SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง ความหมายของคอมพิวเตอร์
เสนอ
อ.ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
จัดทาโดย
นาย ชัชพงศ์ นาสา เลขที่ 13 ม.5/3
รายวิชา โปรแกรมสานักงานขั้นสูง ง. 30210
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี
ก
คานา
งานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของข้าพเจ้า ซึ่งข้าพเจ้าหวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อ น้องรุ่นหลัง
ซึ่งสามารถนามาใช้ประโยชน์หรือเป็นตัวอย่างในการทางานในรายวิชานี้ ซึ่งข้าพเจ้า
ก็หวังว่า งานชิ้นนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาต่อ
ข
สารบัญ
เนื้อหา
ประวัติของการคานวณโดยใช้คอมพิวเตอร์ .......................................................................................................2
คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีฟังก์ชันจากัด ...............................................................................................................2
ประเภทของคอมพิวเตอร์...............................................................................................................................4
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ..........................................................................................................4
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer).............................................................................................5
มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)................................................................................................................5
ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC) .........................................5
โน้ตบุ๊ค (notebook or laptop)..................................................................................................................6
เน็ตบุ๊ค (netbook or laptop).....................................................................................................................6
อัลตร้าบุ๊ค (Ultrabook)...............................................................................................................................7
แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (tablet computer).....................................................................................................7
ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์..................................................................................................................7
คอมพิวเตอร์ ...............................................................................................................................................8
ยุคของคอมพิวเตอร์......................................................................................................................................9
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจาวัน....................................................................................................................... 16
ค
สารบัญภาพ
ภาพที่ 1.................................................................................................................................................. 10
ภาพที่ 2.................................................................................................................................................. 11
ภาพที่ 3.................................................................................................................................................. 11
ภาพที่ 4.................................................................................................................................................. 13
ภาพที่ 5.................................................................................................................................................. 14
ภาพที่ 6.................................................................................................................................................. 15
ภาพที่ 7.................................................................................................................................................. 16
1
คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์ เป็น
เครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดาเนินการกับลาดับตัวดาเนินการทาง
ตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้
คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย
คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจารูปแบบต่าง ๆ เพื่อ
เก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดาเนินการคานวณเกี่ยวกับตัวดาเนินการทาง
ตรรกศาสตร์ และตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลง
ลาดับของตัวดาเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอม
ให้นาเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคานวณตัวดาเนินการออกไป
หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดาเนินการกับคาสั่งต่างๆ ที่คอยสั่งให้
อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คาสั่งต่างๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคาสั่งให้ระบบและ
สิ่งแวดล้อมรอบๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่
20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้อง
ขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่
หลายร้อยเครื่องรวมกัน
คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี
(Integrated circuit)โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และ
ขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาด
เล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงาน
จากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคาว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึง
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมี
คอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบิน
