SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
สื่อส่องทาง สว่างอ�ำไพ

แสงธรรม

ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้
วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา
ปีที่ 38  ฉบับที่ 453  ประจ�ำเดือนมกราคม   พ.ศ. 2556  Vol.38  No.453  January,  2013
OBJECTIVES
�To promote Buddhist activities.
�To foster Thai culture and tradition.
�To inform the public of the temple’s activities.
�To provide a public relations center for
	 Buddhists living in the United States.
เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
	 ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี
	 กองบรรณาธิการ :
	 ดร.พระมหาถนัด  อตฺถจารี
	 พระมหาสิทธิผล   สิทฺธิผโล
	 พระมหาเรืองฤทธิ์  สมิทฺธิญาโณ
	 พระสุริยา  เตชวโร
	 พระมหาวสันต์  วาริชวํโส
	 พระมหาสราวุธ  สราวุโธ
	 พระมหาประดู่ชัย  ภทฺทธมฺโม
	 พระมหาศรีสุพรณ์  อตฺตทีโป
	 พระมหาค�ำตัล  พุทฺธงฺกุโร
	 พระอนันต์ภิวัฒน์  พุทฺธรกฺขิโต
	 และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
	

	 SAENG DHAMMA Magazine
	 is published monthly by
	 Wat Thai Washington, D.C. Temple
	 At 13440 Layhill Rd.,
	 Silver Spring, MD 20906
	 Tel. (301) 871-8660, 871-8661
	 Fax : 301-871-5007
	 E-mail : saengdhamma@hotmail.com
	 Homepage : www.watthaidc.org
	 Radio Network : www.watthai.iirt.net
	 2,500 Copies

สารบัญ
Contents
	 The Buddha’s Words............................................. 1
	 ส.ค.ส. ปี ๒๕๕๖  หลวงตาชี ....................................... 2

Understanding the law of Kamma by P.A. Payutto 4
What does being born mean? by Du Wayne Engelhart ...... 9
กาลเวลา โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต)................... 11
ฺ
	 ภาพกิจกรรม สถานทูตไทยจัดงานวันเฉลิมพระชนมพรรษา ...15
	 ความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี” ............. 16
	 อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 21
แจ้งข่าวปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนมกราคม .............. 22

	 ประมวลเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล ตลอดปี ๒๕๕๕ 23
  ประมวลเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า ตลอดปี ๒๕๕๕  24
	 เสียงธรรม...จากวัดไทย......................หลวงตาชี     25
	 ประมวลภาพกิจกรรมท�ำบุญเดือนธันวาคม...................... 30
	 เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32
  ประมวลภาพงานราตรีชาวปักษ์ใต้ ............................ 38
	 ท่องพม่า แดนมหาเจดีย์ทองค�ำ ดร.พระมหาถนัด.........  39
  สารธรรมจาก...พระไตรปิฎก ..................................... 42
Thai Temple’s News...............โดย Suriya ..... 44
December’s Donation By Ven. Sarawut ....... 48
	 รายนามผู้บริจาคออมบุญประจ�ำปีและเจ้าภาพภัตตาหารเช้า..52
	 รายนามเจ้าภาพถวายเพล / Lunch........................... 53
	 ก�ำหนดการวันมาฆบูชา  ........................................... 62
Photos taken by
Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat,
Mr. Kevin & Mr. Sam
Bank & Ms. Golf & Suchart
ถ้อยแถลง
					
					
					
					

“แสงธรรมสว่างล�้ำ กว่าแสงไหน
แสงธรรมส่องไปไกล ใหญ่กว้าง
แสงธรรมส่องภพภูมิใด เห็นหมด
แสงธรรมนี่แหละ จักล้าง มืดพ้นมนต์มาร

	
แสงธรรมฉบับนี้ เป็นฉบับส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ กาลเวลาล่วงเลยมาเพื่อให้ทุกชีวิตได้
มีโอกาสทบทวนว่าได้ท�ำสิ่งใดลงไปบ้างตลอด ๓๖๕ วัน บางครั้งก็ได้รับความสุข บางครั้งก็ได้รับความ
ทุกข์ หมุนเวียนกันไป อย่างไรก็ตามชีวิตก็ต้องด�ำเนินไปตามวิถีกรรมของแต่ละบุคคล แสงธรรมก็ผ่าน
ระยะเวลามาเนิ่นนานพอสมควร ผู้ที่ติดตามอ่านคงจะได้สัมผัสรสแห่งธรรมะผ่านงานเขียนอันประณีต
ของพระเดชพระคุณหลวงตาชี โดยเฉพาะ ๒ คอลัมน์สำคัญคือ “เสียงธรรมจากวัดไทย” และ “ครูส�
ี
หลวงตาสอน” มีเนื้อหาสาระส�ำคัญยิ่ง ในการที่จะน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้เป็นอย่างดี ในกระแส
สังคมปัจจุบนมีแนวคิดข่าวลือเกียวกับโลกแตกมาเป็นระยะท�ำให้แตกตืนกันพอสมควร ขอให้ขอคิดแนว
ั
่
่
้
ธรรมตามบัณฑิตนักปราชญ์ผรทานบอกไว้วา โลกภายนอกเป็นอย่างไรก็ขอให้เป็นไปตามธรรมชาตินน
ู้ ู้ ่
่
ั้
แต่ว่าโลกภายในคือตัวเรานั้นส�ำคัญมาก
					
					
					
					

“โลกภายนอกกว้างไกล ใครใคร่รู้
โลกภายในลึกซึ้งอยู่ รู้บ้างไหม
อยากรู้โลกภายนอก มองออกไป
อยากรู้โลกภายใน ให้มองตน”

	
การมองเข้ามาในตนเองเพื่อจะได้ทบทวนและพัฒนาแก้ไขปรับปรุงตัวเองให้เกิดความสง่างาม
โดยความไม่ประมาท เพราะว่า “หากจิตใจมีความประมาท ความผิดพลาดก็เกิดขึ้น หากจิตใจไม่
ประมาท ความผิดพลาดก็เกิดน้อย” ขอให้ผู้อ่านทุกท่านมีความสุขตลอดปี ชีวิตดีตลอดไป
คณะผู้จัดท�ำ
แสงธรรม 1

Saeng Dhamma

The Buddha’s Words
			
			
			
			

พุทธสุภาษิต

ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา
นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา
น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี
สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโต ฯ ๑๘๔ ฯ

	
	

ขันติ คือความอดทน เป็นตบะอย่างยอด	 นิพพาน ท่านผู้รู้กล่าวว่า เป็นยอด
ผู้ที่ยังทำ�ร้ายผู้อื่นอยู่ ไม่จัดว่าเป็นบรรพชิต	 ผูทยงเบียดเบียนคนอืนอยู่ ไม่จดว่าเป็นสมณะ
้ ่ี ั
่
ั

	
	
	

Forbearance is the highest ascetic practice, ‘Nibbana is supreme’;
say the Buddhas. He is not a ‘gone forth’ who harms another.
He is not a recluse who molests another.
แสงธรรม 2

Saeng Dhamma
ส.ค.ส. ปี ๒๕๕๖

พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)
วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
	 สวัสดี	
อยู่ในเขต	
ให้ทุกคน	
เพื่อเป็นศรี	
	 ถึงปีใหม่	
ให้ดำ�ริ	
ให้ทุกคน	
ให้สดใส	
	 เมื่อใจดี	
ใจดีช่วย	
ให้ปีใหม่	
สุขชื่นบาน	
	 ใหม่อย่างนี้	
ใหม่ทั้งนอก	
ใหม่เกิดเอง	
ใหม่อย่างนี้	
	 ใหม่แต่ปี	
ก็เห็นซวย	
เพราะกิเลส	
ก็เลยทำ�	
	 ขึ้นดิถี	
หลวงตาชี	
ให้ทุกคน	
แล้วนำ�มา	

ปีใหม่	
ทั้งไทย–เทศ
สังคมโลก 	 จงโชคดี
ประพฤติตน	 เป็นคนดี
รับปีใหม่	
ให้ชื่นใจ
ให้ทุกคน	
ตั้งสติ
แต่สิ่ง	
ที่สดใส
ฝึกฝน	
บ่มจิตใจ
รับปีใหม่	
ใจเบิกบาน
ปีใหม่	
ก็ดีด้วย
เป็นสะพาน	 คอยประสาน
มีจิตใจ	
ใสสำ�ราญ
ตลอดปี	
นี่ใหม่จริง
ดีแน่	
ไม่แชออก
ทั้งใน	
ใหม่กันจริง
ไม่ต้อง	
ร้องประวิง
ดีจริง	
ควรจดจำ�
ถ้าความดี	 ไม่ใหม่ด้วย
ไม่สดใส	
ใจตกต่ำ�
ความชั่ว	
เข้าครอบงำ�
ให้ปีใหม่	
ไร้ราคา
ปีใหม่	
ในศกนี้
ขอเตือนกล่าว	ชาวประชา
สนใจ	
ในธรรมา
เป็นแนวทาง	 สร้างความดี

	 ถ้าต้องการ	
ต้องยึดถือ	
ให้ทุกคน	
เมื่อทำ�ได้	
	 ปีใหม่ดี	
เป็นนิมิต	
ให้ปีใหม่	
ตลอดปี	
	 ด้วยอำ�นาจ	
คุณล้ำ�เลิศ	
ให้ทุกคน	
แล้วนำ�มา	
	 ด้วยอำ�นาจ	
จงพิชิต	
ให้ทุกคน	
สวัสดี	
	 ด้วยอำ�นาจ	
จงประสาท	
ให้ชีวิต	
ให้เป็นดัง	

ให้ปีใหม่	
พระธรรม	
ทำ�-พูด-คิด	
เช่นนี้	
ต้องมีธรรม	
เครื่องหมาย	
สดใส	
ตลอดไป	
คุณพระพุทธ	
ช่วยปกปัก 	
พ้นทุกข์	
แต่ความสุข	
คุณพระธรรม	
ความเลวร้าย	
ปลอดภัย	
ตลอดปี	
คุณพระสงฆ์	
พรชัย	
ยั่งยืน	
ที่มุ่งหวัง	

ใหม่สมชื่อ
นำ�ความดี
แต่ความดี
ปีใหม่ดี
นำ�ชีวิต
ใช้เป็นศรี
ผ่องใสดี
ใหม่จริงจริง
สุดประเสริฐ
และรักษา
ไร้โรคา
ทุกคืนวัน
นำ�ชีวิต
ให้พ่ายหนี
ในชีวี
ตลอดไป
ดำ�รงศาสน์
ให้สมหวัง
ยืนจีรัง
ทุกอย่างเทอญ
แสงธรรม 3

Saeng Dhamma

สารอวยพรปีใหม่ ๒๕๕๖
พระครูสิริอรรถวิเทศ (ดร. พ.ม. ถนัด อตฺถจารี)
ประธานอำ
�นวยการวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.

	 ในวารดิถีขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๖ นี้ ในนามของคณะกรรมการอำ�นวยการ ขออวยพรให้ทุกท่านที่เป็น
สมาชิกของวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. และพุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า จงประสบแต่ความสุขความ
เจริญ มีความมุ่งมาดปรารถนาสิ่งใด ๆ ที่ไม่ขัดต่อศีลธรรมประเพณีอันดีงาม ขอให้ความปรารถนานั้น ๆ
จงสำ�เร็จดังมโนปณิธานทุกประการ
	
ขออนุโมทนาขอบคุณทุก ๆ ท่าน ที่เสียสละกำ�ลังกาย กำ�ลังทรัพย์ และกำ�ลังสติปัญญา ในการ
ช่วยเหลืองานพระศาสนา ดูแลเอาใจใส่พระสงฆ์ที่ปฏิบัติศาสนกิจในวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ในรอบ
ปีที่ผ่านมา งานทุกส่วนกำ�ลังดำ�เนินไปด้วยดี ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา และปฏิบัติธรรม ในปีที่ผ่าน
มา มีผู้สนใจเข้าปฏิบัติธรรมเป็นจำ�นวนมาก มีญาติโยมมาร่วมสวดมนต์นั่งสมาธิ-สนทนาธรรมบ่าย
วันเสาร์มากขึ้น การทำ�บุญตักบาตรทุกเช้าวันอาทิตย์ เป็นการเพิ่มพูนบุญกุศลตลอดปีทั้งในพรรษา
และนอกพรรษา การถวายภัตตาหารเช้า-เพล มีความอุดมสมบูรณ์พรั่งพร้อมด้วยสายธารศรัทธาของ
ญาติโยมไม่ขาดสาย
	
ในด้านการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ ๘๐ ปี หลวงตาชี ซึ่งกำ�ลังดำ�เนินการก่อสร้างก็เป็นไป
ตามขั้นตอน คงจะแล้วเสร็จสมบูรณ์ภายในเดือนเมษายน ๒๕๕๖ ตามสัญญา และจักได้ฉลองอาคาร
พร้อมกับงาน “สมโภชอายุวัฒนมงคล ๘๘ ปี หลวงตาชี” ในวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๖ นี้
	
ในนามของคณะสงฆ์พระธรรมทูต ขออำ�นวยพรให้ทุก ๆ ท่าน ที่เป็นสมาชิกหนังสือ “แสงธรรม”
และพุทธศาสนิกชนทั่วไป ท่านผู้ใดมีทุกข์ จงสิ้นทุกข์ ท่านผู้ใดมีโศก จงสร่างโศก ท่านผู้ใดมีโรค โรค
จงหาย ท่านผู้ใดมีภัย จงปลอดภัย แล้วบรรลุถึงความสุขเกษมสำ�ราญในบวรพระพุทธศาสนา ทุกทิพา
ราตรีกาลเทอญ
แสงธรรม 4

Saeng Dhamma

Understanding
the Law of Kamma
By Bhikkhu P. A. Payutto
Translated by Bruce Evans

Continued from last issue
The law of kamma and social preference
part from the five kinds of natural
law mentioned above, there is another kind of law which is specifically manmade and is not directly concerned with nature. These are the codes of law fixed and
agreed upon by society, consisting of social
decrees, customs, and laws. They could be
placed at the end of the above list as a sixth
kind of law, but they do not have a Pali name.
Let’s call them Social Preference.b These
codes of social law are products of human
thought, and as such are related to the law
of kamma. They are not, however, the law
of kamma as such. They are merely a supplement to it, and do not have the same relationship with natural truth as does the law
of kamma, as will presently be shown. However, because they are related to the law of
kamma they tend to become confused with
it, and misunderstandings frequently arise as

	A

a result.
	 Because both kammaniyama and Social
Preference are human concerns and are intimately related to human life, it is very important that the differences between them are
clearly understood.
	 In general we might state that the law
of kamma is the natural law which deals with
human actions, whereas Social Preference, or
social laws, are an entirely human creation,
related to nature only insofar as they are a
product of the natural human thought process. In essence, with the law of kamma, human beings receive the fruits of their actions
according to the natural processes, whereas
in social law, human beings take responsibility for their actions via a process established
by themselves.
The meaning of kamma
	 Etymologically, kamma means “work” or
“action.” But in the context of the Buddha’s
teaching it is defined more specifically as “ac-
แสงธรรม 5

Saeng Dhamma

tion based on intention” or “deeds willfully
done.” Actions that are without intention are
not considered to be kamma in the Buddha’s
teaching.
	 This definition is, however, a very general one. If we wish to clarify the whole range
of meaning for kamma, we must analyze it
more thoroughly, dividing it up into different
perspectives, or levels, thus:
a: Kamma as intention
	 Essentially, kamma is intention (cetana),
and this word includes will, choice and decision, the mental impetus which leads to
action. Intention is that which instigates and
directs all human actions, both creative and
destructive, and is therefore the essence of
kamma, as is given in the Buddha’s words, Cetanaham bhikkhave kammam vadami: Monks!
Intention, I say, is kamma. Having willed, we create kamma, through body, speech and mind.
	 At this point we might take some time to
broaden our understanding of this word “intention.” “Intention” in the context of Bud-

dhism has a much subtler meaning than it has
in common usage. In the English language, we
tend to use the word when we want to provide a link between internal thought and its
resultant external actions. For example, we
might say, “I didn’t intend to do it,” “I didn’t
mean to say it” or “she did it intention-ally.”
	 But according to the teachings of Buddhism, all actions and speech, all thoughts,
no matter how fleeting, and the responses
of the mind to sensations received through
eye, ear, nose, tongue, body, and mind, without exception, contain elements of intention.
Intention is thus the mind’s volitional choosing of objects of awareness; it is the factor
which leads the mind to turn towards, or be
repelled from, various objects of awareness,
or to proceed in any particular direction; it is
the guide or the governor of how the mind
responds to stimuli; it is the force which plans
and organizes the movements of the mind,
and ultimately it is that which determines the
states experienced by the mind.

