SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติให้นับสารนิพนธ์ฉบับนี้
เป็นส่วนหนึ่งของการสอบวัดคุณสมบัติรายวิชา พระพุทธศาสนากับวิทยาการโลกยุคใหม่ ตาม
หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
..............................................
(พระสุธีธรรมานุวัตร,ผศ.ดร.)
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
คณะกรรมการตรวจสอบสารนิพนธ์ ............................................ประธานกรรมการ
(พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร,ดร.)
............................................กรรมการ
(ดร. นันทพล โรจนโกศล)
............................................กรรมการ
(ดร. ประพันธ์ ศุภษร)
อาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์ ดร. นันทพล โรจนโกศล
ชื่อสารนิพนธ์ : การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบการปรับพฤติกรรมมนุษย์ตามหลัก
ข
ของแบนดูร่ากับหลักกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท
ผู้วิจัย : พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร (คากมล)
ปริญญา : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)
อาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์ : ดร. นันทพล โรจนโกศล วศ.บ. พธ.ม., พธ.ด.
วันเสร็จสมบูรณ์ :
บทคัดย่อ
การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบการปรับพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของแบนดูร่ากับ
หลักกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนา มีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ ๑. เพื่อศึกษารูปแบบการปรับ
พฤติกรรมตามหลักของแบนดูร่า ๒. เพื่อศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมตามหลักของ
พระพุทธศาสนา ๓. เพื่อศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบการปรับพฤติกรรมของแบนดูร่ากับรูปแบบ
การปรับพฤติกรรมตามหลักพระพุทธศาสนา
ผลจากการศึกษาพอสรุปได้ดังนี้
ความหมายของพฤติกรรม การปรับพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของแบนดูร่ากับการปรับ
พฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของพระพุทธศาสนามีความหมายเหมือนกัน คือ หมายถึงการกระทา
กิจกรรมต่าง ๆ ที่สามารถมองเห็นได้ ถึงแม้พฤติกรรมบางอย่างที่ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่ศาสตร์
สมัยใหม่ก็มีเครื่องมือวัดได้ ในฝ่ายของพระพุทธศาสนาก็สามารถสัมผัสได้ด้วยใจของผู้มีคุณวิเศษคือผู้
ได้ปรวิชานนอภิญญา ที่สามารถรู้วาระจิตของคนอื่นได้
ประเภทของพฤติกรรม
ความเหมือนกัน พระพุทธศาสนาและแบนดูร่าแยกประเภทของพฤติกรรมออกเป็น ๒
ประเภทใหญ่ ๆ คือ พฤติกรรมภายนอกกับพฤติกรรมภายใน ถึงแม้พระพุทธศาสนาจะแบ่งแหล่งที่เกิด
ของพฤติกรรมออกเป็น ๓ ทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ก็ตาม เมื่อพิจารณาสรุปแล้วก็ย่อลง
ค
เป็น ๒ ประเภทเหมือนกันคือ พฤติกรรมทางกาย และวาจา จัดเป็นพฤติกรรมภายนอก พฤติกรรมทาง
ใจ จัดเป็นพฤติกรรมภายใน แบนดูร่าเน้นพฤติกรรมทางใจเป็นสาคัญเช่นเดียวกับพระพุทธศาสนา
ความต่างกัน แบนดูร่าได้ทาการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ที่มีผลในปัจจุบันคือสังเกตเห็นได้
ด้วยตาเปล่าไม่ได้ศึกษาลึกลงไปถึงเหตุที่ทาให้เกิดพฤติกรรมในปัจจุบันและผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ในภพชาติต่อไป แต่พระพุทธศาสนาศึกษาครบทั้ง ๓ กาล คือเหตุในอดีตกาลที่ทาให้เกิดผลในปัจจุบัน
และจะเกิดในอนาคตทั้งในภพนี้และภพหน้า
แนวทัศนะเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา
ความเหมือนกัน ทั้งพระพุทธศาสนาและแบนดูร่า มีแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมเหมือนกัน
ตรงที่องค์ประกอบ ๓ ส่วนประกอบกัน กาหนดกันและกัน มีอิทธิพลต่อกัน กล่าวคือ แบนดูร่า มองว่า
พฤติกรรมมนุษย์เกิดจากสิ่งแวดล้อมและบุคคล ทั้ง ๓ อย่างนี้มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงถึงกันและกัน
เป็นลูกโซ่ สอดคล้องกับทัศนะของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับเหตุ ปัจจัย และผล และสอดคล้องกับ
หลักปฏิจจสมุปบาทที่พฤติกรรมแต่ละอย่างมีความเกี่ยวเนื่องกันและกัน เช่น เวทนาเป็นปัจจัยให้เกิด
ตัณหา เป็นปัจจัยให้เกิดอุปาทาน ในทางกลับกัน อุปาทานก็เป็นปัจจัยในเกิดตัณหา ตัณหาก็เป็นปัจจัย
ให้เกิดเวทนาได้เช่นเดียวกัน
ความต่างกัน ความต่างกันระหว่างแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมหรือบ่อเกิด
พฤติกรรมของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา ตรงที่แบนดูร่ามองว่า พฤติกรรมเกิดจากสิ่งแวดล้อมและ
บุคคลซึ่งเน้นที่ตัวบุคคลแต่ไม่ได้ลงลึกถึงรายละเอียดว่า เหตุที่ทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมานั้น
คืออะไร หมายความว่า อะไรอยู่เบื้องหลังพฤติกรรมเหล่านั้น
ส่วนพระพุทธศาสนาศึกษาลึกลงไปถึงสาเหตุของพฤติกรรมอย่างชัดเจนว่า ตัณหา กับ
ฉันทะเป็นสาเหตุของพฤติกรรม ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ก็คือองค์ประกอบบุคคลในทัศนะของแบนดูร่านั่นเอง
เพียงแต่แบนดูร่าได้อธิบายไว้โดยรวมว่า องค์ประกอบบุคคล ได้แก่ ปัญญา ชีวภาพ และสิ่งภายในอื่น ๆ
ซึ่งสิ่งภายในอื่น ๆ นี้แหละที่พระพุทธศาสนาเรียกว่า “สังขาร” การปรุงแต่งภายใน เป็นบ่อเกิดของ
พฤติกรรมมนุษย์
การพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา
ง
แบนดูร่าได้กาหนดกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมเป็นหัวข้อดังนี้ แนวคิดการเรียนรู้โดยการ
สังเกต การกากับตนเอง การรับรู้ความสามารถของตนเอง แต่ละหัวข้อใหญ่ก็มีหัวข้อย่อยออกไปอีก
ในส่วนของการพัฒนาพฤติกรรมตามหลักพระพุทธศาสนา ได้กาหนดระดับขั้นไว้ ๓ ระดับ คือ
ระดับพื้นฐานได้แก่ ศีล ระดับกลางได้แก่ สมาธิ ระดับสูงได้แก่ ปัญญา ซึ่งแต่ละหัวข้อก็มีข้อปลีกย่อย
ออกไปเช่นกัน
จ
Thematic Paper Title : A Comparative Analytical Study Of the in the Three
Characteristics(Tilakkhaóa)and in the Five Aggregates
(Pañcakhandha
Researcher :Phramaha Dhânindra Âditavaro (Kamkamol)
Degree : Doctor of Philosophy (Buddhist Studies)
Thematic Paper Supervisor : Dr.Praphan Suphasorn Pali VII,B.A.,MA.,Ph.D.
Date of Completion : February 2009
ABTRACT
From a Comparatively Analytical Study of the Saõkhāra in the Three Characteristics
(Tilakkhaóa) and in the Five Aggregates (Pañcakhandha), it is founded as follows:
Both Saõkhārās have the same meaning of “condition”. Saõkhāra in the three
characteristics is materially and immaterially conditioned, whereas Saõkhāra in the five aggregates
functions as mental formation of consciousness as wholesome, unwholesome, and the neutral. The
characteristic of the saõkhāra in the Three Characteristics is flexible and unstable, conditioned
without spatial-temporality while the characteristic of the saõkhāra in the Five Aggregates conditions
form (rūpa), feeling (vedanā), perception (saññā), and consciousness (viññâóa).
Saõkhāra in the three characteristics can be divided into three groups namely, bodily
formation (kāya Saõkhāra) verbal formation (Vacī Saõkhāra) mental formation (Citta Saõkhāra),
formation of merit (Puññābhisaõkhāra) formation of demerit, (Apuññābhisaõkhāra) formation of
the imperturbable (Aneñjābhisaõkhāra), and karmically grasped phenomena (Upādinnaka Saõkhāra
) karmically ungrasped phenomena (Anupādinnaka Saõkhāra).
Saõkhāra in the Five Aggregates can be also divided into three groups namely: The
Saõkhāra associated with wholesome and unwholesome consciousness and neutral states. It is of
ฉ
more detail than in the Three Characteristics because of mental concomitants (cetasika) occurring
with all minds.