บังคับ และของเล่นชนิดต่างๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
2
ประวัติของการคานวณโดยใช้คอมพิวเตอร์
มีการบันทึกไว้ว่า ครั้งแรกที่มีการใช้คาว่า "คอมพิวเตอร์" คือเมื่อ ค.ศ. 1613 ซึ่ง
หมายถึงบุคคลที่ทาหน้าที่คาดการณ์ หรือคิดคานวณ และมีความหมายเช่นนี้เรื่อยมา
จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 และตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มา
ความหมายของคาว่าคอมพิวเตอร์นี้เริ่มมีใช้กับเครื่องจักรที่ทาหน้าที่คิดคานวณมากขึ้น
คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีฟังก์ชันจากัด
ประวัติของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่นั้นเริ่มต้นจากเทคโนโลยีสองชนิดที่แตกต่างกัน
ได้แก่ การคานวณโดยอัตโนมัติ กับการคานวณที่สามารถโปรแกรมได้ (หมายถึงสร้าง
วิธีการทางานและปรับแต่งได้) แต่ระบุแน่ชัดไม่ได้ว่าเทคโนโลยีชนิดใดเกิดขึ้นก่อน
ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการคานวณแต่ละชนิดนั้นไม่มีความสอดคล้องกัน อุปกรณ์บาง
ชนิดก็มีความสาคัญที่จะเอ่ยถึง อย่างเช่นเครื่องมือเชิงกลเพื่อการคานวณบางชนิดที่
ประสบความสาเร็จและยังใช้กันอยู่หลายศตวรรษก่อนที่จะมีเครื่องคิดเลข
อิเล็กทรอนิกส์ อาทิลูกคิดของชาวสุเมเรียนที่ถูกออกแบบขึ้นราว 2,500 ปีก่อน
คริสตกาล ชนะการแข่งขันความเร็วในการคานวณต่อเครื่องคานวณตั้งโต๊ะเมื่อ ค.ศ.
1946 ที่ประเทศญี่ปุ่น ต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1620 มีการประดิษฐ์สไลด์รูลซึ่ง
ถูกนาขึ้นยานอวกาศในภารกิจของโครงการอะพอลโลถึง 5 ครั้ง รวมถึงเมื่อครั้งที่
สารวจดวงจันทร์ด้วยนอกจากนี้ยังมี เครื่องทานายตาแหน่งดาว
ฤกษ์ (Astrolabe) และ กลไกอันติคือเธรา ซึ่งเป็นเครื่องคานวณ (คอมพิวเตอร์)
3
เกี่ยวกับดาราศาสตร์ยุคโบราณที่ชาวกรีกเป็นผู้สร้างขึ้นราว 80 คริสตกาล ที่มาของ
ระบบการสั่งการโปรแกรมเกิดขึ้นเมื่อ ฮีโรแห่งอเล็กซานเดรีย (c.10-70 AD)
นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกสร้างโรงละครที่ประกอบด้วยเครื่องจักร ใช้แสดงละครความ
ยาว 10 นาที และทางานโดยมีกลไกเชือกและอิฐบล็อกทรงกระบอกที่ซับซ้อน ซึ่ง
สามารถตัดสินใจเลือกได้ว่าจะชิ้นส่วนกลไกใดใช้ในการแสดงฉากใดและเมื่อใด
ราวๆ ปลายศตวรรษที่ 10 สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 นักบวชชาว
ฝรั่งเศส ได้นาลิ้นชักบรรจุอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่จะตอบคาถามได้ว่าใช่ หรือ ไม่ใช่ เมื่อ
ถูกถามคาถาม (ด้วยเลขฐานสอง) ซึ่งชาวมัวร์ประดิษฐ์ไว้กลับมาจากประเทศสเปน
ในศตวรรษที่ 13 นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส และโรเจอร์ เบคอน นักปราชญ์ชาว
อังกฤษ ได้สร้างหุ่นยนต์แอนดรอยด์ (android) พูดได้ โดยไม่ได้พัฒนาใดๆ ต่อ
อีก (นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส บ่นออกมาว่าเขาเสียเวลาเปล่าไป 40 ปีในชีวิต เมื่อ
นักบุญโทมัส อควีนาสตกใจกับเครื่องนี้และได้ทาลายมันเสีย)
บังเอิญ ระหว่างการพัฒนาเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ บิซิคอม ที่พัฒนาสืบต่อ
จากเครื่องคานวณเชิงกลโดยตรงในปี ค.ศ. 1642 แห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา มีการ
ประดิษฐ์เครื่องคานวณของปาสคาลซึ่งเป็นเครื่องคานวณตัวเลขเชิงกล เป็นอุปกรณ์ที่
จะสามารถคานวณโดยใช้ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์โดยไม่ต้องพึ่งสติปัญญามนุษย์
[
เครื่องคานวณเชิงกลนี้ยังถือเป็นรากฐานของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ในสองทาง
แรกเริ่มนั้น ความพยายามที่จะพัฒนาเครื่องคานวณที่มีสมรรถภาพสูงและยืดหยุ่น ซึ่ง
ทฤษฎีนี้ถูกสร้างโดยชาร์ลส แบบเบจ และได้รับการพัฒนาในเวลาต่อมา นาไปสู่การ
พัฒนาเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1960
และในขณะเดียวกัน อินเทล ก็สามารถประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งถือเป็นจุด
กาเนิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และเป็นหัวใจสาคัญของ
ระบบคอมพิวเตอร์หากไม่คานึงถึงขนาดและวัตถุประสงค์ ขึ้นได้โดย
4
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale
integrated circuit) ซึ่งสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว เราสามารถ
แบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภทดังต่อไปนี้
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพ
สูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพง
มาก มีขนาดใหญ่ สามารถคานวณทางคณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อวินาที และ
ได้รับการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทางวิทยาศาสตร์และทาง
วิศวกรรมศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน
การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อมซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ
แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาในการคานวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น
ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหาได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น
เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจาสูง ดังนั้น ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
จึงมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วย
ประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผล
หลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทางานหลายอย่างได้พร้อม ๆ กัน
5
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมี
ความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จานวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น
จึงสามารถใช้โปรแกรมจานวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่อง
เข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบัน องค์กรใหญ่ๆ เช่น
ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจาก
เครื่องฝากและถอนเงินแบบอัตโนมัติ (automatic teller machine)
เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการบริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก
มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)
มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งาน
ได้หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจานวนที่
เทียบเท่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้จึงทาให้มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสาหรับองค์กรขนาด