คณะร่วมใจใฝ่บุญสร้างต้นทุนให้ชีวิต ท�ำบุญถวายภัตตาหารเพล ชมรมรวมน�้ำใจ ท�ำบุญเลี้ยงพระ อุทิศให้คุณจริน ยุทธศาสตร์โกศล
แสงธรรม 6

Saeng Dhamma

	 One instance of intention is one instance
of kamma. When there is kamma there is immediate result. Even just one little thought,
although not particularly important, is nevertheless not void of consequence. It will be at
the least a “tiny speck” of kamma, added to
the stream of conditions which shape mental
activity. With repeated practice, through repeated proliferation by the mind, or through
expression as external activity, the result becomes stronger in the form of character traits,
physical features or repercussions from external sources.
	 A destructive intention does not have to
be on a gross level. It may, for example, lead
to the destruction of only a very small thing,
such as when we angrily tear up a piece of
paper. Even though that piece of paper has
no importance in itself, the action still has
some effect on the quality of the mind. The
effect is very different from tearing up a piece
of paper with a neutral state of mind, such
as when throwing away scrap paper. If there

is repeated implementation of such angry intention, the effects of accumulation will become clearer and clearer, and may develop
to more significant levels.
	 Consider the specks of dust which come
floating unnoticed into a room; there isn’t
one speck which is void of consequence. It is
the same for the mind. But the weight of that
consequence, in addition to being dependent
on the amount of mental “dust,” is also related to the quality of the mind. For instance,
specks of dust which alight onto a road surface have to be of a very large quantity before the road will seem to be dirty. Specks
of dust which alight onto a floor, although
of a much smaller quantity, may make the
floor seem dirtier than the road. A smaller
amount of dust accumulating on a table top
will seem dirty enough to cause irritation. An
even smaller amount alighting on a mirror will
seem dirty and will interfere with its functioning. A tiny speck of dust on a spectacle lens
is perceptible and can impair vision. In the

Bangkok Garden ท�ำบุญเลี้ยงพระทุก ๆ เดือน

ครอบครัวจรรยาทรัพย์กจ ท�ำบุญวันเกิดให้นองซอนญ่า
ิ
้
แสงธรรม 7

Saeng Dhamma

same way, volition or intention, no matter
how small, is not void of fruit. As the Buddha
said:
	 “All kamma, whether good or evil, bears
fruit. There is no kamma, no matter how
small, which is void of fruit.”
	 In any case, the mental results of the
law of kamma are usually overlooked, so another illustration might be helpful:
	 There are many kinds of water: the water in a sewer, the water in a canal, tap water,
and distilled water for mixing a hypodermic
injection. Sewer water is an acceptable habitat for many kinds of water animals, but is
not suitable for bathing, drinking or medicinal
use. Water in a canal may be used to bathe
or to wash clothes but is not drinkable. Tap
water is drinkable but cannot be used for
mixing a hypodermic injection. If there is no
special need, then tap water is sufficient for
most purposes, but one would be ill-advised
to use it to mix a hypodermic injection.
	 In the same way, the mind has varying

levels of refinement or clarity, depending on
accumulated kamma. As long as the mind
is being used on a coarse level, no problem
may be apparent, but if it is necessary to use
the mind on a more refined level, previous
unskillful kamma, even on a minor scale, may
become an obstacle.
b: Kamma as conditioning factor
	 Expanding our perspective, we find kamma as a component within the whole life
process, being the agent which fashions the
direction of life. This is kamma in its sense of
“sankhara,” c as it appears in the Wheel of
Dependent Origination,d where it is described
as “the agent which fashions the mind.” This
refers to the factors or qualities of the mind
which, with intention at the lead, shape the
mind into good, evil or neutral states, which
in turn fashion the thought process and its
effects through body and speech. In this context, kamma could be defined simply as volitional impulses. Even in this definition we
still take intention as the essence, and that

ร้านนาวาไทย ท�ำบุญถวายภัตตาหารเพลเพือความเป็นสิรมงคล
่
ิ

TONO SUSHI ท�ำบุญเลี้ยงพระทุกเดือนด้วยรอยยิ้มอิ่มบุญ
แสงธรรม 8

Saeng Dhamma

is why we sometimes see the word sankhara
translated simply as intention.
c: Kamma as personal responsibility
	 Now let us look further outward, to the
level of an individual’s relation to the world.
Kamma in this sense refers to the expression
of thoughts through speech and actions. This
is behavior from an ethical perspective, either
on a narrow, immediate level, or on a broader level, including the past and the future.
Kamma in this sense corresponds to the very
broad, general meaning given above. This is
the meaning of kamma which is most often
encountered in the scriptures, where it occurs as an inducement to encourage responsible and good actions, as in the Buddha’s
words:
	 “Monks! These two things are a cause of
remorse. What are the two? Some people in
this world have not made good kamma, have
not been skillful, have not made merit as a
safeguard against fear. They have committed
only bad kamma, only coarse kamma, only
harmful kamma … They experience remorse
as a result, thinking, ‘I have not made good
kamma. I have made only bad kamma …’”
	 It is worth noting that these days, not
only is kamma almost exclusively taught from
this perspective, but it is also treated largely
from the perspective of past lives.
d: Kamma as social activity or career
	 From an even broader radius, that is,
from the perspective of social activity, we
have kamma in its sense of work, labor or

profession. This refers to the life-styles and
social undertak¬ings resulting from intention,
which in turn affect society. As is stated in the
Vasettha Sutta:
	 “Listen, Vasettha, you should understand it thus: One who depends on farming
for a livelihood is a farmer, not a Brahmin;
one who makes a living with the arts is an
artist … one who makes a living by selling is
a merchant … one who makes a living working for others is a servant … one who makes
a living through stealing is a thief … one who
makes a living by the knife and the sword is
a soldier … one who makes a living by officiating at religious ceremonies is a priest,
not a Brahmin … one who rules the land is
a king, not a Brahmin … I say that he who
has no defilements staining his mind, who is
free of clinging, is a Brahmin … One does not
become a Brahmin simply by birth, but by
kamma is one a Brahmin, by kamma is one
not a Brahmin. By kamma is one a farmer, an
artist, a merchant, a servant, a thief, a soldier,
a priest or even a king … it is all because of
kamma. The wise person, seeing Dependent
Origination, skilled in kamma and its results,
sees kamma as it is in this way. The world is
directed by kamma. Humanity is directed by
kamma …” 5
To be continued

อนุโมทนาเจ้าภาพน้ำ�พระพุทธมนต์ปีใหม่ ๒๕๕๖

คุณพ่อจำ�เนียร แซ่ฉิ่น - คุณแม่ยิ่น แซ่พัน - แม่ชีเมย์
แสงธรรม 9

Saeng Dhamma

WHAT DOES BEING
BORN MEAN?

By Du Wayne Engelhart

	B

eing born is usually taken in the
sense of being brought into the
world.  We say that a mother gives birth to
her child.  Birth is the physical act of a mother
bringing a child into existence.         
	 Some religious groups say they are “bornagain” Christians.  Here they are talking about
a spiritual kind of birth, a rebirth (re-birth, birth
again).  This rebirth is a birth “from above.”  
The key passage from the Bible to which they
refer is from the Gospel according to John, in
which Christ says, “Amen, amen, I say to you,
no one can see the kingdom of God without
being born from above [reborn]” (John 3.3
New American Bible).   If a person accepts
God’s message based on faith, he or she is
born from above.  The person is “saved” and
will one day enter the kingdom of heaven.  
(See, for example, St. Paul, Ephesians 2.8-9,
and Titus 3.4-7.)   
	 Being born into the world is a blessing,
a good thing.  We celebrate our birthday, the

day we came into existence.  Being a bornagain Christian is a good thing because of
the positive effects that result.  Though we
may not always agree with what born-again
Christians say, we do not criticize their basic
beliefs insofar as these beliefs help them
lead good lives.   In considerations of other
religions, we stress the unity at the basis of all
religions: we do not focus on the differences.     
     In a little known book, Another Kind of Birth
(actually a lecture from 1969), the Buddhist
teacher Buddhadāsa Bhikkhu considers a
type of birth that differs from physical birth
and from the spiritual birth of the bornagain Christians: a mental kind of birth, a bad
kind of birth.  This type of birth presents a
problem.  This is the birth that is part of the
causal process called Dependent Origination.  
In Dependent Origination (the short version),
contact with the sense forms develops
into feeling, feeling into desire, desire into
attachment, attachment into being, being
แสงธรรม 10

Saeng Dhamma

into birth, birth into old age, and old age into
death (compare the Mahānidāna Sutta, in the
Dīgha Nikāya 15, especially 15. 2; and Varasak
Varadhammo, Suffering and No Suffering, p.
60 ff).  This causal process is a description of
how a suffering state involving the “I” and
“mine” emerges.   Birth here is the mental
birth of a suffering self, for instance, an angry
state of mind, not the physical birth of a
human being.  It is the birth of a hellish state
of mind.   Hell is not other people defining
us and keeping us from being free (the view
of the existentialist philosopher Jean Paul
Sartre).  Rather, we are our own hell here and
now when we fill the world with the “I” and
“mine” and so bring suffering into our lives—
just as we are our own heaven when we get
rid of the suffering self in a life of lovingkindness and compassion for others.   “The
real meaning of ‘hell’ is anxiety (ความร้อนใจ,
literally ‘mind-heat’).  Anxiety burns one like a
fire.  . . . [I]f [a person] is burning with anxiety .
. ., burning through involvement in ‘I,’ ‘mine,’
then he [or she] is in hell” (Another Kind of
Birth, p. 21).   The purpose of the Buddhist
way of life is to put an end to the mental kind
of birth that leads to suffering by ceasing to
be involved with the “I” and “mine.”  
	 There is a passage in a Christian text,
St. Paul’s First Letter to the Corinthians,

that presents the essence of Buddhism
in a striking way: “From now on, let those
having wives act as not having them, those
weeping as not weeping, those rejoicing as
not rejoicing, those buying as not owning,
those using the world as not using it fully.  
For the world in its present form is passing
away. / I should like [want] you to be free of
anxieties” (1 Corinthians 7.29-32 NAB).  This
passage is essential Buddhism, for it is really
about getting rid of “I” and “mine” from our
lives.  At essence, this is what all true religions
aim at doing; this is what unites them.  (See
Buddhadāsa Bhikkhu’s interpretation of the
passage in Another Kind of Birth, pp. 28-30;
also, the discussion in his Christianity and
Buddhism, pp. 120-21.)
Wat Thai Washington, D.C.,
December 18, 2012

คณะศิ ษ ย์ วั ด ไทยฯ ดี . ซี . เตรี ย มอาหารถวายพระสงฆ์
บทความพิเศษ

แสงธรรม 11

Saeng Dhamma

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)

กาลเวลา :
ส่งปีเก่า รับปีใหม่
(เพิ่มบุญใหญ่ให้ชีวิต)

ส่ ง ปี เ ก่ า รั บ ปี ใ หม่ อาศั ย กาลเวลาที่ ม ากั บ ความ
เปลี่ยนแปลง
	 เรื่องการส่งปีเก่าต้อนรับปีใหม่นั้นก็ได้เคยพูดมา
หลายครังแล้วว่า ความจริงนันเป็นเรืองสมมติ คือกาลเวลา
้
้
่
มันก็หมุนเวียนเรื่อย ๆ ไปตามปกติธรรมดา เราก็มาแบ่ง
จัดเป็นเดือน ๆ มีการก�ำหนดว่าเดือนนั้นมีเท่านั้นเท่านี้วัน
อะไรท�ำนองนี้ โดยค�ำนวณจากจ�ำนวนวันทั้งหมด ๓๖๕
หรือ ๓๖๖ วัน ที่โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ การที่จะแบ่ง
เป็นเดือนนันเดือนนี้ มีเท่านันเท่านีวนอะไรนี่ เป็นเรืองของ
้
้
้ั
่
สมมติ ซึ่งเราจะตัดตอนเอาตรงไหนเป็นปีใหม่ก็ได้ เพราะ
ฉะนั้น เรื่องของโลกสมมตินี้จึงไม่เหมือนกัน บางแห่งและ
บางยุคบางสมัยก็ถอวันขึนปีใหม่ทจดหนึง พอเปลียนไปยุค
ื ้
ี่ ุ ่
่
สมัยหนึ่งหรือเปลี่ยนถิ่นฐานไป ก็มีประเพณีต่างออกไป มี
การก�ำหนดวันส่งปีเก่าวันขึนปีใหม่อกตอนหนึง ดังจะเห็น
้
ี
่
ว่ามีการส่งปีเก่า-ขึนปีใหม่แบบไทยเดิม หรือแบบสงกรานต์
้
ก็มี หรือแบบเคยถือเดือนอ้ายก็มี ตลอดกระทังว่า แบบจีน
่
ก็มตรุษจีน แบบฝรังก็มตรุษฝรังอะไรท�ำนองนี้ แล้วก็มาถือ
ี
่ ี
่
เป็นสากล ว่าวันที่ ๑ มกราคม อย่างที่เราจะจัดตามที่ถือ
กันในบัดนี้ รวมแล้วก็คือเป็นเรื่องของกาลเวลา
กาลเวลาเป็ น เรื่ อ งของการเปลี่ ย นแปลง และการ
เปลี่ยนแปลงนี้แหละที่เป็นเรื่องส�ำคัญ เป็นเรื่องของ
ธรรมะ

	 สัจธรรมหรือความจริงในเรื่องของวันสิ้นปีเก่าและ
วันขึนปีใหม่นน ก็อยูทกาลเวลาซึงมีการเปลียนแปลงนีเ้ อง
้
ั้
่ ี่
่
่
การเปลี่ยนแปลงนี้ท�ำให้เรามีการแบ่งเวลาออกไป การที่
เราบอกว่ามีปีใหม่ปีเก่านั้น ถ้าว่าโดยสาระส�ำคัญแล้ว ก็
เป็นเรื่องของกาลเวลาที่เราแบ่งเป็นอดีต ปัจจุบัน และ
อนาคต ที่ว่าเก่ากับใหม่นั้น เก่าเราบอกได้ว่าเป็นอดีต คือ
เรื่องที่ผ่านไปแล้ว ส่วนที่ว่าใหม่นี้ยังก�้ำ ๆ กึ่ง ๆ ในแง่หนึ่ง
คือก�ำลังเปลี่ยนจากเก่ามาเป็นใหม่ ใหม่ก็คือเวลานี้ ที่พบ
อยู่เดี๋ยวนี้ ซึ่งถือว่าเป็นปัจจุบัน แต่ต่อจากปัจจุบันไปยังมี
อนาคตอีก เพราะฉะนั้น  ถ้าจะแบ่งกาลเวลาให้ครบถ้วน
แล้ว เก่ากับใหม่ยงได้เวลาไม่ครบทีเดียว ถ้าจะให้ครบต้อง
ั
แบ่งเป็นอดีต ปัจจุบัน และอนาคต รวมเป็น ๓ กาล  
ความเปลียนแปลง คูกนไปกับกาลเวลา ชีวตคน คูกนมา
่
่ั
ิ
่ั
กับการท�ำกรรม
	 เรื่องของกาลเวลาก็มี ๓ กาลนี้แหละ คือมีอดีต
ปัจจุบน และ อนาคต ซึงเป็นเรืองทีสำคัญมากเกียวกับชีวต
ั
่
่ ่�
่
ิ
ของมนุษย์
	 ชีวตมนุษย์นนเป็นเรืองของการสืบต่อ คือสืบต่อจาก
ิ
ั้
่
อดีตมาปัจจุบัน แล้วจะสืบทอดไปข้างหน้า เรียกว่า อดีต
ปัจจุบัน อนาคต และทั้งสามนั้นไม่ใช่ตัดตอนขาดจากกัน
ไม่ใช่ว่าเมื่อเราพูดแบ่งเป็นอดีต ปัจจุบัน และอนาคต แล้ว
แต่ละอย่างจะเป็นเรืองของแต่ละตอน ไม่ใช่อย่างนัน ความ
่
้
แสงธรรม 12