The relationship among Aniccata, Dukkhata and Anattata appearing in Saõkhāra in the
Three Characteristics and Five aggregates begin with doing their actions which is the sending
forwards the state to one another like a chain moving around one another with the three states namely
: Upâda (arising), öhiti (maintaining) and bhaõga (extinguishing). At the end of the round, they begin
to arise again. They move like this without ending.
The interrelation between two saõkhāras and enlightenment commences when the
meditator (yogâvajara) perceives the Tilakkhaóa namely: saõkhāra as impermanent, subject to
suffering and conflict, soullessness with intuitive insight through Vipassanā practice or listening to
the Dhamma lecture in front of the Buddha.
Saõkhāra in the three characteristics and in the five aggregates is interdependent with 3
factors : hetupaccaya, ârammanapaccaya, and athipatipaccaya. Both Saõkhāra have their own mutual
process that is to say, they are interdependently arising, because saõkhāra in tilakkhaóa covers that in
pañcakhandha. Thus,whentheformer arises, thelatter one follows up.
The Buddha’s methods in expounding Saõkhāra in tilakkhaóa and pañcakhandha as
appearing in this research are as follows: 1.) by the direct experience and the comparison 2.) by
lecture, question and answer 3.) by focusing on the individual person
ช
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ก
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ง
กิตติกรรมประกาศ ฉ
สารบัญ ช
คาอธิบายสัญลักษณ์และอักษรย่อ ฌ
บทที่ ๑ บทนา ๑
๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ๑
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๓
๑.๓ ปัญหาที่ต้องการทราบ ๓
๑.๔ คาจากัดความของศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย ๓
๑.๕ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๕
๑.๖ ขอบเขตของการวิจัย ๑๐
๑.๗ วิธีดาเนินการวิจัย ๑๐
๑.๘ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑๓
บทที่ ๒ สังขารในไตรลักษณ์ ๑๔
๒.๑ ความหมายของสังขารในไตรลักษณ์ ๑๔
๒.๒ ลักษณะของสังขารในไตรลักษณ์ ๑๖
๒.๓ ประเภทของสังขารในไตรลักษณ์ ๑๘
๒.๔ ความสัมพันธ์ระหว่างอนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตา ของสังขาร ๒๑
๒.๕ ความสัมพันธ์ระหว่างอนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตา ของสังขาร
กับการบรรลุธรรม ๒๕
๒.๖ กระบวนการทางานร่วมกันของสังขารในไตรลักษณ์ ๒๗
๒.๗ วิธีการอธิบายสังขารในไตรลักษณ์ ๒๘
ซ
บทที่ ๓ สังขารในขันธ์ ๕ ๓๔
๓.๑ ความหมายของสังขารในขันธ์ ๕ ๓๔
๓.๒ ลักษณะของสังขารในขันธ์ ๕ ๓๖
๓.๓ ประเภทของสังขารในขันธ์ ๕ ๓๗
๓.๔ ความสัมพันธ์ระหว่างอนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตา ของสังขาร ๔๔
๓.๕ ความสัมพันธ์ของสังขารในขันธ์ ๕ กับการบรรลุธรรม ๔๕
๓.๖ กระบวนการทางานร่วมกันของสังขารในขันธ์ ๕ ๔๖
๓.๗ วิธีการอธิบายสังขารในขันธ์ ๕ ๔๙
บทที่ ๔ วิเคราะห์เปรียบเทียบสังขารในไตรลักษณ์กับสังขารในขันธ์ ๕ ๕๑
๔.๑ เปรียบเทียบด้านความหมายของสังขารในไตรลักษณ์กับของสังขารในขันธ์ ๕ ๕๑
๔.๒ เปรียบเทียบด้านลักษณะของสังขารในไตรลักษณ์กับของสังขารในขันธ์ ๕ ๕๖
๔.๓ เปรียบเทียบด้านประเภทของสังขารในไตรลักษณ์กับของสังขารในขันธ์ ๕ ๕๘
๔.๔ เปรียบเทียบด้านความสัมพันธ์ระหว่างอนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตา
ของสังขารในไตรลักษณ์ กับของสังขารในขันธ์ ๕ ๖๐
๔.๕ เปรียบเทียบด้านความสัมพันธ์ของสังขารกับการบรรลุธรรมระหว่างสังขาร
ในไตรลักษณ์กับสังขารในขันธ์ ๕ ๖๑
๔.๖ เปรียบเทียบด้านกระบวนการทางานร่วมกันของสังขารในไตรลักษณ์กับของ
สังขารในขันธ์ ๕ ๖๒
๔.๗ เปรียบเทียบด้านพุทธวิธีการอธิบายสังขารในไตรลักษณ์กับของสังขาร
ในขันธ์ ๕ ๖๓
บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ๖๗
๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๖๗
๕.๒ ข้อเสนอแนะ ๗๒
บรรณานุกรม ๗๒
ประวัติของผู้วิจัย ๗๔
ฌ
คาอธิบายสัญลักษณ์และอักษรย่อ