กลาง หรือสาหรับแผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น
ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal
computer หรือ PC)
ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop
computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น เช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook
computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer)
ไมโครคอมพิวเตอร์ได้เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้
6
จะมีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคาไม่แพงและมีขนาดกะทัดรัด
ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังเหมาะสาหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบ
สาหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และสานักงานสาหรับที่บ้าน เราสามารถใช้
ไมโครคอมพิวเตอร์ในการทางบประมาณรายรับรายจ่ายของครอบครัวช่วยทาการบ้าน
ของลูกๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การสื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์
(electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต
(internet phone) ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทาง
บันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สาหรับที่โรงเรียน เราสามารถ
ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอนนักเรียนในการค้นคว้าข้อมูลจากทั่วโลกสาหรับ
ที่สานักงาน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยพิมพ์จดหมายและข้อมูล
อื่นๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และทานายยอดซื้อขายล่วงหน้า
โน้ตบุ๊ค (notebook or laptop)
โน้ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อ
นาติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ในปัจจุบันมีขนาดพอๆกับสมุด
ที่ทาด้วยกระดาษ
เน็ตบุ๊ค (netbook or laptop)
เน็ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และเล็กกว่าโน้ตบุ๊ค
ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา
7
อัลตร้าบุ๊ค (Ultrabook)
อัลตร้าบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และมีขนาด
เท่ากับโน้ตบุ๊ค ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ และน้าหนักเบากว่า
โน้ตบุ๊ค และเน้นความสวยงาม ทันสมัย แปลกใหม่
แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (tablet computer)
แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แท็บเล็ต คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถ
ใช้ในขณะเคลื่อนที่ได้ขนาดกลางและใช้หน้าจอสัมผัสในการทางานเป็นอันดับแรก มี
คีย์บอร์ดเสมือนจริงหรือปากกาดิจิตอลในการใช้งานแทนที่แป้นพิมพ์คีย์บอร์ด และมี
ความหมายครอบคลุมถึงโน๊คบุ๊คแบบ convertible ที่มีหน้าจอแบบสัมผัสและมี
แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดติดมาด้วยไม่ว่าจะเป็นแบบหมุนหรือแบบสไลด์ก็ตาม
ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มีประโยชน์กับเรามากมาย เช่น
1.การใช้งานภาครัฐ งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่
การทาบัตรประจาตัวประชาชน งานภาษี เช่น ยื่นแบบประเมินภาษีภาษีผ่าน
อินเทอร์เน็ต เก็บทะเบียนประวัติผู้เสียภาษี ตรวจสอบการเสียภาษี
2.งานสายการบิน การสารองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร
3.ทางด้านการศึกษา สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่
อยู่ห่างไกล
4.ธุรกิจการนาเข้าสินค้าและส่งออก การทาธุรกิจแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
5.ธุรกิจธนาคาร ช่วยด้านงานข้อมูลธนาคาร รับ-จ่ายเงิน เก็บประวัติลูกค้า ธนาคาร
อิเล็กทรอนิกส์ การทาธุรกรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ
8
6.วิทยาศาสตร์และการแพทย์ การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้
วิจัย คานวณ และ การจาลองแบบ
7.งานสถาปนิก ช่วยออกแบบ เขียนแบบ หรือทาแบบจาลองสามมิติ
8.งานภาพยนตร์ การ์ตูน แอนิเมชัน ช่วยสร้างตัวการ์ตูนเคลื่อนไหว ออกแบบตัว
การ์ตูน จาลองตัวการ์ตูนสามมิติ การตัดต่อภาพยนตร์
9.งานด้านสถิติ ช่วยเก็บบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ จาลองแบบข้อมูล และการเผยแพร่
ข้อมูล
คอมพิวเตอร์
คือเครื่องมือหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (computer นิยมอ่านใน
ภาษาไทยว่า คอม-พิ้ว-เต้ออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสามารถในการคานวณอัตโนมัติ
ตามคาสั่ง ส่วนที่ใช้ประมวลผลเรียกว่าหน่วยประมวลผล ชุดของคาสั่งที่ระบุขั้นตอน
การคานวณเรียกว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอาจเป็นได้
ทั้ง ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ เสียง หรืออยู่ในรูปอื่น ๆ อีกมากมาย
ลักษณะทางกายภาพของคอมพิวเตอร์นั้นมีหลากหลาย มีทั้งขนาดที่ใหญ่มาก
จนต้องใช้ห้องทั้งห้องในการบรรจุ และขนาดเล็กจนวางได้บนฝ่ามือ การจัดแบ่ง
ประเภทของคอมพิวเตอร์สามารถจัดแบ่งได้ตามขนาดทางกายภาพเป็นสาคัญ ซึ่งมักจะ
แปลผันกับประสิทธิภาพความเร็วในการประมวลผล โดยขนาดคอมพิวเตอร์ที่มีขนาด
ใหญ่ที่สุดเรียกว่า ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ใช้กับการคานวณผลทางวิทยาศาสตร์ ขนาด
รองลงมาเรียกว่า เมนเฟรม มักใชัในบริษัทขนาดใหญ่ที่ต้องมีการประมวลผลธุรกรรม
ทางธุรกิจจานวนมากๆ สาหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้ในระดับบุคคล
9
เรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่พกพาได้
เรียกว่า คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ส่วนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถวางบนฝ่ามือได้
เรียกว่า พีดีเอ อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์มีใช้กันอย่างกว้างขวางมาก ซึ่งมีอุปกรณ์
หลายๆชนิดได้นาคอมพิวเตอร์ไปใช้เป็นกลไกหลักในการทางาน เช่น กล้อง
ดิจิทัล เครื่องเล่นเอ็มพีสาม หรือในรถยนต์เองก็มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ช่วยในการ
ตรวจสอบระบบการทางานของเครื่องยนต์
ยุคของคอมพิวเตอร์
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็น
คอมพิวเตอร์ที่ใช ้หลอดสุญญากาศซึ่งใช ้กาลังไฟฟ้าสูง
จึงมีปัญหาเรื่องความร ้อนและไส ้หลอดขาดบ่อย ถึงแม ้จะ
มีระบบระบายความร ้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช ้ภาษาเครื่อง
ซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยาก
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็น
คอมพิวเตอร์ที่ใช ้หลอดสุญญากาศซึ่งใช ้กาลังไฟฟ้าสูง