Saeng Dhamma

จริง อดีต ปัจจุบัน และอนาคตนั้นสืบต่อกัน เป็นของต่อ
เนืองเหมือนอย่างชีวตของเรานี้ ก็สบทอด มาตังแต่เด็ก จน
่
ิ
ื
้
กระทั่งปัจจุบันนี้ แล้วยังจะสืบทอดต่อไปอีกเท่าไรจนถึง
อายุขย ซึงก็ไม่แน่นอนว่าจะสินสุดลงเมือใด แต่ทงหมดนัน
ั ่
้
่
ั้
้
ก็เป็นเรื่องของการสืบต่อทั้งสิ้น
	 ทีนี้ การสืบต่อทีสำคัญในชีวตของเราอย่างหนึงก็คอ
่�
ิ
่ ื
เรื่องของกรรม กรรมนั้นเป็นการสืบต่อที่สำคัญ เรียกกัน
�
ว่าการสั่งสม ชีวิตของเรานั้นมีการสั่งสมกรรม พระพุทธ
ศาสนาสอนไว้วา “มนุษย์แต่ละคนมีกรรมเป็นของ ๆ ตน
่
แต่ละคนเป็นทายาทของกรรม” ที่ว่าเป็นทายาทของ
กรรมเพราะอะไร ก็เพราะว่าเราได้สร้างกรรมไว้ เมื่อเรา
สร้างกรรมไว้อย่างไร เราก็เป็นทายาทของกรรมนั้น และ
เป็นผู้รับผลของกรรมนั้น เมื่อกรรมเกิดจากการสะสม มัน
ก็เป็นเรื่องของกาลเวลา ที่เรียกว่า อดีต ปัจจุบัน อนาคต
เราสั่งสมกรรมมาในอดีตแล้วมันก็สืบทอดมาถึงปัจจุบันนี้
ตัวเราในปัจจุบนนีกเ็ ป็นผลของการสังสมของกรรมทังหมด
ั ้
่
้
ในอดีต แล้วกรรมที่เราท�ำในปัจจุบันนี้ ก็จะรวมเข้ากับ
กรรมที่ได้สั่งสมไว้ หรือทุนเดิมที่มีอยู่ทั้งหมดนั้น และเพิ่ม
ทุนเข้าไปอีก
	 ส�ำหรับไปให้ผลในอนาคตต่อไปข้างหน้า เพราะ
ฉะนั้น การมีชีวิตในปัจจุบันแต่ละเวลา ก็คือการเพิ่มทุน
สะสมเพิมเข้าไปในกองเสบียงทุน ทีเ่ ราท�ำไว้ทงหมดนัน ให้
่
ั้
้
มีผลยิ่ง ๆ ขึ้นไป
	 ด้วยเหตุนี้ทางพระพุทธศาสนาท่านจึงสอนให้เราไม่
ประมาท เพราะว่า เมือรูวาชีวตของเราเป็นการสังสมกรรม
่ ้่ ิ
่
เราก็ควรจะสั่งสมกรรมที่ดี ดังที่มีพระพุทธพจน์สอนไว้ว่า
อย่าดูถูกกรรมไม่ว่าดีหรือชั่ว แม้จะมีประมาณน้อย ตาม
พุทธภาษิตว่า “มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสสติ”
ฺ
แปลว่า   “อย่าดูหมินกรรมชัวหรือบาปว่าเล็กน้อย คงจะ
่
่
ไม่มาถึงตัว” เปรียบเหมือนน�ำหยดทีละน้อย ๆ ก็ทำให้ตม
้
� ุ่
น�้ำที่ใหญ่โตเต็มไปด้วยน�้ำได้ฉันใด คนเราก็เช่นเดียวกัน
เมื่อสั่งสมกรรมที่เป็นบาปทีละน้อย ๆ แล้วชีวิตก็เต็มไป

ด้วยบาปได้ฉันนั้น
	 ในทางตรงกันข้าม บุญก็เช่นเดียวกัน ท่านก็สอนว่า  
“มาวมญฺเญถ ปุญญสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ” แปลว่า
“อย่าดูหมิ่นบุญว่าเป็นของเล็กน้อย คงจะไม่เกิดผล”
เปรียบเหมือนตุมน�้ำใหญ่ยอมเต็มด้วยน�้ำทีหยดทีละเล็กที
่
่
่
ละน้อยได้ฉันใด คนเราด�ำเนินชีวิตที่ประกอบด้วยการ
ท�ำความดีหรือบุญ ก็มชวตทีเต็มเปียมไปด้วยบุญได้ฉนนัน
ีีิ ่
่
ั ้
อันนี้เป็นคติเตือนใจให้เราพยายามใช้เวลาในการที่จะท�ำ
แต่กรรมดีงาม ให้เป็นประโยชน์ ซึงเป็นเรืองการสืบต่อของ
่
่
ชีวิตและเป็นการสืบต่อของกรรมไปด้วย
เมื่อมีชีวิตอยู่ไป กรรมก็สั่งสมขึ้นมากมาย ต้องรู้จักทั้ง
ตัดและต่อ จึงจะมีชีวิตที่ดีได้
	 ส�ำหรับมนุษย์นั้น กรรมกับชีวิตไม่สามารถแยกจาก
กันได้  เมือมีชวตก็มกรรม เพราะเหตุทมกรรมนันแหละจึง
่ ีิ ี
ี่ ี
้
ท�ำให้ชวตสืบต่อไป เพราะฉะนัน กรรมก็อดหนุนชีวต และ
ีิ
้
ุ
ิ
เมื่อมีชีวิตก็ท�ำกรรมกันต่อไป ข้อส�ำคัญอยู่ที่ว่าเราจะใช้
ชีวิตนั้นท�ำกรรมอะไร
	 พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เราท�ำกรรมดี และตรงนี้ก็
เป็นแง่ของการที่จะสืบต่อ
	 คนเราจึ ง ต้ อ งใช้ ก ารสื บ ต่ อ ให้ เ ป็ น ประโยชน์
หมายความว่า ชีวตทีเป็นการสังสมก็ดี สืบต่อก็ดี เราควร
ิ ่
่
จะท�ำให้เป็นการสืบต่อและเป็นการสั่งสมที่เป็นบุญเป็น
กุศล ถ้าสืบต่อดีก็เกิดบุญเกิดกุศลมาก ชีวิตนี้ก็จะเต็ม
เปี่ยมไปด้วยบุญด้วยกุศล
	 แต่ในเวลาเดียวกัน พระพุทธเจ้าก็ทรงสอนให้เรารูจก
้ั
ตัดด้วยเหมือนกัน ไม่ใช่ให้สืบต่ออย่างเดียว สืบต่อในแง่ที่
จะท�ำให้เกิดประโยชน์แก่ชวต แต่ในทางจิตใจของเรานี้ ถ้า
ีิ
เราไม่รจกตัด มันก็ทำให้เกิดความทุกข์ได้ อย่างคนบางคน
ู้ ั
�
ท�ำกรรมไว้ แม้จะท�ำบาปไว้เพียงนิดหน่อย แล้วก็มาเป็น
ห่วงเป็นกังวลกับบาปหรือกรรมไม่ดีที่เคยท�ำไว้ แล้วจิตใจ
ก็ไม่มีความสุข ด้านนี้พระพุทธเจ้าทรงสอนว่าต้องรู้จักตัด
	 เมือกีนตองรูจกต่อ ต่อให้ดกคอสังสมแต่สวนทีดี ทีนี้
่ ้ ี้ ้ ้ ั
ี็ื ่
่ ่
แสงธรรม 13 Saeng Dhamma

ส่วนทีเ่ ป็นโทษก็รจกตัด รูจกตัดอย่างไร ตัดอย่างทีหนึง คือตัด
ู้ ั
้ั
่ ่
ในความคิดของเรานีแหละ ดังทีพระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้วา
้
่
่
	 “ไม่ควรมัวหวนละห้อยถึงความหลัง หรือสิงทีลวง
่ ่่
แล้ว และก็ไม่ควรฝันเฟ้อถึงอนาคตด้วยเช่นเดียวกัน สิง
่
ที่เป็นอดีตก็ล่วงไปแล้ว สิ่งที่เป็นอนาคตก็ยังมาไม่ถึง
ควรด�ำรงอยู่ด้วยสิ่งที่เป็นปัจจุบัน”
	 ถ้าเราพิจารณารูชดว่ากรรมนีดี เป็นสิงทีเ่ ป็นปัจจุบน
้ั
้
่
ั
อยู่เฉพาะหน้า แล้วก็พยายามขวนขวายท�ำปัจจุบันนั้นให้
ดี ก็จะมีชีวิตที่ดีงามได้
	 ตัดอย่างที่สอง เป็นไปตามหลักความจริงที่ว่า คน
เรานี้เปลี่ยนแปลงได้ เพราะเป็นอนิจจัง และเป็นไปตาม
เหตุปจจัย หมายความว่าจะเปลียนไปอย่างไรก็เป็นไปตาม
ั
่
เหตุปัจจัย เพราะฉะนั้น กรรมที่ท�ำมาแล้ว ถ้าแม้ว่าได้ท�ำ
อกุศลมา ก็สามารถที่จะละเลิกแล้วหันมาท�ำกุศล มีพุทธ
พจน์ตรัสให้ก�ำลังใจไว้ว่า
	 “โย จ ปุพฺเพ ปมชฺชิตฺวา 	ปจฺฉา โส นปฺปมชฺชติ
	 โสมํ โลกํ ปภาเสติ 	 อพฺภา มุตโต ว จนฺทมา”
ฺ
ิ
	 คาถานีแปลความได้วา  “บุคคลใดเคยประมาทแล้ว
้
่
ในกาลก่อน มาภายหลังเลิกละ หันมาเปลี่ยนเป็นไม่
ประมาท บุคคลนั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่างไสว เหมือนดัง
ดวงจันทร์ที่พ้นจากเมฆหมอก”
	 พุทธภาษิตนีหมายความว่า ถ้าเราเคยท�ำอกุศลกรรม
้
หรือบาปอะไรไว้ และถ้าหากเรารูแล้วว่าสิงนันเป็นโทษ ไม่
้
่ ้
ดีไม่งาม เราก็เลิกละเสีย แล้วหันมาท�ำสิงทีดงามด้วยความ
่ ่ี
ไม่ประมาท ก็จะกลับเกิดเป็นบุญเป็นกุศล และจะท�ำให้
ชีวิตนี้สว่างไสวขึ้นมา ตั้งแต่จิตใจของตนเองก็จะปลอด
โปร่ง เบิกบาน แจ่มใสได้ เรียกว่า พ้นจากเมฆหมอก เหมือน
ดังดวงจันทร์ที่ว่า เมื่อพ้นจากเมฆหมอกออกมาได้ ก็ส่อง
แสงสว่างให้โลกนี้แจ่มจ้า งดงามสดใสได้ฉันนั้น
ถ้ารู้เข้าใจธรรม ก็ปิดกั้นกรรมเองได้
	 ยังมีคาถาอีกคาถาหนึ่ง ที่ตรัสให้ก�ำลังใจไว้ส�ำทับ
ความให้ชัดยิ่งขึ้นว่า

	 “ยสฺส ปาปํ กตํ กมฺมํ กุสเลน ปิถียติ
	 โสมํ โลกํ ปภาเสติ
อพฺภา มุตฺโตว จนฺทิมา”
	 แปลความว่า “บุคคลใดกระท�ำบาป คือกรรมชัวไว้
่
แล้ว ภายหลังปิดกั้นกรรมชั่วนั้นเสียด้วยกุศล บุคคลนั้น
ย่อมยังโลกนี้ให้สว่างไสว เหมือนดังดวงจันทร์ที่พ้นจาก
เมฆหมอก”
	 คาถานี้ก็เช่นเดียวกัน ที่ว่าแต่ก่อนประมาทนั้นคือ
อะไร ก่อนนันประมาทก็คอไม่ทนคิด ไม่ทนได้พจารณา ยัง
้
ื ั
ั ิ
ไม่มความรู้ ไม่มความเข้าใจ ก็อาจจะท�ำสิงทีเป็นบาป เป็น
ี
ี
่ ่
อกุศลไว้ ต่อมาไม่ประมาท คือเกิดสติ และได้พิจารณา มี
ความรู้ความเข้าใจแล้ว ก็เลิกละอกุศลเปลี่ยนมาท�ำกุศล
แทน ก็เอากุศลนั้นมาปิดบาปเสีย ที่ว่าปิดนั้นไม่ใช่ปิดบัง
แต่ว่าปิดรายการทีเดียว ปิดบังนั้นเป็นคนละเรื่องกัน การ
ทีจะปิดบังบาปนัน ปิดบังในใจเราไม่ได้ แต่ตองเอากุศลมา
่
้
้
ปิด หมายความว่า จบรายการของอกุศลหรือบาปนั้น โดย
เอากุศลเข้ามาแทน ก็ท�ำให้เกิดความดีงามขึ้นมา
เมื่อกุศลเกิดขึ้นแล้ว ก็ปิดอกุศลหรือปิดบาปเสียให้จบ
สิ้นรายการไป
	 เพราะฉะนั้น แม้ว่าคนเรานี้เมื่อมีชีวิตอยู่อาจจะ
ท�ำกรรมดีบ้างชั่วบ้างได้ แต่กรรมที่ท�ำไว้ชั่วนั้น ถ้าเรารู้
เข้าใจแล้ว และรูจกปฏิบตให้ถกต้อง โดยมีโยนิโสมนสิการ
้ั
ัิ ู
คือท�ำในใจไว้โดยแยบคาย แล้วท�ำกุศลขึ้นมาแทน ก็
สามารถปิดกันอกุศลนันให้หมดพิษสงไปได้ บาปทีทำไว้ ที่
้
้
่ �
ท่านว่าไม่หายไปไหนนั้น เมื่อท�ำบุญไป ๆ บาปก็ถูกยับยั้ง
ถูกครอบง�ำ  หรือถูกท่วมทับ หมดฤทธิ์ เพราะบุญมีก�ำลัง
เหนือกว่า บาปก็ถกปิดถูกกันไม่สามารถแสดงผลได้ เปรียบ
ู
้
เหมือนกับว่าเราเอาน�ำสีแดงหรือสีเขียวหรือสีสกปรกอย่าง
้
ใดอย่างหนึ่ง อาจจะเป็นสีด�ำก็ได้ มาใส่ไว้ในภาชนะ เมื่อ
เราใส่แต่น�้ำสีดำสกปรกลงไป เราก็เห็นชัดว่าน�้ำนันสกปรก
�
้
เช่นว่าน�้ำสีด�ำลิตรหนึ่ง ใส่ลงไป ก็เห็นชัดเลยว่าเป็นน�้ำ
สกปรก เป็นน�้ำสีด�ำ  เหมือนกับกรรมชั่วที่ท�ำไว้ ทีนี้ต่อมา
เราได้สติ และรู้เข้าใจแล้ว ก็ไม่ประมาท เราก็ไม่ท�ำกรรม
แสงธรรม 14

Saeng Dhamma

ชัวนันเพิมอีก น�ำสีดำทีสกปรกมีจำนวน ๑ ลิตร ก็อยูแค่ ๑
่ ้ ่
้ � ่
�
่
ลิตรนัน ทีนี้ ต่อจากนัน เราท�ำแต่กรรมดี เราท�ำกรรมดีมาก
้
้
ขึน ๆ เหมือนกับใส่นำใสลงไป ๆ ใส่เรือย เติมอยูเ่ รือย จน
้
�้
่
่
กระทังว่าน�ำใสนันมีปริมาณมากมายตังหลายถัง แล้วในทีสด
่ ้ ้
้
ุ่
ก็จะปรากฏชัดเจนว่า น�้ำที่เป็นสีแดง หรือสีด�ำลิตรเดีย
วนั้นน่ะมองไม่เห็นเลย ในน�้ำที่มีปริมาณมากมาย ซึ่งมี
จ�ำนวนตังพันลิตร หมืนลิตร น�ำสีดำทีมเี พียงลิตรเดียวนัน
้
่
้ � ่
้
มองไม่เห็นเลย เจือจางไปหมด ทัง ๆ ทีความจริงน�ำสีแดงสี
้ ่
้
ด�ำนันก็ยงมีอยู่ แต่มองไม่เห็น ไม่มความหมาย น�ำทังหมด
้ ั
ี
้ ้
นันกลายเป็นสีใสไปหมด เรืองนีกเ็ หมือนกัน ในเมือท�ำกรรม
้
่ ้
่
ทีเ่ ป็นกุศลท�ำบุญมากขึน ๆ บาปทีมเี ล็กน้อยนัน มีกเ็ หมือน
้
่
้
ไม่มี เลยหมดความหมายไปเอง หรืออุปมาอีกอย่างหนึงว่า
่
	 ในกรณีทถาสามารถท�ำกุศลทีเ่ ป็นโลกุตตระขึนมา โลกุ
ี่ ้
้
ตตรกุศลนันจะตัดกรรมชัวให้หมดไปได้ เหมือนกับว่ามีนำสี
้
่
�้
ใส่ลงไปในภาชนะ คราวนีเ้ ราไม่ได้เติมน�ำใส แต่เราเอาสาร
้
เคมีชนิดหนึงใส่ลงไป พอใส่สารเคมีนนลงไป น�ำสีนนก็กลาย
่
ั้
้ ั้
เป็นน�ำใสไปเลย การใส่โลกุตตรกุศลลงไปเหมือนกับเป็นสาร
้
เคมี เปลี่ยนให้สีน�้ำที่แดงนั้นกลายเป็นน�้ำใสไปได้ เพราะ
ฉะนัน กุศลนีแหละเป็นตัวปิดกัน เป็นตัวตัดผลทีเ่ ป็นวิบาก
้
่
้
อันชัวของกรรมทีเ่ ป็นบาปไปเสียได้ฉนนัน
่
ั ้
	 เพราะฉะนันจึงได้บอกว่า พระพุทธเจ้านอกจากทรง
้
ให้รู้จักต่อแล้ว ก็ทรงให้รู้จักตัดด้วย ในแง่ต่อก็คือให้รู้ว่า
อดีต ปัจจุบน และอนาคตนัน เป็นกระบวนการอันเดียวกัน
ั
้
ทีไหลเนืองสืบต่อกันไป เพราะฉะนัน เราจึงใช้ปจจุบนนีใน
่
่
้
ั ั ้
การใส่สิ่งใหม่ที่ดีเติมเข้าไป หรือเพิ่มทุนหรือว่าท�ำกรรม
ใหม่เพิ่มเข้าไปในกระบวนการแห่งกรรมของเรา เราท�ำแต่
กรรมดี เพื่อให้กระบวนการสืบต่อชีวิตของเรานั้นเป็นกระ
บวนการที่ดี อันนี้เป็นการรู้จักต่อ
แต่ในเวลาเดียวกันก็ให้รู้จักตัด
	 คือปฏิบัติตามพุทธภาษิตที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า  
“อตีตํ นานฺวาคเมยฺย นปฺปฏิกงฺเข อนาคตํ” แปลว่า “ไม่
ควรหวนละห้อยถึงความหลังที่ล่วงไปแล้ว ไม่ควรฝัน