อักษรย่อในสารนิพนธ์นี้อ้างอิงจากพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๐๐ และพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย ๒๕๓๙ การอ้างอิงใช้ระบบระบุ เล่ม /ข้อ /หน้า หลังคาย่อชื่อคัมภีร์ เช่น ที.ม. (บาลี) ๑๐/
๑๖๔/๕๔, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๖๔/๑๐๙. หมายถึง ทีฆนิกาย มหาวรรค (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๐ ข้อที่ ๑๖๔
หน้า ๕๔, (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑๐ ข้อที่ ๑๖๔ หน้า ๑๐๙
ส่วนอรรถกถาภาษาบาลี ใช้อ้างอิงจากฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยเทียบเคียงกับ
อรรถกถาภาษาไทยฉบับของมหามกุฏราชวิทยาลัย
ในกรณีมีเลข ๒ ตอน หมายถึง เล่ม หน้า เช่น ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๒๖๖ หมายถึง มัชฌิม
นิกาย ปปัญจสูทนี มูลปัณณาสก์อรรถกถา เล่ม ๑ หน้า ๒๖๖, ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๔/๓๘๕ หมายถึง ขุ
ททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา ภาค ๔ หน้า ๓๘๕
ถ้ามี เลข ๓ ตอน หมายถึง ภาค เรื่อง หน้า เช่น ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๘/๑๒๘ หมายถึง ขุ
ททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา ภาค ๑ เรื่องที่ ๘ หน้า ๑๒๘
ถ้ามีเลข ๔ ตอน หมายถึง เล่ม ภาค ตอน หน้า เช่น ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๒/๑/๓๒๓ หมายถึง
ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา เล่ม ๑ ภาค ๑ ตอน ๑ หน้า ๓๒๓
อรรถกถาปกรณวิเสส ภาษาบาลี จะแจ้งเล่ม หน้า ที่ไม่จัดเป็นลาดับเล่ม จะแจ้ง หน้า เช่น
สงฺคห (บาลี) ๗ หมายถึง อภิธมฺมตฺถสงฺคห หน้า ๗
ฎีกาปกรณวิเสส ภาษาบาลี จะแจ้งเล่ม หน้า ที่ไม่จัดเป็นลาดับเล่ม จะแจ้ง หน้า เช่น วิภา
วินี (บาลี) ๑๖๒ หมายถึง อภิธมฺมตฺถวิภาวินี หน้า ๑๖๒
พระวินัยปิฎก
วิ.มหา. (บาลี)= วินยปิฎก มหาวิภงฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
วิ.มหา. (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวิภังค์ (ภาษาไทย)
พระสุตตันตปิฎก
ที.สี. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ฑีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ที.สี. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ฑีฆนิกาย สีลขันธวรรค (ภาษาไทย)
ญ
ที.ปา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ฑีฆนิกาย ปาฏิกวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ที.ปา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ฑีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย)
ม.มู. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก มชฺฌิมนิกาย มูลปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี)
ม.มู. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ (ภาษาไทย)
ส.ส. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก สยุตฺตนิกาย สคาถวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ส.ส. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย)
องฺ.ติก. (บาลี)= สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย ติกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
ข.ธ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ธ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท (ภาษาไทย)
อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก
องฺ.ทุก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี ทุกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.ธ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.ธ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา (ภาษาไทย)
อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก
อภิ.วิ.อ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก วิภังค์ สัมโมหวิโนทนีอรรถกถา (ภาษาไทย)
อรรถกถาปกรณวิเสส
สงฺคห (บาลี) = อภิธมฺมตฺถสงฺคห (ภาษาบาลี)
ฎีกาปกรณวิเสส
วิภาวินี (บาลี) = อภิธมฺมตฺถวิภาวินีฏีกา (ภาษาบาลี)

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
Jiraporn
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
Wijitta DevilTeacher
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
tuiye
 

What's hot (18)

มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
Chang work 31 1-56.
Chang work 31 1-56.Chang work 31 1-56.
Chang work 31 1-56.