จึงมีปัญหาเรื่องความร ้อนและไส ้หลอดขาดบ่อย ถึงแม ้จะ
มีระบบระบายความร ้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช ้ภาษาเครื่อง
ซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์
ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิ
แอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
10
เช่น มาร์ค วัน (MARK I)
ภาพที่ 1
อีนิแอค (ENIAC)
11
ภาพที่ 2
ยูนิแวค (UNIVAC)
ภาพที่ 3
12
คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ.
2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช ้
ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจา
มีอุปกรณ์เก็บข ้อมูลสารองในรูปของสื่อบันทึก
แม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด ้านซอฟต์แวร์
ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด ้วย
ภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คน
สามารถเข ้าใจได ้เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล
เป็นต ้น ภาษาระดับสูงนี้ได ้มีการพัฒนาและใช ้งานมา
จนถึงปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหย่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ.
2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช ้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดย
วงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายใน
มากมายทาให ้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ ้อน
มากขึ้น และสามารถสร ้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการ
กาหนดชุดคาสั่งต่าง ๆ ทางด ้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบ
ควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการ
ทางานให ้กับงานหลาย ๆ อย่าง
13
คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ.
2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช ้
ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจา
มีอุปกรณ์เก็บข ้อมูลสารองในรูปของสื่อบันทึก
แม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด ้านซอฟต์แวร์
ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด ้วย
ภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คน
สามารถเข ้าใจได ้เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล
เป็นต ้น ภาษาระดับสูงนี้ได ้มีการพัฒนาและใช ้งานมา
จนถึงปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหย่าง
ปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็น
คอมพิวเตอร์ที่ใช ้วงจรรวม (Integrated
Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมี
ทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายใน
มากมายทาให ้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบ
ซับซ ้อนมากขึ้น และสามารถสร ้างเป็นโปรแกรมย่อย
ๆ ในการกาหนดชุดคาสั่งต่าง ๆ ทางด ้านซอฟต์แวร์ก็
มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่ง
เวลาการทางานให ้กับงานหลาย ๆ อย่าง
ภาพที่ 4
14
ภาพที่ 5
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน
เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช ้วงจรรวมความจุสูงมาก
(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์
ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทาให ้ขนาด
เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะ
ในสานักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋ าหิ้วไปในที่ต่าง
ๆ ได ้ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได ้พัฒนาขีด
ความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสาเร็จให ้
เลือกใช ้กันมากทาให ้เกิดความสะดวกในการใช ้งาน
อย่างกว ้างขวาง
15
ภาพที่ 6
คอมพิวเตอร์ยุคที่ห ้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์
พยายามนามาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก ้ปัญหา
ให ้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข ้าไว ้
ในเครื่อง สามารถเรียกค ้นและดึงความรู้ที่สะสมไว ้มา
ใช ้งานให ้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจาก
วิชาการด ้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence :
AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา
ญี่ปุ่ น และประเทศในทวีปยุโรปกาลังสนใจค ้นคว ้า
และพัฒนาทางด ้านนี้กันอย่างจริงจัง
คอมพิวเตอร์ ยุค 5
16
ภาพที่ 7
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจาวัน
ประมาณปี พ.ศ. 2500 คอมพิวเตอร์มีอยู่ในโลกนี้ไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะ
เป็นเครื่องในระบบเมนเฟรม ซึ่งมีขนาดใหญ่และราคาแพง ส่วนมากจะใช้งาน
ทางด้านวิทยาศาสตร์เท่านั้น ซึ่งจะไม่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากนัก แต่ใน
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้มีขนาดเล็กลง และ ราคาก็ไม่แพงนัก คนทั่วไปสามารถ
ซื้อหามาใช้ได้เหมือนกับเครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไป
ในหน่วยงานทั้งภาครัฐบาลและเอกชน ก็มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ใน
หน่วยงานขึ้น และมีแนวโน้มที่จะมีการใช้สูงขึ้น เหตุผลที่มีการนาคอมพิวเตอร์
มาใช้ในชีวิตประจาวันเพิ่มมากขึ้น คือ
1 . คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมาก เช่น เก็บข้อมูลงาน
ทะเบียนราษฏฐ์ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยซึ่งสามารถ
ตรวจสอบประ วัติของบุคคลต่างๆได้เป็นต้น
17
2 . คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้รวดเร็ว งานบางอย่างคอมพิวเตอร์จะทาได้
ในพริบตาในขณะที่ถ้าให้คนทาอาจจะต้องใช้เวลานา น
3 . คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้โดยไม่ต้องหยุดพัก คือทางานได้ตลอดเวลา
ในขณะที่ยังต้องมีไฟฟ้าอยู่
4 . คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างถูกต้องและแม่นยา ถ้ามีการกาหนด
โปรแกรมทางานที่ถูกต้อง จะไม่มีการทางานผิดพลาดขึ้นมา
5 .คอมพิวเตอร์สามารถทางานแบบคนได้ในสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อ
สุขภาพร่างกาย เช่น ที่มีก๊าซพิษ กัมมันตภาพรังสี หรือในงานที่มีความเสี่ยงสูง
ในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานต่างๆ
18
บรรณานุกรม
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B
8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%8
1%E0%B8%A7%E0%B8%84+(UNIVAC)&espv=2&biw=1600&bih=756&tbm=isch&tbo=u&source=univ
&sa=X&ei=portVM30DIa-uAT03IDgCw&ved=0CCgQsAQ