เพ้อถึงสิ่งที่ยังไม่มาถึง สิ่งใดเป็นปัจจุบันอยู่เฉพาะหน้า
มองพิจารณาให้เห็นชัดแล้ว พึงขวนขวายท�ำสิงนันให้ดี
่ ้
ที่สุด” อย่างนี้เป็นการตัดเรื่องเก่าด้วยความคิดที่ถูกต้อง
ประการหนึ่ง แล้วก็ตัดเสียด้วยการที่ท�ำกุศลปิดกั้นดังที่
พุทธพจน์ได้กล่าวมานั้นอีกประการหนึ่ง ก็จะท�ำให้อดีตที่
ผ่านไปนั้นกลายเป็นอดีต ที่ไม่สามารถแสดงผลในทางที่
เป็นอกุศลวิบาก อันนี้ก็เป็นวิธีการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่ง
สอนไว้ตามความเป็นจริงของธรรมชาติ
	 ในโอกาสที่เป็นมงคลอย่างนี้ อาตมภาพก็ขออ้างอิง
คุณพระรัตนตรัย อวยชัยให้พร “ระตะนัตตะยานุภาเวนะ
ระตะนัตตะยะเตชะสา” ด้วยอานุภาพคุณพระพุทธเจ้า คุณ
พระธรรม และคุณพระสงฆ์ อันเป็นทีพง ทีเคารพสักการะ
่ ึ่ ่
ของเราชาวพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย พร้อมทั้งบุญกุศลที่
ญาติโยมทุกท่านได้ช่วยกันร่วมกันบ� ำเพ็ญแล้ว จงเป็น
ปัจจัยอันมีกำลังอภิบาลรักษาให้ทกท่านเจริญด้วยจตุรพิธ
�
ุ
พรชัย ในกาลเวลาปีใหม่อันเป็นสิริมงคลนี้ จงประสบสุข
เป็นผลยิ่ง ๆ ขึ้นไป ตลอดปีใหม่และตลอดกาลอันเป็นนิจ
นิรันดร์ พร้อมทั้งจงมีความร่มเย็นเป็นสุขงอกงามในพระ
ธรรมค�ำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตลอดกาลนาน
เทอญ ฯ
	

เจ้าภาพก๋วยเตียวและข้าวต้มวันส่งท้ายปีเก่า-ต้อนรับปีใหม่
๋
แสงธรรม 15 Saeng Dhamma

ดร.ชัยยงค์ สัจจิพานนท์ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน เป็นประธานในพิธถวายพระพรชัยมงคลเนืองในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ี
่
๕ ธันวามหาราช โดยมีคณะทูตานุทตประเทศต่างๆ สมาคมชมรมไทย เข้าร่วมพิธอย่างคับคัง เมือวันที่ ๓ และ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕
ู
ี
่ ่
แสงธรรม 16

Saeng Dhamma

ความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี”
ดร.ชัยยงค์ สัจจิพานนท์ เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงวอชิงตัน พร้อมด้วย นายสาโรจน์ ธนสันติ

อัครราชทูต เดินทางมาทำ�บุญที่วัดไทยฯ ดี.ซี. และเยี่ยมชมความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี”
แสงธรรม 17 Saeng Dhamma

โครงการสร้างอาคาร 80 ปี หลวงตาชี
- เริ่มมีโครงการสร้างอาคาร 80 ปี 	
- เริ่มด�ำเนินการโครงการฯ 	
- วางแผน / ท�ำแปลนอาคาร / สถานที่	

- พ.ศ. 2548
- พ.ศ. 2549
- พ.ศ. 2550

(ขนาดอาคารมี 3 ชั้น มีพื้นที่ทั้งหมด 13,400 ตร.ฟ. )
- ได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการก่อสร้าง	
- 9 สิงหาคม 2555
- ท�ำสัญญากับบริษัทรับเหมาก่อสร้าง (บริษัท Therrien Waddel, Inc. / TW)
	
- 12 กันยายน 2555
- ประกอบพิธีเปิดหน้าดิน (GROUND BREAKING) 	 - 23 กันยายน 2555
- ผู้รับเหมา เริ่มลงมือก่อสร้าง 	
- 23 ตุลาคม 2555
- ระยะเวลาในการก่อสร้าง 8 เดือน 23 ตุลาคม 2555 – 14 มิถนายน 2556
ุ
- อนุญาตให้ย้ายเข้าอยู่ตึกใหม่ได้ได้ ตั้งแต่ 	
-	22 เมษายน 2556
- จัดงานฉลองอาคารพร้อมกับท�ำบุญอายุวัฒนมงคลครบ 88 ปี หลวงตาชี
	
- 8-9 มิถุนายน 2556
- ค่าก่อสร้างอาคาร รวมทั้งรื้อถอนอาคารเก่า – ท�ำ Land Scape และ
Parking Lots บางส่วน รวมทั้งสิ้น 2,171,513.00 ดอลล่าร์
แสงธรรม 18

Saeng Dhamma

รายการร่วมบริจาคท�ำบุญเป็นเจ้าภาพ
1. ประตูทางเข้าอาคาร 4 ชุด ๆ ละ 	 $1,500 		 (มีเจ้าภาพครบแล้ว)
2. ประตูภายในอาคาร 38 บาน ๆ ละ 	 $500		 (มีเจ้าภาพ 14 บาน)
3. หน้าต่างทั้งอาคาร 47 บาน ๆ ละ 	$700		 (มีเจ้าภาพ 12 บาน)
4. กระเบื้องมุงหลังคา ตารางฟุตละ 	 $30		 (มีเจ้าภาพ 8 ราย)
5. พรมปูพื้นทั้งอาคาร ตารางฟุตละ 	 $40 		 (ยังไม่มีเจ้าภาพ)
6. ห้องพระ หลวงพ่อด�ำ ตารางฟุตละ 	$150 		 (มีเจ้าภาพ 2 ราย)
7. ห้องวิปัสสนากรรมฐาน ตารางฟุตละ $150 		 (มีเจ้าภาพ 10 ราย)
8. ห้องพักพระสงฆ์ 8 ห้องๆ ตารางฟุตละ $150 		 (ยังไม่มีเจ้าภาพ)
9. ห้องสมุด 549 ตารางฟุต ๆ ละ 	 $150 		 (มีเจ้าภาพ 3 ราย)
10. ห้องน�ำพร้อมห้องสุขา 10 ห้อง ๆ ละ $7,500 		 (มีเจ้าภาพ 3 ราย)
้
11. ห้องสุขา ชาย/หญิง 10 ห้อง ๆ ละ $6,000 		 (ยังไม่มีเจ้าภาพ)
12. ห้องอาบน�้ำ (Stand Shower) 10 ห้อง ๆ ละ $1,500		 (มีเจ้าภาพ 3 ราย)
13. ห้องครัว ตารางฟุตละ 	
$150		 (มีเจ้าภาพ 1 ราย)
14. ห้องฉัน ตารางฟุตละ 	
$150		 (มีเจ้าภาพ 1 ราย)

15. ห้องส�ำนักงาน ตารางฟุต
16. ห้องเรียน ตารางฟุตละ
17. ห้องพักครู ตารางฟุตละ
18. กระเบื้องปูพื้น ตารางฟุตละ

$150
$150

(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
(ยังไม่มีเจ้าภาพ)

$30

(มีเจ้าภาพ 1 ราย)

$150

*************************

(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
แสงธรรม 19 Saeng Dhamma

รายนามผู้จองเป็นเจ้าภาพวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง
“อาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี”
1. ประตูทางเข้าอาคาร 4 บาน ๆ ละ

(มีเจ้าภาพครบแล้ว)
1.  คุณยุพิน  เลาหพันธ์ุ  และครอบครัว	
2.  ครอบครัวมานะกุล	
3.  วัดสุทธาวาส  CA	
4.  กลุ่มเพื่อนรัก (ธรรม)	
----------------------------

	$ 1,500
	
	
	
	

2. ประตูภายในอาคาร 38 บาน ๆ ละ 	 $ 500

1
	   บาน
1
	   บาน
1
	   บาน
1
	   บาน

(มีเจ้าภาพแล้ว 14 บาน)
1.  September  Birthday Group	
	
1
	   บาน
2.  คุณกุญชลี  อนันต์สุขศรี	
	
2
	   บาน
3.  คุณแม่แล่ม–คุณธัญญนันทน์  โพธิ์ทอง 	
     และครอบครัว	
	
1
	   บาน
4. คุณวนิดา สุนทรพิทักษ์, คุณยุพิน สงวนทรัพย์,  คุณบรรจง	
    พวงใหญ่, คุณดวงพร  เทียบทอง, คุณบุญลาภ พึ่งพินิจ,
    คุณชิดชู คงเจริญรส  และเพื่อนๆ	
	
1  บาน
5.  Southern  Thai  Association	
	
2  บาน
6.  ครอบครัวแย้มเพกา +  พยับเดชาชัย	 	
1  บาน
7.  คุณยายเสริมศรี  เชื้อวงศ์  และครอบครัว 	
     คุณทองพูน  เฮ็นเซ็น  และครอบครัว	 	
1  บาน
8.  คุณมิ่ง– คุณรุ้งฤดี–Fay–Muni  เพริศพราว    	 2  บาน
9.  คุณสมาน – คุณสมัญญา  จันทนามศรี	     	 2  บาน
10. คุณชวลิต-พรทิพย์ ใช้ญาณ-กนกพร ทองดรงค์   
     อุทศให้นางนิภา ม่วงโสภา-พ่อตุ-๊ แม่ทองใบ ม่วงโส 	1  บาน
ิ
11.	คุณสุกานดา  บุพพานนท์	
	
1  บาน
12.	คุณกัญญา	
	
1
	   บาน
13.	คุณแม่นิน, คุณบุญกอง สุธาวา, แม่บุญเหลือ โศกท้อ,
	 คุณไสว มูลทา	
	
1  บาน
14. คุณวิเชียร - คุณกัญญา จิตไพศาลสุข  	 	
1  บาน
(ยังไม่มีเจ้าภาพ 24 บาน)

3. หน้าต่าง 47 บานๆ ละ $700 (มีเจ้าภาพ 12 บาน)

1.  คุณวิรัตน์  สุขสมอรรถ	
	
1
	   บาน
2.  คุณ  Boontarica  บาลี	
	
1
	   บาน
3.  คุณกลวิทย์ – คุณรัชนี  รพีพันธ์	
	
3  บาน
4.  คุณ  Neetinate  Rattananet	
	
1  บาน
5.  คุณ  Kanya  Kambalasiri	
	
3  บาน
6.  กลุ่มเพื่อนรัก (ธรรม)	
	
1
	   บาน
7.  คุณดลวรรณ  เหวียน  และครอบครัว	 	
1  บาน
8.  คุณวนิดา สุนทรพิทักษ์, คุณยุพิน  สงวนทรัพย์,  1  บาน
     คุณบรรจง พวงใหญ่, คุณดวงพร  เทียบทอง,
     คุณบุญลาภ พึ่งพินิจ, คุณชิดชู คงเจริญรส  และเพื่อนๆ
9.  คุณอาทิตย์–คุณหนูทอง สุธาวา,คุณเสถียร จันทวร 		   บาน
1
10. คุณกุหลาบ  ปาระจิตร	
	
$
	5
(ยังไม่มีเจ้าภาพ 35 บาน)
---------------------------

4. กระเบื้องมุงหลังคา ตารางฟุตละ $ 30

1.  คุณ  Pinthong  Graffarian	
	 	 $  1,000
2.  ครอบครัวเกษมพันธัย	
	 	 $1,000
3.  คุณศิริพร-Edward-William Gresser	   	 	 $ 300
4.  คุณทรงพล–คุณสมศรี  เกียรติอภิวัฒน์	   	 	 $ 100
5.  คุณ  Waraphon  Woraharn + Pual  Pepal  	$ 50
6.  คุณ  Chittima Thamsiri, คุณ Tasana  Puttiwat 	$ 50
7.  คุณ  Chunvipa  Bamrungpetch	 	    	$ 50
8.  คุณวีราภรณ์-คุณธีวิทธ์  วงษ์โกวิท	    	 	 $ 50
---------------------------

5. ห้องสมุด 549 ตารางฟุต ๆ ละ $ 150

1.  คุณแม่วรรณ  ไกรโรจนานันท์	
	 	 $1,000
2.  คณะสื่อมวลชนจากมูลนิธิอิศรา  อมันตกุล	 	 $ 450
3.  คุณวัฒนิจ  เจริญพิทักษ์	
	 	 $ 150
---------------------------
แสงธรรม 20
6. ห้องวิปัสสนากรรมฐาน 233 ตารางฟุตๆ ละ $ 150

Saeng Dhamma

1.  พระมหาถนัด  อตฺถจารี	
	
$ 2,200
2.  ครอบครัววรรณสกุล	
	
$10,000
3.  Devin  Suvarnnasuddhi	
	
$ 802
4.  คุณอรพรรณ  Devoy	
	
$ 600
5.  คุณกีรติ อินโอชานนท์, คุณณัฐพร เรืองโชติชชวาล	 $ 150
ั
6.  คุณเยาวเรศ  อึงตระกูล	
	
$ 150
7.  คุณวิลาสินี เกียรติอภิวัฒน์	
	
$ 150
8.  คุณทรงพล–คุณสมศรี  เกียรติอภิวัฒน์	 	
$ 100
9.  คุณอาทิตย์  เกียรติอภิวัฒน์	
	
$ 50
10. คุณวรรณพร  ธรรมโชติ	
	
$ 50
---------------------------

7. ห้องอาบน�้ำ พร้อมห้องสุขา 10 ห้อง ๆ ละ $ 7,500
(มีเจ้าภาพแล้ว 3 ห้อง)
1.  ครอบครัวเจตบุตร	
	
2.  คุณพัชรา  ตวงเศรษฐวุฒิ  และครอบครัว	
3.  กลุ่มพลังบุญ	
	
4.  คุณนิพรรณ  พริ้งประยูร	
	
(ยังไม่มีเจ้าภาพ 7 ห้อง)

11. ห้องเรียน ตารางฟุตละ 	

$ 150

12. ห้องพักครู ตารางฟุตละ 	

$ 150

13. ห้องครัว ตารางฟุตละ 	

$ 150

14. ห้องฉัน ตารางฟุตละ 	

$ 150

(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
--------------------------(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
---------------------------

1.  Eastland Food Corporation	
	 $ 10,000
2.  คุณพยุง – คุณจินตนา  งามสอาด (เตาห้องครัว)	 $ 4,000
--------------------------1.  Eastland Food Corporation	
	
---------------------------

15. ห้องพระหลวงพ่อด�ำ ตารางฟุตละ 	 $ 150

1
	   ห้อง 1.  คุณพยุง – คุณจินตนา  งามสอาด  	
      $ 6,000	
1  ห้อง     ร้านทะเลไทย	
	 $ 1,000
1
	   ห้อง 2.  คุณกัญญา  สว่างโรจน์	
--------------------------$
	 1,009

16. กระเบื้องปูภายในอาคาร ตารางฟุตละ $ 30

8. ห้องอาบน�้ำ (Stand Shower) 14 ห้อง ๆ ละ $ 1,500 1.  คุณ Tasana Putthiwat,คุณ Anchalee,    

(มีเจ้าภาพ 3 ห้อง)
1.  คุณวรรณี  ศรีสุพรรณ์, คุณแสงจันทร์  โรบินสัน,  คุณทัฬห์
	 อัตวุฒ,ิ คุณบุณณ์ภสสร–คุณศรสวรรค์ พงศ์วรินทร์ 1 ห้อง
ั
2.  คุณเพลินจันทร์  พุชรัชต์ อุทิศส่วนกุศลให้พ่อประมวญ    แม่พัว ทรัพย์พันแสง และคุณสิทธิวัฒน์ พุชรัชต์	 1 ห้อง
3.  คุณศุภิสรา  คุรุฐิติ	
  	
1  ห้อง
(ยังไม่มีเจ้าภาพ 11 ห้อง)
---------------------------

9. ห้องสุขา (ไม่มีห้องน�้ำ) 14 ห้อง ๆ ละ $ 6,000
(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
---------------------------