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
 
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 133 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
Astroplan17
Astroplan17Astroplan17
Astroplan17
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 

Similar to อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)

3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
nang_phy29
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
Wataustin Austin
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
Jirakit Meroso
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
Tongsamut vorasan
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
Wichai Likitponrak
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
Aobinta In
 

Similar to อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ) (20)

อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
 
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาหลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
หลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูหลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครู
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 

อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)

  • 1. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติให้นับสารนิพนธ์ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการสอบวัดคุณสมบัติรายวิชา พระพุทธศาสนากับวิทยาการโลกยุคใหม่ ตาม หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา .............................................. (พระสุธีธรรมานุวัตร,ผศ.ดร.) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย คณะกรรมการตรวจสอบสารนิพนธ์ ............................................ประธานกรรมการ (พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร,ดร.) ............................................กรรมการ (ดร. นันทพล โรจนโกศล) ............................................กรรมการ (ดร. ประพันธ์ ศุภษร) อาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์ ดร. นันทพล โรจนโกศล ชื่อสารนิพนธ์ : การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบการปรับพฤติกรรมมนุษย์ตามหลัก
  • 2. ข ของแบนดูร่ากับหลักกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท ผู้วิจัย : พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร (คากมล) ปริญญา : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พระพุทธศาสนา) อาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์ : ดร. นันทพล โรจนโกศล วศ.บ. พธ.ม., พธ.ด. วันเสร็จสมบูรณ์ : บทคัดย่อ การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบการปรับพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของแบนดูร่ากับ หลักกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนา มีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ ๑. เพื่อศึกษารูปแบบการปรับ พฤติกรรมตามหลักของแบนดูร่า ๒. เพื่อศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมตามหลักของ พระพุทธศาสนา ๓. เพื่อศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบการปรับพฤติกรรมของแบนดูร่ากับรูปแบบ การปรับพฤติกรรมตามหลักพระพุทธศาสนา ผลจากการศึกษาพอสรุปได้ดังนี้ ความหมายของพฤติกรรม การปรับพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของแบนดูร่ากับการปรับ พฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของพระพุทธศาสนามีความหมายเหมือนกัน คือ หมายถึงการกระทา กิจกรรมต่าง ๆ ที่สามารถมองเห็นได้ ถึงแม้พฤติกรรมบางอย่างที่ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่ศาสตร์ สมัยใหม่ก็มีเครื่องมือวัดได้ ในฝ่ายของพระพุทธศาสนาก็สามารถสัมผัสได้ด้วยใจของผู้มีคุณวิเศษคือผู้ ได้ปรวิชานนอภิญญา ที่สามารถรู้วาระจิตของคนอื่นได้ ประเภทของพฤติกรรม ความเหมือนกัน พระพุทธศาสนาและแบนดูร่าแยกประเภทของพฤติกรรมออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ พฤติกรรมภายนอกกับพฤติกรรมภายใน ถึงแม้พระพุทธศาสนาจะแบ่งแหล่งที่เกิด ของพฤติกรรมออกเป็น ๓ ทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ก็ตาม เมื่อพิจารณาสรุปแล้วก็ย่อลง