More Related Content

What's hot

หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์N'Ice Thnaphop
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์พัน พัน
 
สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์
สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์
สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์พัน พัน
 

What's hot (20)

หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์
สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์
สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
รายงานO
รายงานOรายงานO
รายงานO
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
689 1
689 1689 1
689 1
 

Similar to ความหมายของคอมพิวเตอร์

ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์อาย อาย
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Borinya Thongmanee
 
มิสเขม6
มิสเขม6มิสเขม6
มิสเขม6nutty_npk
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Amr TK
 
Pimploy wongjam
Pimploy wongjamPimploy wongjam
Pimploy wongjamPim Ploy
 
งานคอม 1
งานคอม 1งานคอม 1
งานคอม 1Pompao
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
Teerayut28691
Teerayut28691Teerayut28691
Teerayut28691U'sei TP
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Navapat Arbsuwan
 
Patraporn615 16โครงงานคอมพิวเตอร์
Patraporn615 16โครงงานคอมพิวเตอร์Patraporn615 16โครงงานคอมพิวเตอร์
Patraporn615 16โครงงานคอมพิวเตอร์nammint
 
ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14rohanlathel
 
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10พัน พัน
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจAnnop Phetchakhong
 

Similar to ความหมายของคอมพิวเตอร์ (20)

ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
มิสเขม6
มิสเขม6มิสเขม6
มิสเขม6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Pimploy wongjam
Pimploy wongjamPimploy wongjam
Pimploy wongjam
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติใบงาน   แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
 
งานคอม 1
งานคอม 1งานคอม 1
งานคอม 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แปดท ศเม องลำพ_น (1)
แปดท ศเม องลำพ_น (1)แปดท ศเม องลำพ_น (1)
แปดท ศเม องลำพ_น (1)
 
แปดท ศเม องลำพ_น (1)
แปดท ศเม องลำพ_น (1)แปดท ศเม องลำพ_น (1)
แปดท ศเม องลำพ_น (1)
 
Teerayut28691
Teerayut28691Teerayut28691
Teerayut28691
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
add new
add newadd new
add new
 
Patraporn615 16โครงงานคอมพิวเตอร์
Patraporn615 16โครงงานคอมพิวเตอร์Patraporn615 16โครงงานคอมพิวเตอร์
Patraporn615 16โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Kamonchanok sankunta 22
Kamonchanok sankunta 22Kamonchanok sankunta 22
Kamonchanok sankunta 22
 
ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนพัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 

ความหมายของคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื่อง ความหมายของคอมพิวเตอร์ เสนอ อ.ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม จัดทาโดย นาย ชัชพงศ์ นาสา เลขที่ 13 ม.5/3 รายวิชา โปรแกรมสานักงานขั้นสูง ง. 30210 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 3. ข สารบัญ เนื้อหา ประวัติของการคานวณโดยใช้คอมพิวเตอร์ .......................................................................................................2 คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีฟังก์ชันจากัด ...............................................................................................................2 ประเภทของคอมพิวเตอร์...............................................................................................................................4 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ..........................................................................................................4 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer).............................................................................................5 มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)................................................................................................................5 ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC) .........................................5 โน้ตบุ๊ค (notebook or laptop)..................................................................................................................6 เน็ตบุ๊ค (netbook or laptop).....................................................................................................................6 อัลตร้าบุ๊ค (Ultrabook)...............................................................................................................................7 แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (tablet computer).....................................................................................................7 ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์..................................................................................................................7 คอมพิวเตอร์ ...............................................................................................................................................8 ยุคของคอมพิวเตอร์......................................................................................................................................9 คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจาวัน....................................................................................................................... 16
  • 4. ค สารบัญภาพ ภาพที่ 1.................................................................................................................................................. 10 ภาพที่ 2.................................................................................................................................................. 11 ภาพที่ 3.................................................................................................................................................. 11 ภาพที่ 4.................................................................................................................................................. 13 ภาพที่ 5.................................................................................................................................................. 14 ภาพที่ 6.................................................................................................................................................. 15 ภาพที่ 7.................................................................................................................................................. 16
  • 5. 1 คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์ เป็น เครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดาเนินการกับลาดับตัวดาเนินการทาง ตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้ คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจารูปแบบต่าง ๆ เพื่อ เก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดาเนินการคานวณเกี่ยวกับตัวดาเนินการทาง ตรรกศาสตร์ และตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลง ลาดับของตัวดาเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอม ให้นาเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคานวณตัวดาเนินการออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดาเนินการกับคาสั่งต่างๆ ที่คอยสั่งให้ อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คาสั่งต่างๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคาสั่งให้ระบบและ สิ่งแวดล้อมรอบๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้อง ขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่ หลายร้อยเครื่องรวมกัน คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit)โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และ ขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาด เล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงาน จากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคาว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมี คอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบิน บังคับ และของเล่นชนิดต่างๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
  • 6. 2 ประวัติของการคานวณโดยใช้คอมพิวเตอร์ มีการบันทึกไว้ว่า ครั้งแรกที่มีการใช้คาว่า "คอมพิวเตอร์" คือเมื่อ ค.ศ. 1613 ซึ่ง หมายถึงบุคคลที่ทาหน้าที่คาดการณ์ หรือคิดคานวณ และมีความหมายเช่นนี้เรื่อยมา จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 และตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มา ความหมายของคาว่าคอมพิวเตอร์นี้เริ่มมีใช้กับเครื่องจักรที่ทาหน้าที่คิดคานวณมากขึ้น คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีฟังก์ชันจากัด ประวัติของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่นั้นเริ่มต้นจากเทคโนโลยีสองชนิดที่แตกต่างกัน ได้แก่ การคานวณโดยอัตโนมัติ กับการคานวณที่สามารถโปรแกรมได้ (หมายถึงสร้าง วิธีการทางานและปรับแต่งได้) แต่ระบุแน่ชัดไม่ได้ว่าเทคโนโลยีชนิดใดเกิดขึ้นก่อน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการคานวณแต่ละชนิดนั้นไม่มีความสอดคล้องกัน อุปกรณ์บาง ชนิดก็มีความสาคัญที่จะเอ่ยถึง อย่างเช่นเครื่องมือเชิงกลเพื่อการคานวณบางชนิดที่ ประสบความสาเร็จและยังใช้กันอยู่หลายศตวรรษก่อนที่จะมีเครื่องคิดเลข อิเล็กทรอนิกส์ อาทิลูกคิดของชาวสุเมเรียนที่ถูกออกแบบขึ้นราว 2,500 ปีก่อน คริสตกาล ชนะการแข่งขันความเร็วในการคานวณต่อเครื่องคานวณตั้งโต๊ะเมื่อ ค.ศ. 1946 ที่ประเทศญี่ปุ่น ต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1620 มีการประดิษฐ์สไลด์รูลซึ่ง ถูกนาขึ้นยานอวกาศในภารกิจของโครงการอะพอลโลถึง 5 ครั้ง รวมถึงเมื่อครั้งที่ สารวจดวงจันทร์ด้วยนอกจากนี้ยังมี เครื่องทานายตาแหน่งดาว ฤกษ์ (Astrolabe) และ กลไกอันติคือเธรา ซึ่งเป็นเครื่องคานวณ (คอมพิวเตอร์)