10. ห้องส�ำนักงาน ตารางฟุตละ 	

(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
---------------------------

$ 150

$ 10,000

    Raweewan Dattanadon  	
	
---------------------------

17. พรมปูพื้น ตารางฟุตละ 	

$ 30

$ 40

1.  คุณดวงจ�ำปี บุญธรรม, คุณวงเดือน เมฆขุนทด, 	
    ป้านิตยา  ทอมสัน 	
	 $ 400
---------------------------

18. ห้องพักพระสงฆ์ 8 ห้อง (รวม 767 ตรฟ.ๆ ละ $ 150)
(ยังไม่มีเจ้าภาพ)
	 ขอเชิญชวนท่านสาธุชนผูใจบุญทุกท่านร่วมบริจาคทรัพย์
้
เป็นเจ้าภาพสร้าง “อาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี” ในรายการ
ต่างๆ ตามก�ำลังศรัทธาและความปรารถนาของท่าน
ขออนุโมทนาสาธุ..สาธุ..สาธุ..
(เจ้าภาพรายการต่างๆ จะประกาศให้ทราบฉบับต่อไป)
แสงธรรม 21 Saeng Dhamma

อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks
	 คณะสงฆ์และคณะกรรมการวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ขออนุโมทนาแด่สาธุชนทุก ๆ ท่าน ทีมจตศรัทธาถวาย
่ีิ
ภัตตาหารเช้า-เพล บริจาคสิงของ เสียสละแรงกาย แรงใจ ก�ำลังสติปญญา และความสามารถเท่าทีโอกาสจะอ�ำนวย
่
ั
่
ช่วยเหลือกิจกรรมของวัดด้วยดีเสมอมา ท�ำให้วดของเรามีความเจริญรุงเรืองก้าวหน้ามาโดยล�ำดับ โดยเฉพาะทุก
ั
่
ท่านที่มีส่วนร่วมในงานวันส�ำคัญต่าง ๆ ของทางวัด จึงประกาศอนุโมทนากับทุก ๆ ท่านมา ณ โอกาสนี้
�	คุณทาบช้าง  ถวายดอกไม้-ธูป-เทียน  ประจำ�ทุกอาทิตย์  
� คุณสุภา ปฏิธนาวรรณ ทำ�บุญสร้างอาคาร 80 ปี หลวงตาชี อุทิศส่วนกุศลให้คุณสันติ สิริลาภพูนผล และญาติๆ
�	คุณปรียา องค์พัฒนา  ทำ�บุญถวายสังฆทาน ซีอิ้วขาว 1 ลัง, น้ำ�ปลา 1 ลัง, ข้าวสาร 1 ถุง
�	คุณกุหลาบ ปาระจิตร  ถวายหวดนึ่งข้าวเหนียว 8 อัน, กระติบข้าว 6 กล่อง
�	นายแพทย์อรุณ-คุณสุมนา  สวนศิลป์พงศ์  ถวายน�้ำดื่ม White Grape  Napkins Vanity Fair ผืนใหญ่, กระดาษ Letter 36 รีม,
�	คุณชัยยุทธ - คุณยุพา - น้องกอล์ฟ - น้องนาตาลี สมเขาใหญ่ ถวายน�้ำดื่ม 4 ถังใหญ่
�	ครอบครัวจรรยาทรัพย์กิจ  ท�ำบุญวันเกิดให้น้องซอนญ่า  ถวายน�้ำดื่ม ข้าวสาร น�้ำมันพืช แนปกิ้น และอื่น ๆ
�	คุณยายเสริมศรี เชื้อวงศ์ คุณติ๊ ดลวรรณ เหวียน - คุณอังคณา อู่ทิฆัมพร ถวาย Green tea 1 กล่อง, น�้ำดื่ม 3 เคส
	 อุทิศส่วนกุศลให้คุณพ่อครบรอบ 3 ปี
�	คุณชัยรัตน์ - คุณสุกานดา เจตบุตร  ถวายน�้ำผลไม้  � ครอบครัวเปรมจิตต์ ท�ำบุญถวายสังฆทาน ในวันขึ้นปีใหม่
�	ครอบครัววิริยะ ท�ำบุญวันเกิดให้น้องธนศักดิ์ (บูม) วิริยะ ถวายสังฆทานชุดใหญ่ เพื่อความเป็นสิริมงคล
�	คุณน้อย - Doug - Atom ท�ำบุญถวายสังฆทาน เนื่องในวารดิถีขึ้นปีใหม่
�	คุณวิชัย-คุณพวงทอง และครอบครัวมะลิกุล ท�ำบุญถวายสังฆทานอุทิศสวนบุญกุศลให้คุณธิตินันท์ เฟื้องอารมย์ มีเปเป้อร์ทาวน์
	 ทิซซู่ น�้ำดื่ม  ผ้าขนหนู และอื่นๆ � ครอบครัวจันทร์ลอย ท�ำบุญอุทิศแม่จุล, ครอบครัวลายเงิน ท�ำบุญอุทิศให้แม่เสมอ
�	คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์-คุณธันยมัย มานะดี ถวายน�้ำเต้าหู้ใบเตย 5 แกลลอน �	คุณวาสนา น้อยวัน ถวายน�้ำเต้าหู้
�	คุณสุพงษ์ - คุณสุภาวดี (แมว) Orchid Travel ถวายโอวัลติน 4 ขวดใหญ่  
�	คุณกันยา กัมพลาสิริ ท�ำบุญวันเกิด ถวายนมข้น แนปกิ้น และจานโฟม

อนุโมทนาพิเศษงานวันพ่อแห่งชาติ ๕ ธันวามหาราช

ในนามคณะกรรมการจัดงานทุกฝ่าย ขออนุโมทนาขอบคุณ ดร.ชัยยงค์ สัจจิพานนท์ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ให้เกียรติเป็น
ประธานในพิธี ตลอดทังหัวหน้าสำ�นักงาน ข้าราชการสถานเอกอัครราชทูต สมาคม ชมรม พ่อค้า ประชาชน และพุทธศาสนิกชน
้
ทุกท่านที่ได้มาร่วมในพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี วันอาทิตย์ที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๕
เจ้าภาพน้ำ�ดื่มถังใหญ่ ถวายประจำ�ทุกเดือน
คุณแม่สงวน เกิดมี คุณจารุณี พิทโยทัย คุณประยูรศรี วรเลิศ คุณชัยยุทธ-คุณยุพา สมเขาใหญ่
คุณทัฬห์ อัตวุฒิ คุณบุณณ์ภัสสร คุณศรสวรรค์ พงศ์วรินทร์ น.พ. อรุณ คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์
คุณละม้าย คุณประมวล ทวีโชติ คุณทองพูน คุณสุนันทา เฮนเซ้น คุณยายเสริมศรี เชื้อวงศ์
คุณยายป้อม สุวรรณเตมีย์ คุณบุญเลิง วิสีปัตย์ คุณยายรำ�ไพ ราชพงษ์ คุณชูศรี กอร์
แสงธรรม 22

Saeng Dhamma

ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี.
ิ

You all are cordially invited to Wat Thai, D.C., Temple
to pay respect to or simply view the Buddha relics
on display in the chanting hall.

ปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนมกราคม

มกราคม

ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 19
2556 / 9:00 AM
** ศึกษาและปฏิบัติธรรมตามหลักมหาสติปัฏฐานสูตร **
แสงธรรม 23

Saeng Dhamma

เจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล ตลอดปี ๒๕๕๕
ขอเชิญสาธุชนผู้ต้องการบุญ
จองเป็นเจ้าภาพท�ำบุญ
ถวายดอกไม้บูชาพระประธาน
ในอุโบสถศาลา เนื่องในงานบุญ
หรือกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละเดือน

แสงธรรม 24 Saeng Dhamma

เจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า ตลอดปี ๒๕๕๕
แสงธรรม 25

Saeng Dhamma

เสียงธรรม.. จากวัดไทย
พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)

	
	

	

ค�ำว่า “เทวธรรม” ก็ได้แก่หลักธรรมส�ำหรับท�ำคนให้เป็นเทวดานั่นเอง 		
และหลักธรรมนั้น ก็ได้แก่ หิริ ความละลายแก่ใจในการที่จะท�ำชั่ว ที่จะพูดชั่ว
ที่จะคิดชั่ว และ โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อผลของบาปกรรมนั่นเอง

		 เทวธรรม คือธรรมที่ท�ำคนให้เป็นเทวดา ดัง
ประพันธ์คาถาว่า
	 	 หิริโอตฺตปฺปสมฺปนฺนา    สุกฺกธมฺมสมาหิตา  
	 	 สนฺโต  สปฺปุริสา โลเก  เทวธมฺมาติ  วุจฺจเร.
	 	 นักปราชญ์เรียกคนผู้มีหิริและโอตตัปปะ  ตั้งมั่น
ดีแล้วในธรรมขาว เป็นผู้สงบ เป็นสัตบุรุษว่า เป็นผู้มี
“เทวธรรม”
		 ค�ำว่า “เทวธรรม” หมายถึงหลักธรรมส�ำหรับท�ำ
คนให้เป็นเทวดา เรืองนี้ พระศาสดาตรัสเทศนาไว้วา ใน
่
่
อดีตกาลพระโพธิสัตว์ถือปฏิสนธิเกิดในพระครรภ์ของ
พระอั ค รมเหสี ข องพระเจ้ า พาราณสี มี พ ระนามว่ า
“มหิ ส กุ ม าร” พระกนิ ษ ฐภาดาของพระองค์ ท รง
พระนามว่า “จันทกุมาร” ต่อมาพระองค์มีพระอนุชา
ต่างพระมารดาพระนามว่า “สุริยกุมาร” พระราชา
เมื่อมีพระราชโอรสต่างพระมารดาก็เกิดปัญหาในราช

สมบัติ คือพระมเหสีองค์ใหม่ทูลขอราชสมบัติให้แก่บุตร
ของตนในเวลาเจริ ญ วั ย แม้ พ ระราชาจะทรงห้ า ม
อย่างไรก็ไม่ฟัง ยังทูลอ้อนวอนอยู่บ่อย ๆ ถ้าปล่อยไว้
ก็ ค งเป็ น ภั ย อั น ตรายแก่ พ ระราชโอรสทั้ ง สองของ
พระองค์คือเจ้าชายมหิสะและเจ้าชายจันทะ พระนาง
อาจจะใช้อุบ ายท�ำความฉิบหายแก่พระโอรสทั้งสอง
อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
		 พระราชาทรงใช้อุบายเรียกเจ้าชายทั้งสองมาแล้ว
ตรัสว่า ลูกรักทั้งสองของพ่อ พ่อได้ให้พรไว้ในวันสุริย
กุมารประสูติ บัดนีมารดาของเขาทูลขอราชสมบัตให้แก่
้
ิ
สุริยกุมาร ตามที่พ่อได้ให้พรไว้นั้น พ่อไม่ต้องการยก
ราชสมบัติให้แก่สุริยกุมารเลย แต่มารดาของเขาก็ทูล
อ้อนวอนแล้ว ๆ เล่า ๆ พ่อจึงอยากให้เจ้าทั้งสองลอง
ออกไปอยู่ป่า แล้วค่อยกลับมารับราชสมบัติในเวลาพ่อ
ล่วงลับไปแล้ว (สวรรคต)
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453

More Related Content

What's hot

Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Sarawut Sangnarin
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Wat Thai Washington, D.C.
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2niralai
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13khumtan
 

What's hot (19)

Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
Saeng Dhamma in May 2010
Saeng Dhamma in May 2010Saeng Dhamma in May 2010
Saeng Dhamma in May 2010
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญอักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2
 
Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
 

Similar to Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453

พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารJack Like
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19Tongsamut vorasan
 

Similar to Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453 (16)

Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
Dhammaratana journal 7
Dhammaratana journal 7 Dhammaratana journal 7
Dhammaratana journal 7
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
 

Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453

  • 1. สื่อส่องทาง สว่างอ�ำไพ แสงธรรม ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้ วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจ�ำเดือนมกราคม พ.ศ. 2556 Vol.38 No.453 January, 2013 OBJECTIVES �To promote Buddhist activities. �To foster Thai culture and tradition. �To inform the public of the temple’s activities. �To provide a public relations center for Buddhists living in the United States. เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี กองบรรณาธิการ : ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี พระมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ พระสุริยา เตชวโร พระมหาวสันต์ วาริชวํโส พระมหาสราวุธ สราวุโธ พระมหาประดู่ชัย ภทฺทธมฺโม พระมหาศรีสุพรณ์ อตฺตทีโป พระมหาค�ำตัล พุทฺธงฺกุโร พระอนันต์ภิวัฒน์ พุทฺธรกฺขิโต และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. SAENG DHAMMA Magazine is published monthly by Wat Thai Washington, D.C. Temple At 13440 Layhill Rd., Silver Spring, MD 20906 Tel. (301) 871-8660, 871-8661 Fax : 301-871-5007 E-mail : saengdhamma@hotmail.com Homepage : www.watthaidc.org Radio Network : www.watthai.iirt.net 2,500 Copies สารบัญ Contents The Buddha’s Words............................................. 1 ส.ค.ส. ปี ๒๕๕๖ หลวงตาชี ....................................... 2 Understanding the law of Kamma by P.A. Payutto 4 What does being born mean? by Du Wayne Engelhart ...... 9 กาลเวลา โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต)................... 11 ฺ ภาพกิจกรรม สถานทูตไทยจัดงานวันเฉลิมพระชนมพรรษา ...15 ความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี” ............. 16 อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 21 แจ้งข่าวปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนมกราคม .............. 22 ประมวลเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล ตลอดปี ๒๕๕๕ 23 ประมวลเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า ตลอดปี ๒๕๕๕ 24 เสียงธรรม...จากวัดไทย......................หลวงตาชี 25 ประมวลภาพกิจกรรมท�ำบุญเดือนธันวาคม...................... 30 เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32 ประมวลภาพงานราตรีชาวปักษ์ใต้ ............................ 38 ท่องพม่า แดนมหาเจดีย์ทองค�ำ ดร.พระมหาถนัด......... 39 สารธรรมจาก...พระไตรปิฎก ..................................... 42 Thai Temple’s News...............โดย Suriya ..... 44 December’s Donation By Ven. Sarawut ....... 48 รายนามผู้บริจาคออมบุญประจ�ำปีและเจ้าภาพภัตตาหารเช้า..52 รายนามเจ้าภาพถวายเพล / Lunch........................... 53 ก�ำหนดการวันมาฆบูชา ........................................... 62 Photos taken by Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat, Mr. Kevin & Mr. Sam Bank & Ms. Golf & Suchart
  • 2. ถ้อยแถลง “แสงธรรมสว่างล�้ำ กว่าแสงไหน แสงธรรมส่องไปไกล ใหญ่กว้าง แสงธรรมส่องภพภูมิใด เห็นหมด แสงธรรมนี่แหละ จักล้าง มืดพ้นมนต์มาร แสงธรรมฉบับนี้ เป็นฉบับส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ กาลเวลาล่วงเลยมาเพื่อให้ทุกชีวิตได้ มีโอกาสทบทวนว่าได้ท�ำสิ่งใดลงไปบ้างตลอด ๓๖๕ วัน บางครั้งก็ได้รับความสุข บางครั้งก็ได้รับความ ทุกข์ หมุนเวียนกันไป อย่างไรก็ตามชีวิตก็ต้องด�ำเนินไปตามวิถีกรรมของแต่ละบุคคล แสงธรรมก็ผ่าน ระยะเวลามาเนิ่นนานพอสมควร ผู้ที่ติดตามอ่านคงจะได้สัมผัสรสแห่งธรรมะผ่านงานเขียนอันประณีต ของพระเดชพระคุณหลวงตาชี โดยเฉพาะ ๒ คอลัมน์สำคัญคือ “เสียงธรรมจากวัดไทย” และ “ครูส� ี หลวงตาสอน” มีเนื้อหาสาระส�ำคัญยิ่ง ในการที่จะน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้เป็นอย่างดี ในกระแส สังคมปัจจุบนมีแนวคิดข่าวลือเกียวกับโลกแตกมาเป็นระยะท�ำให้แตกตืนกันพอสมควร ขอให้ขอคิดแนว ั ่ ่ ้ ธรรมตามบัณฑิตนักปราชญ์ผรทานบอกไว้วา โลกภายนอกเป็นอย่างไรก็ขอให้เป็นไปตามธรรมชาตินน ู้ ู้ ่ ่ ั้ แต่ว่าโลกภายในคือตัวเรานั้นส�ำคัญมาก “โลกภายนอกกว้างไกล ใครใคร่รู้ โลกภายในลึกซึ้งอยู่ รู้บ้างไหม อยากรู้โลกภายนอก มองออกไป อยากรู้โลกภายใน ให้มองตน” การมองเข้ามาในตนเองเพื่อจะได้ทบทวนและพัฒนาแก้ไขปรับปรุงตัวเองให้เกิดความสง่างาม โดยความไม่ประมาท เพราะว่า “หากจิตใจมีความประมาท ความผิดพลาดก็เกิดขึ้น หากจิตใจไม่ ประมาท ความผิดพลาดก็เกิดน้อย” ขอให้ผู้อ่านทุกท่านมีความสุขตลอดปี ชีวิตดีตลอดไป คณะผู้จัดท�ำ
  • 3. แสงธรรม 1 Saeng Dhamma The Buddha’s Words พุทธสุภาษิต ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโต ฯ ๑๘๔ ฯ ขันติ คือความอดทน เป็นตบะอย่างยอด นิพพาน ท่านผู้รู้กล่าวว่า เป็นยอด ผู้ที่ยังทำ�ร้ายผู้อื่นอยู่ ไม่จัดว่าเป็นบรรพชิต ผูทยงเบียดเบียนคนอืนอยู่ ไม่จดว่าเป็นสมณะ ้ ่ี ั ่ ั Forbearance is the highest ascetic practice, ‘Nibbana is supreme’; say the Buddhas. He is not a ‘gone forth’ who harms another. He is not a recluse who molests another.
  • 4. แสงธรรม 2 Saeng Dhamma ส.ค.ส. ปี ๒๕๕๖ พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. สวัสดี อยู่ในเขต ให้ทุกคน เพื่อเป็นศรี ถึงปีใหม่ ให้ดำ�ริ ให้ทุกคน ให้สดใส เมื่อใจดี ใจดีช่วย ให้ปีใหม่ สุขชื่นบาน ใหม่อย่างนี้ ใหม่ทั้งนอก ใหม่เกิดเอง ใหม่อย่างนี้ ใหม่แต่ปี ก็เห็นซวย เพราะกิเลส ก็เลยทำ� ขึ้นดิถี หลวงตาชี ให้ทุกคน แล้วนำ�มา ปีใหม่ ทั้งไทย–เทศ สังคมโลก จงโชคดี ประพฤติตน เป็นคนดี รับปีใหม่ ให้ชื่นใจ ให้ทุกคน ตั้งสติ แต่สิ่ง ที่สดใส ฝึกฝน บ่มจิตใจ รับปีใหม่ ใจเบิกบาน ปีใหม่ ก็ดีด้วย เป็นสะพาน คอยประสาน มีจิตใจ ใสสำ�ราญ ตลอดปี นี่ใหม่จริง ดีแน่ ไม่แชออก ทั้งใน ใหม่กันจริง ไม่ต้อง ร้องประวิง ดีจริง ควรจดจำ� ถ้าความดี ไม่ใหม่ด้วย ไม่สดใส ใจตกต่ำ� ความชั่ว เข้าครอบงำ� ให้ปีใหม่ ไร้ราคา ปีใหม่ ในศกนี้ ขอเตือนกล่าว ชาวประชา สนใจ ในธรรมา เป็นแนวทาง สร้างความดี ถ้าต้องการ ต้องยึดถือ ให้ทุกคน เมื่อทำ�ได้ ปีใหม่ดี เป็นนิมิต ให้ปีใหม่ ตลอดปี ด้วยอำ�นาจ คุณล้ำ�เลิศ ให้ทุกคน แล้วนำ�มา ด้วยอำ�นาจ จงพิชิต ให้ทุกคน สวัสดี ด้วยอำ�นาจ จงประสาท ให้ชีวิต ให้เป็นดัง ให้ปีใหม่ พระธรรม ทำ�-พูด-คิด เช่นนี้ ต้องมีธรรม เครื่องหมาย สดใส ตลอดไป คุณพระพุทธ ช่วยปกปัก พ้นทุกข์ แต่ความสุข คุณพระธรรม ความเลวร้าย ปลอดภัย ตลอดปี คุณพระสงฆ์ พรชัย ยั่งยืน ที่มุ่งหวัง ใหม่สมชื่อ นำ�ความดี แต่ความดี ปีใหม่ดี นำ�ชีวิต ใช้เป็นศรี ผ่องใสดี ใหม่จริงจริง สุดประเสริฐ และรักษา ไร้โรคา ทุกคืนวัน นำ�ชีวิต ให้พ่ายหนี ในชีวี ตลอดไป ดำ�รงศาสน์ ให้สมหวัง ยืนจีรัง ทุกอย่างเทอญ
  • 5. แสงธรรม 3 Saeng Dhamma สารอวยพรปีใหม่ ๒๕๕๖ พระครูสิริอรรถวิเทศ (ดร. พ.ม. ถนัด อตฺถจารี) ประธานอำ �นวยการวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ในวารดิถีขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๖ นี้ ในนามของคณะกรรมการอำ�นวยการ ขออวยพรให้ทุกท่านที่เป็น สมาชิกของวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. และพุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า จงประสบแต่ความสุขความ เจริญ มีความมุ่งมาดปรารถนาสิ่งใด ๆ ที่ไม่ขัดต่อศีลธรรมประเพณีอันดีงาม ขอให้ความปรารถนานั้น ๆ จงสำ�เร็จดังมโนปณิธานทุกประการ ขออนุโมทนาขอบคุณทุก ๆ ท่าน ที่เสียสละกำ�ลังกาย กำ�ลังทรัพย์ และกำ�ลังสติปัญญา ในการ ช่วยเหลืองานพระศาสนา ดูแลเอาใจใส่พระสงฆ์ที่ปฏิบัติศาสนกิจในวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ในรอบ ปีที่ผ่านมา งานทุกส่วนกำ�ลังดำ�เนินไปด้วยดี ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา และปฏิบัติธรรม ในปีที่ผ่าน มา มีผู้สนใจเข้าปฏิบัติธรรมเป็นจำ�นวนมาก มีญาติโยมมาร่วมสวดมนต์นั่งสมาธิ-สนทนาธรรมบ่าย วันเสาร์มากขึ้น การทำ�บุญตักบาตรทุกเช้าวันอาทิตย์ เป็นการเพิ่มพูนบุญกุศลตลอดปีทั้งในพรรษา และนอกพรรษา การถวายภัตตาหารเช้า-เพล มีความอุดมสมบูรณ์พรั่งพร้อมด้วยสายธารศรัทธาของ ญาติโยมไม่ขาดสาย ในด้านการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ ๘๐ ปี หลวงตาชี ซึ่งกำ�ลังดำ�เนินการก่อสร้างก็เป็นไป ตามขั้นตอน คงจะแล้วเสร็จสมบูรณ์ภายในเดือนเมษายน ๒๕๕๖ ตามสัญญา และจักได้ฉลองอาคาร พร้อมกับงาน “สมโภชอายุวัฒนมงคล ๘๘ ปี หลวงตาชี” ในวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๖ นี้ ในนามของคณะสงฆ์พระธรรมทูต ขออำ�นวยพรให้ทุก ๆ ท่าน ที่เป็นสมาชิกหนังสือ “แสงธรรม” และพุทธศาสนิกชนทั่วไป ท่านผู้ใดมีทุกข์ จงสิ้นทุกข์ ท่านผู้ใดมีโศก จงสร่างโศก ท่านผู้ใดมีโรค โรค จงหาย ท่านผู้ใดมีภัย จงปลอดภัย แล้วบรรลุถึงความสุขเกษมสำ�ราญในบวรพระพุทธศาสนา ทุกทิพา ราตรีกาลเทอญ
  • 6. แสงธรรม 4 Saeng Dhamma Understanding the Law of Kamma By Bhikkhu P. A. Payutto Translated by Bruce Evans Continued from last issue The law of kamma and social preference part from the five kinds of natural law mentioned above, there is another kind of law which is specifically manmade and is not directly concerned with nature. These are the codes of law fixed and agreed upon by society, consisting of social decrees, customs, and laws. They could be placed at the end of the above list as a sixth kind of law, but they do not have a Pali name. Let’s call them Social Preference.b These codes of social law are products of human thought, and as such are related to the law of kamma. They are not, however, the law of kamma as such. They are merely a supplement to it, and do not have the same relationship with natural truth as does the law of kamma, as will presently be shown. However, because they are related to the law of kamma they tend to become confused with it, and misunderstandings frequently arise as A a result. Because both kammaniyama and Social Preference are human concerns and are intimately related to human life, it is very important that the differences between them are clearly understood. In general we might state that the law of kamma is the natural law which deals with human actions, whereas Social Preference, or social laws, are an entirely human creation, related to nature only insofar as they are a product of the natural human thought process. In essence, with the law of kamma, human beings receive the fruits of their actions according to the natural processes, whereas in social law, human beings take responsibility for their actions via a process established by themselves. The meaning of kamma Etymologically, kamma means “work” or “action.” But in the context of the Buddha’s teaching it is defined more specifically as “ac-
  • 7. แสงธรรม 5 Saeng Dhamma tion based on intention” or “deeds willfully done.” Actions that are without intention are not considered to be kamma in the Buddha’s teaching. This definition is, however, a very general one. If we wish to clarify the whole range of meaning for kamma, we must analyze it more thoroughly, dividing it up into different perspectives, or levels, thus: a: Kamma as intention Essentially, kamma is intention (cetana), and this word includes will, choice and decision, the mental impetus which leads to action. Intention is that which instigates and directs all human actions, both creative and destructive, and is therefore the essence of kamma, as is given in the Buddha’s words, Cetanaham bhikkhave kammam vadami: Monks! Intention, I say, is kamma. Having willed, we create kamma, through body, speech and mind. At this point we might take some time to broaden our understanding of this word “intention.” “Intention” in the context of Bud- dhism has a much subtler meaning than it has in common usage. In the English language, we tend to use the word when we want to provide a link between internal thought and its resultant external actions. For example, we might say, “I didn’t intend to do it,” “I didn’t mean to say it” or “she did it intention-ally.” But according to the teachings of Buddhism, all actions and speech, all thoughts, no matter how fleeting, and the responses of the mind to sensations received through eye, ear, nose, tongue, body, and mind, without exception, contain elements of intention. Intention is thus the mind’s volitional choosing of objects of awareness; it is the factor which leads the mind to turn towards, or be repelled from, various objects of awareness, or to proceed in any particular direction; it is the guide or the governor of how the mind responds to stimuli; it is the force which plans and organizes the movements of the mind, and ultimately it is that which determines the states experienced by the mind. คณะร่วมใจใฝ่บุญสร้างต้นทุนให้ชีวิต ท�ำบุญถวายภัตตาหารเพล ชมรมรวมน�้ำใจ ท�ำบุญเลี้ยงพระ อุทิศให้คุณจริน ยุทธศาสตร์โกศล