  • 3. ค เป็น ๒ ประเภทเหมือนกันคือ พฤติกรรมทางกาย และวาจา จัดเป็นพฤติกรรมภายนอก พฤติกรรมทาง ใจ จัดเป็นพฤติกรรมภายใน แบนดูร่าเน้นพฤติกรรมทางใจเป็นสาคัญเช่นเดียวกับพระพุทธศาสนา ความต่างกัน แบนดูร่าได้ทาการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ที่มีผลในปัจจุบันคือสังเกตเห็นได้ ด้วยตาเปล่าไม่ได้ศึกษาลึกลงไปถึงเหตุที่ทาให้เกิดพฤติกรรมในปัจจุบันและผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ในภพชาติต่อไป แต่พระพุทธศาสนาศึกษาครบทั้ง ๓ กาล คือเหตุในอดีตกาลที่ทาให้เกิดผลในปัจจุบัน และจะเกิดในอนาคตทั้งในภพนี้และภพหน้า แนวทัศนะเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา ความเหมือนกัน ทั้งพระพุทธศาสนาและแบนดูร่า มีแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมเหมือนกัน ตรงที่องค์ประกอบ ๓ ส่วนประกอบกัน กาหนดกันและกัน มีอิทธิพลต่อกัน กล่าวคือ แบนดูร่า มองว่า พฤติกรรมมนุษย์เกิดจากสิ่งแวดล้อมและบุคคล ทั้ง ๓ อย่างนี้มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงถึงกันและกัน เป็นลูกโซ่ สอดคล้องกับทัศนะของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับเหตุ ปัจจัย และผล และสอดคล้องกับ หลักปฏิจจสมุปบาทที่พฤติกรรมแต่ละอย่างมีความเกี่ยวเนื่องกันและกัน เช่น เวทนาเป็นปัจจัยให้เกิด ตัณหา เป็นปัจจัยให้เกิดอุปาทาน ในทางกลับกัน อุปาทานก็เป็นปัจจัยในเกิดตัณหา ตัณหาก็เป็นปัจจัย ให้เกิดเวทนาได้เช่นเดียวกัน ความต่างกัน ความต่างกันระหว่างแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมหรือบ่อเกิด พฤติกรรมของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา ตรงที่แบนดูร่ามองว่า พฤติกรรมเกิดจากสิ่งแวดล้อมและ บุคคลซึ่งเน้นที่ตัวบุคคลแต่ไม่ได้ลงลึกถึงรายละเอียดว่า เหตุที่ทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมานั้น คืออะไร หมายความว่า อะไรอยู่เบื้องหลังพฤติกรรมเหล่านั้น ส่วนพระพุทธศาสนาศึกษาลึกลงไปถึงสาเหตุของพฤติกรรมอย่างชัดเจนว่า ตัณหา กับ ฉันทะเป็นสาเหตุของพฤติกรรม ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ก็คือองค์ประกอบบุคคลในทัศนะของแบนดูร่านั่นเอง เพียงแต่แบนดูร่าได้อธิบายไว้โดยรวมว่า องค์ประกอบบุคคล ได้แก่ ปัญญา ชีวภาพ และสิ่งภายในอื่น ๆ ซึ่งสิ่งภายในอื่น ๆ นี้แหละที่พระพุทธศาสนาเรียกว่า “สังขาร” การปรุงแต่งภายใน เป็นบ่อเกิดของ พฤติกรรมมนุษย์ การพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา
  • 4. ง แบนดูร่าได้กาหนดกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมเป็นหัวข้อดังนี้ แนวคิดการเรียนรู้โดยการ สังเกต การกากับตนเอง การรับรู้ความสามารถของตนเอง แต่ละหัวข้อใหญ่ก็มีหัวข้อย่อยออกไปอีก ในส่วนของการพัฒนาพฤติกรรมตามหลักพระพุทธศาสนา ได้กาหนดระดับขั้นไว้ ๓ ระดับ คือ ระดับพื้นฐานได้แก่ ศีล ระดับกลางได้แก่ สมาธิ ระดับสูงได้แก่ ปัญญา ซึ่งแต่ละหัวข้อก็มีข้อปลีกย่อย ออกไปเช่นกัน
  • 5. จ Thematic Paper Title : A Comparative Analytical Study Of the in the Three Characteristics(Tilakkhaóa)and in the Five Aggregates (Pañcakhandha Researcher :Phramaha Dhânindra Âditavaro (Kamkamol) Degree : Doctor of Philosophy (Buddhist Studies) Thematic Paper Supervisor : Dr.Praphan Suphasorn Pali VII,B.A.,MA.,Ph.D. Date of Completion : February 2009 ABTRACT From a Comparatively Analytical Study of the Saõkhāra in the Three Characteristics (Tilakkhaóa) and in the Five Aggregates (Pañcakhandha), it is founded as follows: Both Saõkhārās have the same meaning of “condition”. Saõkhāra in the three characteristics is materially and immaterially conditioned, whereas Saõkhāra in the five aggregates functions as mental formation of consciousness as wholesome, unwholesome, and the neutral. The characteristic of the saõkhāra in the Three Characteristics is flexible and unstable, conditioned without spatial-temporality while the characteristic of the saõkhāra in the Five Aggregates conditions form (rūpa), feeling (vedanā), perception (saññā), and consciousness (viññâóa). Saõkhāra in the three characteristics can be divided into three groups namely, bodily formation (kāya Saõkhāra) verbal formation (Vacī Saõkhāra) mental formation (Citta Saõkhāra), formation of merit (Puññābhisaõkhāra) formation of demerit, (Apuññābhisaõkhāra) formation of the imperturbable (Aneñjābhisaõkhāra), and karmically grasped phenomena (Upādinnaka Saõkhāra ) karmically ungrasped phenomena (Anupādinnaka Saõkhāra). Saõkhāra in the Five Aggregates can be also divided into three groups namely: The Saõkhāra associated with wholesome and unwholesome consciousness and neutral states. It is of
