประเภทต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม f35 ๓๖.ความพร้อมของห้องประชุมและห้องสัมมนา f36 ๓๗. ห้องประชุมและห้องสัมมนามีความสะอาดเป็นระเบียบ f37 ๓๘. สิ่งอํานวยความสะดวกมีประสิทธิภาพมีความทันสมัย และมีจํานวน เพียงพอต่อการใช้งาน f38 ๓๙. ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ f39 ๔๐. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้องประชุม f40
  • 6. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๔๑   ส่วนที่ ๓ (ต่อ) รายการ  ระดับความพึงพอใจ Codes ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ช. ห้องกิจกรรม G ๔๑. มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี g41 ๔๒. การจัดวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และสิ่งอํานวยความสะดวก g42 ๔๓. ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และการใช้บริการ g43 ๔๔. การจัดบรรยากาศภายในห้องที่เอื้อต่อการใช้บริการ g44 ๔๕. การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้อง g45 ซ. การจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ H ๔๖. การดูแลรักษาห้องนํ้า ห้องส้วมให้สะอาด h46 ๔๗. การจัดที่นั่งให้นักศึกษาพักผ่อนในเวลาว่าง h47 ๔๘. การมีถังขยะที่แยกตามประเภทขยะ h48 ๔๙. ระบบระบายนํ้าตามแนวถนน h49 ๕๐. การจัดการไฟฟ้าภายในอาคาร เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม h50 ๕๑. การจัดนํ้าเพื่อบริโภคในสถานศึกษา h51 ๕๒. การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา เช่น ระบบโทรศัพท์ บอร์ดประชาสัมพันธ์ h52 ฐ. การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการ I ๕๓. มีระบบป้ องกันเพลิงไหม้และสัญญาณเตือนภัยต่างๆ อย่างเพียงพอ i53 ๕๔. การให้บริการของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย i54 ๕๕. ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยในหน่วยวิทยบริการสร้างความ มั่นใจ ในความปลอดภัยให้แก่นักศึกษา i55 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ความพึงพอใจของนิสิตนักศึกษาที่มีต่อหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จังหวัดนครปฐม ปัญหา อุปสรรค: ..........................................................................................................................................................  ข้อเสนอแนะอื่นๆ: ........................................................................................................................................................     
  • 7. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๔๒   ๓.๓. การเก็บรวมรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะขอความร่วมมือจากหน่วยวิทยบริการเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากนิสิตนักศึกษา ผู้วิจัย ทําการเก็บข้อมูลเอง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนและเที่ยงตรง ซึ่งผู้วิจัยได้ทําการเก็บรวบรวมข้อมูลใน เดือน มกราคม ๒๕๕๗ จากนั้นตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของข้อมูลเพื่อนําไปวิเคราะห์ และ แปรผลต่อไป   ๓.๔. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยนําข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม มาทําการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรมสําเร็จรูป โดยใช้สถิติในการวิจัยดังนี้  ๑. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ข้อมูลพื้นฐานของจํานวนประชากร ทั้งหมด สภาพการใช้อาคารและสถานที่ การใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ และระดับความพึง พอใจต่อการใช้อาคารสถานที่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้เป็นสถิติเบื้องต้นในการอภิปราย ผล  ๒. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ใช้เป็นสถิติในการทดสอบความแตกต่างของ เพศนักศึกษาโดยใช้สถิติ t-test และใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance) สําหรับชั้นปีและสาขาวิชาที่สังกัด ๔   ๓. เกณฑ์การให้คะแนน  ก. สภาพการใช้อาคารและสถานที่  สมบูรณ์ใช้การได้ดี คะแนนเท่ากับ  ๒ ไม่สมบูรณ์แต่พอใช้การได้ คะแนนเท่ากับ  ๑ ควรปรับปรุงแก้ไข คะแนนเท่ากับ  ๐ ข. การแปรผลสภาพการใช้อาคารและสถานที่๕ ค่าเฉลี่ย ๑.๕๑-๒.๐๐ = สภาพการใช้งานสมบูรณ์ใช้การได้ดี                                                              ๔ สมบูรณ์ สุริยวงศ์และคณะ,(๒๕๔๔).ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. ๕ Ibid/เรื่องเดียวกัน
  • 8. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย / ๔๓   ค่าเฉลี่ย ๐.๕๐-๑.๕๐ = สภาพการใช้งานไม่สมบูรณ์แต่พอใช้การได้ ค่าเฉลี่ย ๐.๐๐-๐.๔๙ = สภาพการใช้งานควรปรับปรุงแก้ไข ค. เกณฑ์การให้คะแนนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ ใช้ประโยชน์ในระดับมาก คะแนนเท่ากับ  ๒ ใช้ประโยชน์ในระดับน้อย คะแนนเท่ากับ  ๑ ไม่มีการใช้ประโยชน์ คะแนนเท่ากับ  ๐ ง. การแปรผลการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่๖ ค่าเฉลี่ย ๒.๓๔- ๓.๐๐ = ระดับการใช้ประโยชน์อยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย ๑.๖๗ -๒.๓๓ = ระดับการใช้ประโยชน์อยู่ในระดับน้อย  ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐-๑.๖๖ = ไม่มีการใช้ประโยชน์ จ. เกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจ พึงพอใจมากที่สุด คะแนนเท่ากับ ๕ พึงพอใจมาก คะแนนเท่ากับ ๔  พึงพอใจปานกลาง คะแนนเท่ากับ ๓  พึงพอใจน้อย คะแนนเท่ากับ ๒ พึงพอใจน้อยที่สุด คะแนนเท่ากับ ๑ ฉ. การแปรผลความพึงพอใจ๗ ค่าเฉลี่ย ๔.๕๑ – ๕.๐๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากที่สุด ค่าเฉลี่ย ๓.๕๑ – ๔.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ๒.๕๑ – ๓.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด                                                              ๖ Ibid/เรื่องเดียวกัน ๗ Ibid/เรื่องเดียวกัน