  • 8. แสงธรรม 6 Saeng Dhamma One instance of intention is one instance of kamma. When there is kamma there is immediate result. Even just one little thought, although not particularly important, is nevertheless not void of consequence. It will be at the least a “tiny speck” of kamma, added to the stream of conditions which shape mental activity. With repeated practice, through repeated proliferation by the mind, or through expression as external activity, the result becomes stronger in the form of character traits, physical features or repercussions from external sources. A destructive intention does not have to be on a gross level. It may, for example, lead to the destruction of only a very small thing, such as when we angrily tear up a piece of paper. Even though that piece of paper has no importance in itself, the action still has some effect on the quality of the mind. The effect is very different from tearing up a piece of paper with a neutral state of mind, such as when throwing away scrap paper. If there is repeated implementation of such angry intention, the effects of accumulation will become clearer and clearer, and may develop to more significant levels. Consider the specks of dust which come floating unnoticed into a room; there isn’t one speck which is void of consequence. It is the same for the mind. But the weight of that consequence, in addition to being dependent on the amount of mental “dust,” is also related to the quality of the mind. For instance, specks of dust which alight onto a road surface have to be of a very large quantity before the road will seem to be dirty. Specks of dust which alight onto a floor, although of a much smaller quantity, may make the floor seem dirtier than the road. A smaller amount of dust accumulating on a table top will seem dirty enough to cause irritation. An even smaller amount alighting on a mirror will seem dirty and will interfere with its functioning. A tiny speck of dust on a spectacle lens is perceptible and can impair vision. In the Bangkok Garden ท�ำบุญเลี้ยงพระทุก ๆ เดือน ครอบครัวจรรยาทรัพย์กจ ท�ำบุญวันเกิดให้นองซอนญ่า ิ ้
  • 9. แสงธรรม 7 Saeng Dhamma same way, volition or intention, no matter how small, is not void of fruit. As the Buddha said: “All kamma, whether good or evil, bears fruit. There is no kamma, no matter how small, which is void of fruit.” In any case, the mental results of the law of kamma are usually overlooked, so another illustration might be helpful: There are many kinds of water: the water in a sewer, the water in a canal, tap water, and distilled water for mixing a hypodermic injection. Sewer water is an acceptable habitat for many kinds of water animals, but is not suitable for bathing, drinking or medicinal use. Water in a canal may be used to bathe or to wash clothes but is not drinkable. Tap water is drinkable but cannot be used for mixing a hypodermic injection. If there is no special need, then tap water is sufficient for most purposes, but one would be ill-advised to use it to mix a hypodermic injection. In the same way, the mind has varying levels of refinement or clarity, depending on accumulated kamma. As long as the mind is being used on a coarse level, no problem may be apparent, but if it is necessary to use the mind on a more refined level, previous unskillful kamma, even on a minor scale, may become an obstacle. b: Kamma as conditioning factor Expanding our perspective, we find kamma as a component within the whole life process, being the agent which fashions the direction of life. This is kamma in its sense of “sankhara,” c as it appears in the Wheel of Dependent Origination,d where it is described as “the agent which fashions the mind.” This refers to the factors or qualities of the mind which, with intention at the lead, shape the mind into good, evil or neutral states, which in turn fashion the thought process and its effects through body and speech. In this context, kamma could be defined simply as volitional impulses. Even in this definition we still take intention as the essence, and that ร้านนาวาไทย ท�ำบุญถวายภัตตาหารเพลเพือความเป็นสิรมงคล ่ ิ TONO SUSHI ท�ำบุญเลี้ยงพระทุกเดือนด้วยรอยยิ้มอิ่มบุญ
  • 10. แสงธรรม 8 Saeng Dhamma is why we sometimes see the word sankhara translated simply as intention. c: Kamma as personal responsibility Now let us look further outward, to the level of an individual’s relation to the world. Kamma in this sense refers to the expression of thoughts through speech and actions. This is behavior from an ethical perspective, either on a narrow, immediate level, or on a broader level, including the past and the future. Kamma in this sense corresponds to the very broad, general meaning given above. This is the meaning of kamma which is most often encountered in the scriptures, where it occurs as an inducement to encourage responsible and good actions, as in the Buddha’s words: “Monks! These two things are a cause of remorse. What are the two? Some people in this world have not made good kamma, have not been skillful, have not made merit as a safeguard against fear. They have committed only bad kamma, only coarse kamma, only harmful kamma … They experience remorse as a result, thinking, ‘I have not made good kamma. I have made only bad kamma …’” It is worth noting that these days, not only is kamma almost exclusively taught from this perspective, but it is also treated largely from the perspective of past lives. d: Kamma as social activity or career From an even broader radius, that is, from the perspective of social activity, we have kamma in its sense of work, labor or profession. This refers to the life-styles and social undertak¬ings resulting from intention, which in turn affect society. As is stated in the Vasettha Sutta: “Listen, Vasettha, you should understand it thus: One who depends on farming for a livelihood is a farmer, not a Brahmin; one who makes a living with the arts is an artist … one who makes a living by selling is a merchant … one who makes a living working for others is a servant … one who makes a living through stealing is a thief … one who makes a living by the knife and the sword is a soldier … one who makes a living by officiating at religious ceremonies is a priest, not a Brahmin … one who rules the land is a king, not a Brahmin … I say that he who has no defilements staining his mind, who is free of clinging, is a Brahmin … One does not become a Brahmin simply by birth, but by kamma is one a Brahmin, by kamma is one not a Brahmin. By kamma is one a farmer, an artist, a merchant, a servant, a thief, a soldier, a priest or even a king … it is all because of kamma. The wise person, seeing Dependent Origination, skilled in kamma and its results, sees kamma as it is in this way. The world is directed by kamma. Humanity is directed by kamma …” 5 To be continued อนุโมทนาเจ้าภาพน้ำ�พระพุทธมนต์ปีใหม่ ๒๕๕๖ คุณพ่อจำ�เนียร แซ่ฉิ่น - คุณแม่ยิ่น แซ่พัน - แม่ชีเมย์
  • 11. แสงธรรม 9 Saeng Dhamma WHAT DOES BEING BORN MEAN? By Du Wayne Engelhart B eing born is usually taken in the sense of being brought into the world. We say that a mother gives birth to her child. Birth is the physical act of a mother bringing a child into existence. Some religious groups say they are “bornagain” Christians. Here they are talking about a spiritual kind of birth, a rebirth (re-birth, birth again). This rebirth is a birth “from above.” The key passage from the Bible to which they refer is from the Gospel according to John, in which Christ says, “Amen, amen, I say to you, no one can see the kingdom of God without being born from above [reborn]” (John 3.3 New American Bible). If a person accepts God’s message based on faith, he or she is born from above. The person is “saved” and will one day enter the kingdom of heaven. (See, for example, St. Paul, Ephesians 2.8-9, and Titus 3.4-7.) Being born into the world is a blessing, a good thing. We celebrate our birthday, the day we came into existence. Being a bornagain Christian is a good thing because of the positive effects that result. Though we may not always agree with what born-again Christians say, we do not criticize their basic beliefs insofar as these beliefs help them lead good lives. In considerations of other religions, we stress the unity at the basis of all religions: we do not focus on the differences. In a little known book, Another Kind of Birth (actually a lecture from 1969), the Buddhist teacher Buddhadāsa Bhikkhu considers a type of birth that differs from physical birth and from the spiritual birth of the bornagain Christians: a mental kind of birth, a bad kind of birth. This type of birth presents a problem. This is the birth that is part of the causal process called Dependent Origination. In Dependent Origination (the short version), contact with the sense forms develops into feeling, feeling into desire, desire into attachment, attachment into being, being
  • 12. แสงธรรม 10 Saeng Dhamma into birth, birth into old age, and old age into death (compare the Mahānidāna Sutta, in the Dīgha Nikāya 15, especially 15. 2; and Varasak Varadhammo, Suffering and No Suffering, p. 60 ff). This causal process is a description of how a suffering state involving the “I” and “mine” emerges. Birth here is the mental birth of a suffering self, for instance, an angry state of mind, not the physical birth of a human being. It is the birth of a hellish state of mind. Hell is not other people defining us and keeping us from being free (the view of the existentialist philosopher Jean Paul Sartre). Rather, we are our own hell here and now when we fill the world with the “I” and “mine” and so bring suffering into our lives— just as we are our own heaven when we get rid of the suffering self in a life of lovingkindness and compassion for others. “The real meaning of ‘hell’ is anxiety (ความร้อนใจ, literally ‘mind-heat’). Anxiety burns one like a fire. . . . [I]f [a person] is burning with anxiety . . ., burning through involvement in ‘I,’ ‘mine,’ then he [or she] is in hell” (Another Kind of Birth, p. 21). The purpose of the Buddhist way of life is to put an end to the mental kind of birth that leads to suffering by ceasing to be involved with the “I” and “mine.” There is a passage in a Christian text, St. Paul’s First Letter to the Corinthians, that presents the essence of Buddhism in a striking way: “From now on, let those having wives act as not having them, those weeping as not weeping, those rejoicing as not rejoicing, those buying as not owning, those using the world as not using it fully. For the world in its present form is passing away. / I should like [want] you to be free of anxieties” (1 Corinthians 7.29-32 NAB). This passage is essential Buddhism, for it is really about getting rid of “I” and “mine” from our lives. At essence, this is what all true religions aim at doing; this is what unites them. (See Buddhadāsa Bhikkhu’s interpretation of the passage in Another Kind of Birth, pp. 28-30; also, the discussion in his Christianity and Buddhism, pp. 120-21.) Wat Thai Washington, D.C., December 18, 2012 คณะศิ ษ ย์ วั ด ไทยฯ ดี . ซี . เตรี ย มอาหารถวายพระสงฆ์
  • 13. บทความพิเศษ แสงธรรม 11 Saeng Dhamma พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) กาลเวลา : ส่งปีเก่า รับปีใหม่ (เพิ่มบุญใหญ่ให้ชีวิต) ส่ ง ปี เ ก่ า รั บ ปี ใ หม่ อาศั ย กาลเวลาที่ ม ากั บ ความ เปลี่ยนแปลง เรื่องการส่งปีเก่าต้อนรับปีใหม่นั้นก็ได้เคยพูดมา หลายครังแล้วว่า ความจริงนันเป็นเรืองสมมติ คือกาลเวลา ้ ้ ่ มันก็หมุนเวียนเรื่อย ๆ ไปตามปกติธรรมดา เราก็มาแบ่ง จัดเป็นเดือน ๆ มีการก�ำหนดว่าเดือนนั้นมีเท่านั้นเท่านี้วัน อะไรท�ำนองนี้ โดยค�ำนวณจากจ�ำนวนวันทั้งหมด ๓๖๕ หรือ ๓๖๖ วัน ที่โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ การที่จะแบ่ง เป็นเดือนนันเดือนนี้ มีเท่านันเท่านีวนอะไรนี่ เป็นเรืองของ ้ ้ ้ั ่ สมมติ ซึ่งเราจะตัดตอนเอาตรงไหนเป็นปีใหม่ก็ได้ เพราะ ฉะนั้น เรื่องของโลกสมมตินี้จึงไม่เหมือนกัน บางแห่งและ บางยุคบางสมัยก็ถอวันขึนปีใหม่ทจดหนึง พอเปลียนไปยุค ื ้ ี่ ุ ่ ่ สมัยหนึ่งหรือเปลี่ยนถิ่นฐานไป ก็มีประเพณีต่างออกไป มี การก�ำหนดวันส่งปีเก่าวันขึนปีใหม่อกตอนหนึง ดังจะเห็น ้ ี ่ ว่ามีการส่งปีเก่า-ขึนปีใหม่แบบไทยเดิม หรือแบบสงกรานต์ ้ ก็มี หรือแบบเคยถือเดือนอ้ายก็มี ตลอดกระทังว่า แบบจีน ่ ก็มตรุษจีน แบบฝรังก็มตรุษฝรังอะไรท�ำนองนี้ แล้วก็มาถือ ี ่ ี ่ เป็นสากล ว่าวันที่ ๑ มกราคม อย่างที่เราจะจัดตามที่ถือ กันในบัดนี้ รวมแล้วก็คือเป็นเรื่องของกาลเวลา กาลเวลาเป็ น เรื่ อ งของการเปลี่ ย นแปลง และการ เปลี่ยนแปลงนี้แหละที่เป็นเรื่องส�ำคัญ เป็นเรื่องของ ธรรมะ สัจธรรมหรือความจริงในเรื่องของวันสิ้นปีเก่าและ วันขึนปีใหม่นน ก็อยูทกาลเวลาซึงมีการเปลียนแปลงนีเ้ อง ้ ั้ ่ ี่ ่ ่ การเปลี่ยนแปลงนี้ท�ำให้เรามีการแบ่งเวลาออกไป การที่ เราบอกว่ามีปีใหม่ปีเก่านั้น ถ้าว่าโดยสาระส�ำคัญแล้ว ก็ เป็นเรื่องของกาลเวลาที่เราแบ่งเป็นอดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ที่ว่าเก่ากับใหม่นั้น เก่าเราบอกได้ว่าเป็นอดีต คือ เรื่องที่ผ่านไปแล้ว ส่วนที่ว่าใหม่นี้ยังก�้ำ ๆ กึ่ง ๆ ในแง่หนึ่ง คือก�ำลังเปลี่ยนจากเก่ามาเป็นใหม่ ใหม่ก็คือเวลานี้ ที่พบ อยู่เดี๋ยวนี้ ซึ่งถือว่าเป็นปัจจุบัน แต่ต่อจากปัจจุบันไปยังมี อนาคตอีก เพราะฉะนั้น ถ้าจะแบ่งกาลเวลาให้ครบถ้วน แล้ว เก่ากับใหม่ยงได้เวลาไม่ครบทีเดียว ถ้าจะให้ครบต้อง ั แบ่งเป็นอดีต ปัจจุบัน และอนาคต รวมเป็น ๓ กาล ความเปลียนแปลง คูกนไปกับกาลเวลา ชีวตคน คูกนมา ่ ่ั ิ ่ั กับการท�ำกรรม เรื่องของกาลเวลาก็มี ๓ กาลนี้แหละ คือมีอดีต ปัจจุบน และ อนาคต ซึงเป็นเรืองทีสำคัญมากเกียวกับชีวต ั ่ ่ ่� ่ ิ ของมนุษย์ ชีวตมนุษย์นนเป็นเรืองของการสืบต่อ คือสืบต่อจาก ิ ั้ ่ อดีตมาปัจจุบัน แล้วจะสืบทอดไปข้างหน้า เรียกว่า อดีต ปัจจุบัน อนาคต และทั้งสามนั้นไม่ใช่ตัดตอนขาดจากกัน ไม่ใช่ว่าเมื่อเราพูดแบ่งเป็นอดีต ปัจจุบัน และอนาคต แล้ว แต่ละอย่างจะเป็นเรืองของแต่ละตอน ไม่ใช่อย่างนัน ความ ่ ้