  • 6. ฉ more detail than in the Three Characteristics because of mental concomitants (cetasika) occurring with all minds. The relationship among Aniccata, Dukkhata and Anattata appearing in Saõkhāra in the Three Characteristics and Five aggregates begin with doing their actions which is the sending forwards the state to one another like a chain moving around one another with the three states namely : Upâda (arising), öhiti (maintaining) and bhaõga (extinguishing). At the end of the round, they begin to arise again. They move like this without ending. The interrelation between two saõkhāras and enlightenment commences when the meditator (yogâvajara) perceives the Tilakkhaóa namely: saõkhāra as impermanent, subject to suffering and conflict, soullessness with intuitive insight through Vipassanā practice or listening to the Dhamma lecture in front of the Buddha. Saõkhāra in the three characteristics and in the five aggregates is interdependent with 3 factors : hetupaccaya, ârammanapaccaya, and athipatipaccaya. Both Saõkhāra have their own mutual process that is to say, they are interdependently arising, because saõkhāra in tilakkhaóa covers that in pañcakhandha. Thus,whentheformer arises, thelatter one follows up. The Buddha’s methods in expounding Saõkhāra in tilakkhaóa and pañcakhandha as appearing in this research are as follows: 1.) by the direct experience and the comparison 2.) by lecture, question and answer 3.) by focusing on the individual person
  • 7. ช สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อภาษาไทย ก บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ง กิตติกรรมประกาศ ฉ สารบัญ ช คาอธิบายสัญลักษณ์และอักษรย่อ ฌ บทที่ ๑ บทนา ๑ ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ๑ ๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๓ ๑.๓ ปัญหาที่ต้องการทราบ ๓ ๑.๔ คาจากัดความของศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย ๓ ๑.๕ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๕ ๑.๖ ขอบเขตของการวิจัย ๑๐ ๑.๗ วิธีดาเนินการวิจัย ๑๐ ๑.๘ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑๓ บทที่ ๒ สังขารในไตรลักษณ์ ๑๔ ๒.๑ ความหมายของสังขารในไตรลักษณ์ ๑๔ ๒.๒ ลักษณะของสังขารในไตรลักษณ์ ๑๖ ๒.๓ ประเภทของสังขารในไตรลักษณ์ ๑๘ ๒.๔ ความสัมพันธ์ระหว่างอนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตา ของสังขาร ๒๑ ๒.๕ ความสัมพันธ์ระหว่างอนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตา ของสังขาร กับการบรรลุธรรม ๒๕ ๒.๖ กระบวนการทางานร่วมกันของสังขารในไตรลักษณ์ ๒๗ ๒.๗ วิธีการอธิบายสังขารในไตรลักษณ์ ๒๘
  • 8. ซ บทที่ ๓ สังขารในขันธ์ ๕ ๓๔ ๓.๑ ความหมายของสังขารในขันธ์ ๕ ๓๔ ๓.๒ ลักษณะของสังขารในขันธ์ ๕ ๓๖ ๓.๓ ประเภทของสังขารในขันธ์ ๕ ๓๗ ๓.๔ ความสัมพันธ์ระหว่างอนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตา ของสังขาร ๔๔ ๓.๕ ความสัมพันธ์ของสังขารในขันธ์ ๕ กับการบรรลุธรรม ๔๕ ๓.๖ กระบวนการทางานร่วมกันของสังขารในขันธ์ ๕ ๔๖ ๓.๗ วิธีการอธิบายสังขารในขันธ์ ๕ ๔๙ บทที่ ๔ วิเคราะห์เปรียบเทียบสังขารในไตรลักษณ์กับสังขารในขันธ์ ๕ ๕๑ ๔.๑ เปรียบเทียบด้านความหมายของสังขารในไตรลักษณ์กับของสังขารในขันธ์ ๕ ๕๑ ๔.๒ เปรียบเทียบด้านลักษณะของสังขารในไตรลักษณ์กับของสังขารในขันธ์ ๕ ๕๖ ๔.๓ เปรียบเทียบด้านประเภทของสังขารในไตรลักษณ์กับของสังขารในขันธ์ ๕ ๕๘ ๔.๔ เปรียบเทียบด้านความสัมพันธ์ระหว่างอนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตา ของสังขารในไตรลักษณ์ กับของสังขารในขันธ์ ๕ ๖๐ ๔.๕ เปรียบเทียบด้านความสัมพันธ์ของสังขารกับการบรรลุธรรมระหว่างสังขาร ในไตรลักษณ์กับสังขารในขันธ์ ๕ ๖๑ ๔.๖ เปรียบเทียบด้านกระบวนการทางานร่วมกันของสังขารในไตรลักษณ์กับของ สังขารในขันธ์ ๕ ๖๒ ๔.๗ เปรียบเทียบด้านพุทธวิธีการอธิบายสังขารในไตรลักษณ์กับของสังขาร ในขันธ์ ๕ ๖๓ บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ๖๗ ๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๖๗ ๕.๒ ข้อเสนอแนะ ๗๒ บรรณานุกรม ๗๒ ประวัติของผู้วิจัย ๗๔