  • 7. 3 เกี่ยวกับดาราศาสตร์ยุคโบราณที่ชาวกรีกเป็นผู้สร้างขึ้นราว 80 คริสตกาล ที่มาของ ระบบการสั่งการโปรแกรมเกิดขึ้นเมื่อ ฮีโรแห่งอเล็กซานเดรีย (c.10-70 AD) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกสร้างโรงละครที่ประกอบด้วยเครื่องจักร ใช้แสดงละครความ ยาว 10 นาที และทางานโดยมีกลไกเชือกและอิฐบล็อกทรงกระบอกที่ซับซ้อน ซึ่ง สามารถตัดสินใจเลือกได้ว่าจะชิ้นส่วนกลไกใดใช้ในการแสดงฉากใดและเมื่อใด ราวๆ ปลายศตวรรษที่ 10 สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 นักบวชชาว ฝรั่งเศส ได้นาลิ้นชักบรรจุอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่จะตอบคาถามได้ว่าใช่ หรือ ไม่ใช่ เมื่อ ถูกถามคาถาม (ด้วยเลขฐานสอง) ซึ่งชาวมัวร์ประดิษฐ์ไว้กลับมาจากประเทศสเปน ในศตวรรษที่ 13 นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส และโรเจอร์ เบคอน นักปราชญ์ชาว อังกฤษ ได้สร้างหุ่นยนต์แอนดรอยด์ (android) พูดได้ โดยไม่ได้พัฒนาใดๆ ต่อ อีก (นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส บ่นออกมาว่าเขาเสียเวลาเปล่าไป 40 ปีในชีวิต เมื่อ นักบุญโทมัส อควีนาสตกใจกับเครื่องนี้และได้ทาลายมันเสีย) บังเอิญ ระหว่างการพัฒนาเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ บิซิคอม ที่พัฒนาสืบต่อ จากเครื่องคานวณเชิงกลโดยตรงในปี ค.ศ. 1642 แห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา มีการ ประดิษฐ์เครื่องคานวณของปาสคาลซึ่งเป็นเครื่องคานวณตัวเลขเชิงกล เป็นอุปกรณ์ที่ จะสามารถคานวณโดยใช้ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์โดยไม่ต้องพึ่งสติปัญญามนุษย์ [ เครื่องคานวณเชิงกลนี้ยังถือเป็นรากฐานของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ในสองทาง แรกเริ่มนั้น ความพยายามที่จะพัฒนาเครื่องคานวณที่มีสมรรถภาพสูงและยืดหยุ่น ซึ่ง ทฤษฎีนี้ถูกสร้างโดยชาร์ลส แบบเบจ และได้รับการพัฒนาในเวลาต่อมา นาไปสู่การ พัฒนาเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1960 และในขณะเดียวกัน อินเทล ก็สามารถประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งถือเป็นจุด กาเนิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และเป็นหัวใจสาคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์หากไม่คานึงถึงขนาดและวัตถุประสงค์ ขึ้นได้โดย
  • 8. 4 ประเภทของคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale integrated circuit) ซึ่งสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว เราสามารถ แบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภทดังต่อไปนี้ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพ สูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพง มาก มีขนาดใหญ่ สามารถคานวณทางคณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อวินาที และ ได้รับการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทางวิทยาศาสตร์และทาง วิศวกรรมศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อมซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาในการคานวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหาได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจาสูง ดังนั้น ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ จึงมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วย ประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผล หลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทางานหลายอย่างได้พร้อม ๆ กัน
  • 9. 5 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมี ความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จานวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจานวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่อง เข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบัน องค์กรใหญ่ๆ เช่น ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจาก เครื่องฝากและถอนเงินแบบอัตโนมัติ (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการบริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งาน ได้หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจานวนที่ เทียบเท่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้จึงทาให้มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสาหรับองค์กรขนาด กลาง หรือสาหรับแผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC) ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น เช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ได้เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้
  • 10. 6 จะมีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคาไม่แพงและมีขนาดกะทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังเหมาะสาหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบ สาหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และสานักงานสาหรับที่บ้าน เราสามารถใช้ ไมโครคอมพิวเตอร์ในการทางบประมาณรายรับรายจ่ายของครอบครัวช่วยทาการบ้าน ของลูกๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การสื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต (internet phone) ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทาง บันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สาหรับที่โรงเรียน เราสามารถ ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอนนักเรียนในการค้นคว้าข้อมูลจากทั่วโลกสาหรับ ที่สานักงาน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยพิมพ์จดหมายและข้อมูล อื่นๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และทานายยอดซื้อขายล่วงหน้า โน้ตบุ๊ค (notebook or laptop) โน้ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อ นาติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ในปัจจุบันมีขนาดพอๆกับสมุด ที่ทาด้วยกระดาษ เน็ตบุ๊ค (netbook or laptop) เน็ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และเล็กกว่าโน้ตบุ๊ค ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา
  • 11. 7 อัลตร้าบุ๊ค (Ultrabook) อัลตร้าบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และมีขนาด เท่ากับโน้ตบุ๊ค ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ และน้าหนักเบากว่า โน้ตบุ๊ค และเน้นความสวยงาม ทันสมัย แปลกใหม่ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (tablet computer) แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แท็บเล็ต คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถ ใช้ในขณะเคลื่อนที่ได้ขนาดกลางและใช้หน้าจอสัมผัสในการทางานเป็นอันดับแรก มี คีย์บอร์ดเสมือนจริงหรือปากกาดิจิตอลในการใช้งานแทนที่แป้นพิมพ์คีย์บอร์ด และมี ความหมายครอบคลุมถึงโน๊คบุ๊คแบบ convertible ที่มีหน้าจอแบบสัมผัสและมี แป้นพิมพ์คีย์บอร์ดติดมาด้วยไม่ว่าจะเป็นแบบหมุนหรือแบบสไลด์ก็ตาม ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มีประโยชน์กับเรามากมาย เช่น 1.การใช้งานภาครัฐ งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่ การทาบัตรประจาตัวประชาชน งานภาษี เช่น ยื่นแบบประเมินภาษีภาษีผ่าน อินเทอร์เน็ต เก็บทะเบียนประวัติผู้เสียภาษี ตรวจสอบการเสียภาษี 2.งานสายการบิน การสารองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร 3.ทางด้านการศึกษา สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่ อยู่ห่างไกล 4.ธุรกิจการนาเข้าสินค้าและส่งออก การทาธุรกิจแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 5.ธุรกิจธนาคาร ช่วยด้านงานข้อมูลธนาคาร รับ-จ่ายเงิน เก็บประวัติลูกค้า ธนาคาร อิเล็กทรอนิกส์ การทาธุรกรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ
  • 12. 8 6.วิทยาศาสตร์และการแพทย์ การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้ วิจัย คานวณ และ การจาลองแบบ 7.งานสถาปนิก ช่วยออกแบบ เขียนแบบ หรือทาแบบจาลองสามมิติ 8.งานภาพยนตร์ การ์ตูน แอนิเมชัน ช่วยสร้างตัวการ์ตูนเคลื่อนไหว ออกแบบตัว การ์ตูน จาลองตัวการ์ตูนสามมิติ การตัดต่อภาพยนตร์ 9.งานด้านสถิติ ช่วยเก็บบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ จาลองแบบข้อมูล และการเผยแพร่ ข้อมูล คอมพิวเตอร์ คือเครื่องมือหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (computer นิยมอ่านใน ภาษาไทยว่า คอม-พิ้ว-เต้ออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสามารถในการคานวณอัตโนมัติ ตามคาสั่ง ส่วนที่ใช้ประมวลผลเรียกว่าหน่วยประมวลผล ชุดของคาสั่งที่ระบุขั้นตอน การคานวณเรียกว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอาจเป็นได้ ทั้ง ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ เสียง หรืออยู่ในรูปอื่น ๆ อีกมากมาย ลักษณะทางกายภาพของคอมพิวเตอร์นั้นมีหลากหลาย มีทั้งขนาดที่ใหญ่มาก จนต้องใช้ห้องทั้งห้องในการบรรจุ และขนาดเล็กจนวางได้บนฝ่ามือ การจัดแบ่ง ประเภทของคอมพิวเตอร์สามารถจัดแบ่งได้ตามขนาดทางกายภาพเป็นสาคัญ ซึ่งมักจะ แปลผันกับประสิทธิภาพความเร็วในการประมวลผล โดยขนาดคอมพิวเตอร์ที่มีขนาด ใหญ่ที่สุดเรียกว่า ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ใช้กับการคานวณผลทางวิทยาศาสตร์ ขนาด รองลงมาเรียกว่า เมนเฟรม มักใชัในบริษัทขนาดใหญ่ที่ต้องมีการประมวลผลธุรกรรม ทางธุรกิจจานวนมากๆ สาหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้ในระดับบุคคล
  • 13. 9 เรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่พกพาได้ เรียกว่า คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ส่วนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถวางบนฝ่ามือได้ เรียกว่า พีดีเอ อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์มีใช้กันอย่างกว้างขวางมาก ซึ่งมีอุปกรณ์ หลายๆชนิดได้นาคอมพิวเตอร์ไปใช้เป็นกลไกหลักในการทางาน เช่น กล้อง ดิจิทัล เครื่องเล่นเอ็มพีสาม หรือในรถยนต์เองก็มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ช่วยในการ ตรวจสอบระบบการทางานของเครื่องยนต์ ยุคของคอมพิวเตอร์ อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็น คอมพิวเตอร์ที่ใช ้หลอดสุญญากาศซึ่งใช ้กาลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร ้อนและไส ้หลอดขาดบ่อย ถึงแม ้จะ มีระบบระบายความร ้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช ้ภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยาก อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็น คอมพิวเตอร์ที่ใช ้หลอดสุญญากาศซึ่งใช ้กาลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร ้อนและไส ้หลอดขาดบ่อย ถึงแม ้จะ มีระบบระบายความร ้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช ้ภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิ แอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
  • 14. 10 เช่น มาร์ค วัน (MARK I) ภาพที่ 1 อีนิแอค (ENIAC)
  • 16. 12 คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช ้ ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจา มีอุปกรณ์เก็บข ้อมูลสารองในรูปของสื่อบันทึก แม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด ้านซอฟต์แวร์ ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด ้วย ภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คน สามารถเข ้าใจได ้เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต ้น ภาษาระดับสูงนี้ได ้มีการพัฒนาและใช ้งานมา จนถึงปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหย่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช ้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดย วงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายใน มากมายทาให ้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ ้อน มากขึ้น และสามารถสร ้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการ กาหนดชุดคาสั่งต่าง ๆ ทางด ้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบ ควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการ ทางานให ้กับงานหลาย ๆ อย่าง
  • 17. 13 คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช ้ ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจา มีอุปกรณ์เก็บข ้อมูลสารองในรูปของสื่อบันทึก แม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด ้านซอฟต์แวร์ ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด ้วย ภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คน สามารถเข ้าใจได ้เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต ้น ภาษาระดับสูงนี้ได ้มีการพัฒนาและใช ้งานมา จนถึงปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหย่าง ปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็น คอมพิวเตอร์ที่ใช ้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมี ทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายใน มากมายทาให ้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบ ซับซ ้อนมากขึ้น และสามารถสร ้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกาหนดชุดคาสั่งต่าง ๆ ทางด ้านซอฟต์แวร์ก็ มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่ง เวลาการทางานให ้กับงานหลาย ๆ อย่าง ภาพที่ 4
  • 18. 14 ภาพที่ 5 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช ้วงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทาให ้ขนาด เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะ ในสานักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋ าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได ้ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได ้พัฒนาขีด ความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสาเร็จให ้ เลือกใช ้กันมากทาให ้เกิดความสะดวกในการใช ้งาน อย่างกว ้างขวาง
  • 19. 15 ภาพที่ 6 คอมพิวเตอร์ยุคที่ห ้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์ พยายามนามาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก ้ปัญหา ให ้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข ้าไว ้ ในเครื่อง สามารถเรียกค ้นและดึงความรู้ที่สะสมไว ้มา ใช ้งานให ้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจาก วิชาการด ้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่ น และประเทศในทวีปยุโรปกาลังสนใจค ้นคว ้า และพัฒนาทางด ้านนี้กันอย่างจริงจัง คอมพิวเตอร์ ยุค 5
  • 20. 16 ภาพที่ 7 คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจาวัน ประมาณปี พ.ศ. 2500 คอมพิวเตอร์มีอยู่ในโลกนี้ไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะ เป็นเครื่องในระบบเมนเฟรม ซึ่งมีขนาดใหญ่และราคาแพง ส่วนมากจะใช้งาน ทางด้านวิทยาศาสตร์เท่านั้น ซึ่งจะไม่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากนัก แต่ใน ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้มีขนาดเล็กลง และ ราคาก็ไม่แพงนัก คนทั่วไปสามารถ ซื้อหามาใช้ได้เหมือนกับเครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไป ในหน่วยงานทั้งภาครัฐบาลและเอกชน ก็มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ใน หน่วยงานขึ้น และมีแนวโน้มที่จะมีการใช้สูงขึ้น เหตุผลที่มีการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ในชีวิตประจาวันเพิ่มมากขึ้น คือ 1 . คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมาก เช่น เก็บข้อมูลงาน ทะเบียนราษฏฐ์ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยซึ่งสามารถ ตรวจสอบประ วัติของบุคคลต่างๆได้เป็นต้น
  • 21. 17 2 . คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้รวดเร็ว งานบางอย่างคอมพิวเตอร์จะทาได้ ในพริบตาในขณะที่ถ้าให้คนทาอาจจะต้องใช้เวลานา น 3 . คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้โดยไม่ต้องหยุดพัก คือทางานได้ตลอดเวลา ในขณะที่ยังต้องมีไฟฟ้าอยู่ 4 . คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างถูกต้องและแม่นยา ถ้ามีการกาหนด โปรแกรมทางานที่ถูกต้อง จะไม่มีการทางานผิดพลาดขึ้นมา 5 .คอมพิวเตอร์สามารถทางานแบบคนได้ในสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อ สุขภาพร่างกาย เช่น ที่มีก๊าซพิษ กัมมันตภาพรังสี หรือในงานที่มีความเสี่ยงสูง ในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น บทบาทของคอมพิวเตอร์ในงานต่างๆ