  • 9. ฌ คาอธิบายสัญลักษณ์และอักษรย่อ อักษรย่อในสารนิพนธ์นี้อ้างอิงจากพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๐๐ และพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ๒๕๓๙ การอ้างอิงใช้ระบบระบุ เล่ม /ข้อ /หน้า หลังคาย่อชื่อคัมภีร์ เช่น ที.ม. (บาลี) ๑๐/ ๑๖๔/๕๔, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๖๔/๑๐๙. หมายถึง ทีฆนิกาย มหาวรรค (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๐ ข้อที่ ๑๖๔ หน้า ๕๔, (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑๐ ข้อที่ ๑๖๔ หน้า ๑๐๙ ส่วนอรรถกถาภาษาบาลี ใช้อ้างอิงจากฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยเทียบเคียงกับ อรรถกถาภาษาไทยฉบับของมหามกุฏราชวิทยาลัย ในกรณีมีเลข ๒ ตอน หมายถึง เล่ม หน้า เช่น ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๒๖๖ หมายถึง มัชฌิม นิกาย ปปัญจสูทนี มูลปัณณาสก์อรรถกถา เล่ม ๑ หน้า ๒๖๖, ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๔/๓๘๕ หมายถึง ขุ ททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา ภาค ๔ หน้า ๓๘๕ ถ้ามี เลข ๓ ตอน หมายถึง ภาค เรื่อง หน้า เช่น ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๘/๑๒๘ หมายถึง ขุ ททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา ภาค ๑ เรื่องที่ ๘ หน้า ๑๒๘ ถ้ามีเลข ๔ ตอน หมายถึง เล่ม ภาค ตอน หน้า เช่น ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๒/๑/๓๒๓ หมายถึง ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา เล่ม ๑ ภาค ๑ ตอน ๑ หน้า ๓๒๓ อรรถกถาปกรณวิเสส ภาษาบาลี จะแจ้งเล่ม หน้า ที่ไม่จัดเป็นลาดับเล่ม จะแจ้ง หน้า เช่น สงฺคห (บาลี) ๗ หมายถึง อภิธมฺมตฺถสงฺคห หน้า ๗ ฎีกาปกรณวิเสส ภาษาบาลี จะแจ้งเล่ม หน้า ที่ไม่จัดเป็นลาดับเล่ม จะแจ้ง หน้า เช่น วิภา วินี (บาลี) ๑๖๒ หมายถึง อภิธมฺมตฺถวิภาวินี หน้า ๑๖๒ พระวินัยปิฎก วิ.มหา. (บาลี)= วินยปิฎก มหาวิภงฺคปาลิ (ภาษาบาลี) วิ.มหา. (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวิภังค์ (ภาษาไทย) พระสุตตันตปิฎก ที.สี. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ฑีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) ที.สี. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ฑีฆนิกาย สีลขันธวรรค (ภาษาไทย)
  • 10. ญ ที.ปา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ฑีฆนิกาย ปาฏิกวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) ที.ปา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ฑีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย) ม.มู. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก มชฺฌิมนิกาย มูลปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี) ม.มู. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ (ภาษาไทย) ส.ส. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก สยุตฺตนิกาย สคาถวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) ส.ส. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย) องฺ.ติก. (บาลี)= สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย ติกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี) ข.ธ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.ธ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท (ภาษาไทย) อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก องฺ.ทุก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี ทุกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย) ขุ.ธ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทอฏฺ กถา (ภาษาบาลี) ขุ.ธ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา (ภาษาไทย) อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก อภิ.วิ.อ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก วิภังค์ สัมโมหวิโนทนีอรรถกถา (ภาษาไทย) อรรถกถาปกรณวิเสส สงฺคห (บาลี) = อภิธมฺมตฺถสงฺคห (ภาษาบาลี) ฎีกาปกรณวิเสส วิภาวินี (บาลี) = อภิธมฺมตฺถวิภาวินีฏีกา (ภาษาบาลี)