  • 14. แสงธรรม 12 Saeng Dhamma จริง อดีต ปัจจุบัน และอนาคตนั้นสืบต่อกัน เป็นของต่อ เนืองเหมือนอย่างชีวตของเรานี้ ก็สบทอด มาตังแต่เด็ก จน ่ ิ ื ้ กระทั่งปัจจุบันนี้ แล้วยังจะสืบทอดต่อไปอีกเท่าไรจนถึง อายุขย ซึงก็ไม่แน่นอนว่าจะสินสุดลงเมือใด แต่ทงหมดนัน ั ่ ้ ่ ั้ ้ ก็เป็นเรื่องของการสืบต่อทั้งสิ้น ทีนี้ การสืบต่อทีสำคัญในชีวตของเราอย่างหนึงก็คอ ่� ิ ่ ื เรื่องของกรรม กรรมนั้นเป็นการสืบต่อที่สำคัญ เรียกกัน � ว่าการสั่งสม ชีวิตของเรานั้นมีการสั่งสมกรรม พระพุทธ ศาสนาสอนไว้วา “มนุษย์แต่ละคนมีกรรมเป็นของ ๆ ตน ่ แต่ละคนเป็นทายาทของกรรม” ที่ว่าเป็นทายาทของ กรรมเพราะอะไร ก็เพราะว่าเราได้สร้างกรรมไว้ เมื่อเรา สร้างกรรมไว้อย่างไร เราก็เป็นทายาทของกรรมนั้น และ เป็นผู้รับผลของกรรมนั้น เมื่อกรรมเกิดจากการสะสม มัน ก็เป็นเรื่องของกาลเวลา ที่เรียกว่า อดีต ปัจจุบัน อนาคต เราสั่งสมกรรมมาในอดีตแล้วมันก็สืบทอดมาถึงปัจจุบันนี้ ตัวเราในปัจจุบนนีกเ็ ป็นผลของการสังสมของกรรมทังหมด ั ้ ่ ้ ในอดีต แล้วกรรมที่เราท�ำในปัจจุบันนี้ ก็จะรวมเข้ากับ กรรมที่ได้สั่งสมไว้ หรือทุนเดิมที่มีอยู่ทั้งหมดนั้น และเพิ่ม ทุนเข้าไปอีก ส�ำหรับไปให้ผลในอนาคตต่อไปข้างหน้า เพราะ ฉะนั้น การมีชีวิตในปัจจุบันแต่ละเวลา ก็คือการเพิ่มทุน สะสมเพิมเข้าไปในกองเสบียงทุน ทีเ่ ราท�ำไว้ทงหมดนัน ให้ ่ ั้ ้ มีผลยิ่ง ๆ ขึ้นไป ด้วยเหตุนี้ทางพระพุทธศาสนาท่านจึงสอนให้เราไม่ ประมาท เพราะว่า เมือรูวาชีวตของเราเป็นการสังสมกรรม ่ ้่ ิ ่ เราก็ควรจะสั่งสมกรรมที่ดี ดังที่มีพระพุทธพจน์สอนไว้ว่า อย่าดูถูกกรรมไม่ว่าดีหรือชั่ว แม้จะมีประมาณน้อย ตาม พุทธภาษิตว่า “มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสสติ” ฺ แปลว่า “อย่าดูหมินกรรมชัวหรือบาปว่าเล็กน้อย คงจะ ่ ่ ไม่มาถึงตัว” เปรียบเหมือนน�ำหยดทีละน้อย ๆ ก็ทำให้ตม ้ � ุ่ น�้ำที่ใหญ่โตเต็มไปด้วยน�้ำได้ฉันใด คนเราก็เช่นเดียวกัน เมื่อสั่งสมกรรมที่เป็นบาปทีละน้อย ๆ แล้วชีวิตก็เต็มไป ด้วยบาปได้ฉันนั้น ในทางตรงกันข้าม บุญก็เช่นเดียวกัน ท่านก็สอนว่า “มาวมญฺเญถ ปุญญสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ” แปลว่า “อย่าดูหมิ่นบุญว่าเป็นของเล็กน้อย คงจะไม่เกิดผล” เปรียบเหมือนตุมน�้ำใหญ่ยอมเต็มด้วยน�้ำทีหยดทีละเล็กที ่ ่ ่ ละน้อยได้ฉันใด คนเราด�ำเนินชีวิตที่ประกอบด้วยการ ท�ำความดีหรือบุญ ก็มชวตทีเต็มเปียมไปด้วยบุญได้ฉนนัน ีีิ ่ ่ ั ้ อันนี้เป็นคติเตือนใจให้เราพยายามใช้เวลาในการที่จะท�ำ แต่กรรมดีงาม ให้เป็นประโยชน์ ซึงเป็นเรืองการสืบต่อของ ่ ่ ชีวิตและเป็นการสืบต่อของกรรมไปด้วย เมื่อมีชีวิตอยู่ไป กรรมก็สั่งสมขึ้นมากมาย ต้องรู้จักทั้ง ตัดและต่อ จึงจะมีชีวิตที่ดีได้ ส�ำหรับมนุษย์นั้น กรรมกับชีวิตไม่สามารถแยกจาก กันได้ เมือมีชวตก็มกรรม เพราะเหตุทมกรรมนันแหละจึง ่ ีิ ี ี่ ี ้ ท�ำให้ชวตสืบต่อไป เพราะฉะนัน กรรมก็อดหนุนชีวต และ ีิ ้ ุ ิ เมื่อมีชีวิตก็ท�ำกรรมกันต่อไป ข้อส�ำคัญอยู่ที่ว่าเราจะใช้ ชีวิตนั้นท�ำกรรมอะไร พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เราท�ำกรรมดี และตรงนี้ก็ เป็นแง่ของการที่จะสืบต่อ คนเราจึ ง ต้ อ งใช้ ก ารสื บ ต่ อ ให้ เ ป็ น ประโยชน์ หมายความว่า ชีวตทีเป็นการสังสมก็ดี สืบต่อก็ดี เราควร ิ ่ ่ จะท�ำให้เป็นการสืบต่อและเป็นการสั่งสมที่เป็นบุญเป็น กุศล ถ้าสืบต่อดีก็เกิดบุญเกิดกุศลมาก ชีวิตนี้ก็จะเต็ม เปี่ยมไปด้วยบุญด้วยกุศล แต่ในเวลาเดียวกัน พระพุทธเจ้าก็ทรงสอนให้เรารูจก ้ั ตัดด้วยเหมือนกัน ไม่ใช่ให้สืบต่ออย่างเดียว สืบต่อในแง่ที่ จะท�ำให้เกิดประโยชน์แก่ชวต แต่ในทางจิตใจของเรานี้ ถ้า ีิ เราไม่รจกตัด มันก็ทำให้เกิดความทุกข์ได้ อย่างคนบางคน ู้ ั � ท�ำกรรมไว้ แม้จะท�ำบาปไว้เพียงนิดหน่อย แล้วก็มาเป็น ห่วงเป็นกังวลกับบาปหรือกรรมไม่ดีที่เคยท�ำไว้ แล้วจิตใจ ก็ไม่มีความสุข ด้านนี้พระพุทธเจ้าทรงสอนว่าต้องรู้จักตัด เมือกีนตองรูจกต่อ ต่อให้ดกคอสังสมแต่สวนทีดี ทีนี้ ่ ้ ี้ ้ ้ ั ี็ื ่ ่ ่
  • 15. แสงธรรม 13 Saeng Dhamma ส่วนทีเ่ ป็นโทษก็รจกตัด รูจกตัดอย่างไร ตัดอย่างทีหนึง คือตัด ู้ ั ้ั ่ ่ ในความคิดของเรานีแหละ ดังทีพระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้วา ้ ่ ่ “ไม่ควรมัวหวนละห้อยถึงความหลัง หรือสิงทีลวง ่ ่่ แล้ว และก็ไม่ควรฝันเฟ้อถึงอนาคตด้วยเช่นเดียวกัน สิง ่ ที่เป็นอดีตก็ล่วงไปแล้ว สิ่งที่เป็นอนาคตก็ยังมาไม่ถึง ควรด�ำรงอยู่ด้วยสิ่งที่เป็นปัจจุบัน” ถ้าเราพิจารณารูชดว่ากรรมนีดี เป็นสิงทีเ่ ป็นปัจจุบน ้ั ้ ่ ั อยู่เฉพาะหน้า แล้วก็พยายามขวนขวายท�ำปัจจุบันนั้นให้ ดี ก็จะมีชีวิตที่ดีงามได้ ตัดอย่างที่สอง เป็นไปตามหลักความจริงที่ว่า คน เรานี้เปลี่ยนแปลงได้ เพราะเป็นอนิจจัง และเป็นไปตาม เหตุปจจัย หมายความว่าจะเปลียนไปอย่างไรก็เป็นไปตาม ั ่ เหตุปัจจัย เพราะฉะนั้น กรรมที่ท�ำมาแล้ว ถ้าแม้ว่าได้ท�ำ อกุศลมา ก็สามารถที่จะละเลิกแล้วหันมาท�ำกุศล มีพุทธ พจน์ตรัสให้ก�ำลังใจไว้ว่า “โย จ ปุพฺเพ ปมชฺชิตฺวา ปจฺฉา โส นปฺปมชฺชติ โสมํ โลกํ ปภาเสติ อพฺภา มุตโต ว จนฺทมา” ฺ ิ คาถานีแปลความได้วา “บุคคลใดเคยประมาทแล้ว ้ ่ ในกาลก่อน มาภายหลังเลิกละ หันมาเปลี่ยนเป็นไม่ ประมาท บุคคลนั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่างไสว เหมือนดัง ดวงจันทร์ที่พ้นจากเมฆหมอก” พุทธภาษิตนีหมายความว่า ถ้าเราเคยท�ำอกุศลกรรม ้ หรือบาปอะไรไว้ และถ้าหากเรารูแล้วว่าสิงนันเป็นโทษ ไม่ ้ ่ ้ ดีไม่งาม เราก็เลิกละเสีย แล้วหันมาท�ำสิงทีดงามด้วยความ ่ ่ี ไม่ประมาท ก็จะกลับเกิดเป็นบุญเป็นกุศล และจะท�ำให้ ชีวิตนี้สว่างไสวขึ้นมา ตั้งแต่จิตใจของตนเองก็จะปลอด โปร่ง เบิกบาน แจ่มใสได้ เรียกว่า พ้นจากเมฆหมอก เหมือน ดังดวงจันทร์ที่ว่า เมื่อพ้นจากเมฆหมอกออกมาได้ ก็ส่อง แสงสว่างให้โลกนี้แจ่มจ้า งดงามสดใสได้ฉันนั้น ถ้ารู้เข้าใจธรรม ก็ปิดกั้นกรรมเองได้ ยังมีคาถาอีกคาถาหนึ่ง ที่ตรัสให้ก�ำลังใจไว้ส�ำทับ ความให้ชัดยิ่งขึ้นว่า “ยสฺส ปาปํ กตํ กมฺมํ กุสเลน ปิถียติ โสมํ โลกํ ปภาเสติ อพฺภา มุตฺโตว จนฺทิมา” แปลความว่า “บุคคลใดกระท�ำบาป คือกรรมชัวไว้ ่ แล้ว ภายหลังปิดกั้นกรรมชั่วนั้นเสียด้วยกุศล บุคคลนั้น ย่อมยังโลกนี้ให้สว่างไสว เหมือนดังดวงจันทร์ที่พ้นจาก เมฆหมอก” คาถานี้ก็เช่นเดียวกัน ที่ว่าแต่ก่อนประมาทนั้นคือ อะไร ก่อนนันประมาทก็คอไม่ทนคิด ไม่ทนได้พจารณา ยัง ้ ื ั ั ิ ไม่มความรู้ ไม่มความเข้าใจ ก็อาจจะท�ำสิงทีเป็นบาป เป็น ี ี ่ ่ อกุศลไว้ ต่อมาไม่ประมาท คือเกิดสติ และได้พิจารณา มี ความรู้ความเข้าใจแล้ว ก็เลิกละอกุศลเปลี่ยนมาท�ำกุศล แทน ก็เอากุศลนั้นมาปิดบาปเสีย ที่ว่าปิดนั้นไม่ใช่ปิดบัง แต่ว่าปิดรายการทีเดียว ปิดบังนั้นเป็นคนละเรื่องกัน การ ทีจะปิดบังบาปนัน ปิดบังในใจเราไม่ได้ แต่ตองเอากุศลมา ่ ้ ้ ปิด หมายความว่า จบรายการของอกุศลหรือบาปนั้น โดย เอากุศลเข้ามาแทน ก็ท�ำให้เกิดความดีงามขึ้นมา เมื่อกุศลเกิดขึ้นแล้ว ก็ปิดอกุศลหรือปิดบาปเสียให้จบ สิ้นรายการไป เพราะฉะนั้น แม้ว่าคนเรานี้เมื่อมีชีวิตอยู่อาจจะ ท�ำกรรมดีบ้างชั่วบ้างได้ แต่กรรมที่ท�ำไว้ชั่วนั้น ถ้าเรารู้ เข้าใจแล้ว และรูจกปฏิบตให้ถกต้อง โดยมีโยนิโสมนสิการ ้ั ัิ ู คือท�ำในใจไว้โดยแยบคาย แล้วท�ำกุศลขึ้นมาแทน ก็ สามารถปิดกันอกุศลนันให้หมดพิษสงไปได้ บาปทีทำไว้ ที่ ้ ้ ่ � ท่านว่าไม่หายไปไหนนั้น เมื่อท�ำบุญไป ๆ บาปก็ถูกยับยั้ง ถูกครอบง�ำ หรือถูกท่วมทับ หมดฤทธิ์ เพราะบุญมีก�ำลัง เหนือกว่า บาปก็ถกปิดถูกกันไม่สามารถแสดงผลได้ เปรียบ ู ้ เหมือนกับว่าเราเอาน�ำสีแดงหรือสีเขียวหรือสีสกปรกอย่าง ้ ใดอย่างหนึ่ง อาจจะเป็นสีด�ำก็ได้ มาใส่ไว้ในภาชนะ เมื่อ เราใส่แต่น�้ำสีดำสกปรกลงไป เราก็เห็นชัดว่าน�้ำนันสกปรก � ้ เช่นว่าน�้ำสีด�ำลิตรหนึ่ง ใส่ลงไป ก็เห็นชัดเลยว่าเป็นน�้ำ สกปรก เป็นน�้ำสีด�ำ เหมือนกับกรรมชั่วที่ท�ำไว้ ทีนี้ต่อมา เราได้สติ และรู้เข้าใจแล้ว ก็ไม่ประมาท เราก็ไม่ท�ำกรรม
  • 16. แสงธรรม 14 Saeng Dhamma ชัวนันเพิมอีก น�ำสีดำทีสกปรกมีจำนวน ๑ ลิตร ก็อยูแค่ ๑ ่ ้ ่ ้ � ่ � ่ ลิตรนัน ทีนี้ ต่อจากนัน เราท�ำแต่กรรมดี เราท�ำกรรมดีมาก ้ ้ ขึน ๆ เหมือนกับใส่นำใสลงไป ๆ ใส่เรือย เติมอยูเ่ รือย จน ้ �้ ่ ่ กระทังว่าน�ำใสนันมีปริมาณมากมายตังหลายถัง แล้วในทีสด ่ ้ ้ ้ ุ่ ก็จะปรากฏชัดเจนว่า น�้ำที่เป็นสีแดง หรือสีด�ำลิตรเดีย วนั้นน่ะมองไม่เห็นเลย ในน�้ำที่มีปริมาณมากมาย ซึ่งมี จ�ำนวนตังพันลิตร หมืนลิตร น�ำสีดำทีมเี พียงลิตรเดียวนัน ้ ่ ้ � ่ ้ มองไม่เห็นเลย เจือจางไปหมด ทัง ๆ ทีความจริงน�ำสีแดงสี ้ ่ ้ ด�ำนันก็ยงมีอยู่ แต่มองไม่เห็น ไม่มความหมาย น�ำทังหมด ้ ั ี ้ ้ นันกลายเป็นสีใสไปหมด เรืองนีกเ็ หมือนกัน ในเมือท�ำกรรม ้ ่ ้ ่ ทีเ่ ป็นกุศลท�ำบุญมากขึน ๆ บาปทีมเี ล็กน้อยนัน มีกเ็ หมือน ้ ่ ้ ไม่มี เลยหมดความหมายไปเอง หรืออุปมาอีกอย่างหนึงว่า ่ ในกรณีทถาสามารถท�ำกุศลทีเ่ ป็นโลกุตตระขึนมา โลกุ ี่ ้ ้ ตตรกุศลนันจะตัดกรรมชัวให้หมดไปได้ เหมือนกับว่ามีนำสี ้ ่ �้ ใส่ลงไปในภาชนะ คราวนีเ้ ราไม่ได้เติมน�ำใส แต่เราเอาสาร ้ เคมีชนิดหนึงใส่ลงไป พอใส่สารเคมีนนลงไป น�ำสีนนก็กลาย ่ ั้ ้ ั้ เป็นน�ำใสไปเลย การใส่โลกุตตรกุศลลงไปเหมือนกับเป็นสาร ้ เคมี เปลี่ยนให้สีน�้ำที่แดงนั้นกลายเป็นน�้ำใสไปได้ เพราะ ฉะนัน กุศลนีแหละเป็นตัวปิดกัน เป็นตัวตัดผลทีเ่ ป็นวิบาก ้ ่ ้ อันชัวของกรรมทีเ่ ป็นบาปไปเสียได้ฉนนัน ่ ั ้ เพราะฉะนันจึงได้บอกว่า พระพุทธเจ้านอกจากทรง ้ ให้รู้จักต่อแล้ว ก็ทรงให้รู้จักตัดด้วย ในแง่ต่อก็คือให้รู้ว่า อดีต ปัจจุบน และอนาคตนัน เป็นกระบวนการอันเดียวกัน ั ้ ทีไหลเนืองสืบต่อกันไป เพราะฉะนัน เราจึงใช้ปจจุบนนีใน ่ ่ ้ ั ั ้ การใส่สิ่งใหม่ที่ดีเติมเข้าไป หรือเพิ่มทุนหรือว่าท�ำกรรม ใหม่เพิ่มเข้าไปในกระบวนการแห่งกรรมของเรา เราท�ำแต่ กรรมดี เพื่อให้กระบวนการสืบต่อชีวิตของเรานั้นเป็นกระ บวนการที่ดี อันนี้เป็นการรู้จักต่อ แต่ในเวลาเดียวกันก็ให้รู้จักตัด คือปฏิบัติตามพุทธภาษิตที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “อตีตํ นานฺวาคเมยฺย นปฺปฏิกงฺเข อนาคตํ” แปลว่า “ไม่ ควรหวนละห้อยถึงความหลังที่ล่วงไปแล้ว ไม่ควรฝัน เพ้อถึงสิ่งที่ยังไม่มาถึง สิ่งใดเป็นปัจจุบันอยู่เฉพาะหน้า มองพิจารณาให้เห็นชัดแล้ว พึงขวนขวายท�ำสิงนันให้ดี ่ ้ ที่สุด” อย่างนี้เป็นการตัดเรื่องเก่าด้วยความคิดที่ถูกต้อง ประการหนึ่ง แล้วก็ตัดเสียด้วยการที่ท�ำกุศลปิดกั้นดังที่ พุทธพจน์ได้กล่าวมานั้นอีกประการหนึ่ง ก็จะท�ำให้อดีตที่ ผ่านไปนั้นกลายเป็นอดีต ที่ไม่สามารถแสดงผลในทางที่ เป็นอกุศลวิบาก อันนี้ก็เป็นวิธีการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่ง สอนไว้ตามความเป็นจริงของธรรมชาติ ในโอกาสที่เป็นมงคลอย่างนี้ อาตมภาพก็ขออ้างอิง คุณพระรัตนตรัย อวยชัยให้พร “ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะเตชะสา” ด้วยอานุภาพคุณพระพุทธเจ้า คุณ พระธรรม และคุณพระสงฆ์ อันเป็นทีพง ทีเคารพสักการะ ่ ึ่ ่ ของเราชาวพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย พร้อมทั้งบุญกุศลที่ ญาติโยมทุกท่านได้ช่วยกันร่วมกันบ� ำเพ็ญแล้ว จงเป็น ปัจจัยอันมีกำลังอภิบาลรักษาให้ทกท่านเจริญด้วยจตุรพิธ � ุ พรชัย ในกาลเวลาปีใหม่อันเป็นสิริมงคลนี้ จงประสบสุข เป็นผลยิ่ง ๆ ขึ้นไป ตลอดปีใหม่และตลอดกาลอันเป็นนิจ นิรันดร์ พร้อมทั้งจงมีความร่มเย็นเป็นสุขงอกงามในพระ ธรรมค�ำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ เจ้าภาพก๋วยเตียวและข้าวต้มวันส่งท้ายปีเก่า-ต้อนรับปีใหม่ ๋
  • 17. แสงธรรม 15 Saeng Dhamma ดร.ชัยยงค์ สัจจิพานนท์ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน เป็นประธานในพิธถวายพระพรชัยมงคลเนืองในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ี ่ ๕ ธันวามหาราช โดยมีคณะทูตานุทตประเทศต่างๆ สมาคมชมรมไทย เข้าร่วมพิธอย่างคับคัง เมือวันที่ ๓ และ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ ู ี ่ ่
  • 18. แสงธรรม 16 Saeng Dhamma ความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี” ดร.ชัยยงค์ สัจจิพานนท์ เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงวอชิงตัน พร้อมด้วย นายสาโรจน์ ธนสันติ อัครราชทูต เดินทางมาทำ�บุญที่วัดไทยฯ ดี.ซี. และเยี่ยมชมความคืบหน้าการก่อสร้าง “อาคาร 80 ปี หลวงตาชี”
  • 19. แสงธรรม 17 Saeng Dhamma โครงการสร้างอาคาร 80 ปี หลวงตาชี - เริ่มมีโครงการสร้างอาคาร 80 ปี - เริ่มด�ำเนินการโครงการฯ - วางแผน / ท�ำแปลนอาคาร / สถานที่ - พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2550 (ขนาดอาคารมี 3 ชั้น มีพื้นที่ทั้งหมด 13,400 ตร.ฟ. ) - ได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการก่อสร้าง - 9 สิงหาคม 2555 - ท�ำสัญญากับบริษัทรับเหมาก่อสร้าง (บริษัท Therrien Waddel, Inc. / TW) - 12 กันยายน 2555 - ประกอบพิธีเปิดหน้าดิน (GROUND BREAKING) - 23 กันยายน 2555 - ผู้รับเหมา เริ่มลงมือก่อสร้าง - 23 ตุลาคม 2555 - ระยะเวลาในการก่อสร้าง 8 เดือน 23 ตุลาคม 2555 – 14 มิถนายน 2556 ุ - อนุญาตให้ย้ายเข้าอยู่ตึกใหม่ได้ได้ ตั้งแต่ - 22 เมษายน 2556 - จัดงานฉลองอาคารพร้อมกับท�ำบุญอายุวัฒนมงคลครบ 88 ปี หลวงตาชี - 8-9 มิถุนายน 2556 - ค่าก่อสร้างอาคาร รวมทั้งรื้อถอนอาคารเก่า – ท�ำ Land Scape และ Parking Lots บางส่วน รวมทั้งสิ้น 2,171,513.00 ดอลล่าร์
  • 20. แสงธรรม 18 Saeng Dhamma รายการร่วมบริจาคท�ำบุญเป็นเจ้าภาพ 1. ประตูทางเข้าอาคาร 4 ชุด ๆ ละ $1,500 (มีเจ้าภาพครบแล้ว) 2. ประตูภายในอาคาร 38 บาน ๆ ละ $500 (มีเจ้าภาพ 14 บาน) 3. หน้าต่างทั้งอาคาร 47 บาน ๆ ละ $700 (มีเจ้าภาพ 12 บาน) 4. กระเบื้องมุงหลังคา ตารางฟุตละ $30 (มีเจ้าภาพ 8 ราย) 5. พรมปูพื้นทั้งอาคาร ตารางฟุตละ $40 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) 6. ห้องพระ หลวงพ่อด�ำ ตารางฟุตละ $150 (มีเจ้าภาพ 2 ราย) 7. ห้องวิปัสสนากรรมฐาน ตารางฟุตละ $150 (มีเจ้าภาพ 10 ราย) 8. ห้องพักพระสงฆ์ 8 ห้องๆ ตารางฟุตละ $150 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) 9. ห้องสมุด 549 ตารางฟุต ๆ ละ $150 (มีเจ้าภาพ 3 ราย) 10. ห้องน�ำพร้อมห้องสุขา 10 ห้อง ๆ ละ $7,500 (มีเจ้าภาพ 3 ราย) ้ 11. ห้องสุขา ชาย/หญิง 10 ห้อง ๆ ละ $6,000 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) 12. ห้องอาบน�้ำ (Stand Shower) 10 ห้อง ๆ ละ $1,500 (มีเจ้าภาพ 3 ราย) 13. ห้องครัว ตารางฟุตละ $150 (มีเจ้าภาพ 1 ราย) 14. ห้องฉัน ตารางฟุตละ $150 (มีเจ้าภาพ 1 ราย) 15. ห้องส�ำนักงาน ตารางฟุต 16. ห้องเรียน ตารางฟุตละ 17. ห้องพักครู ตารางฟุตละ 18. กระเบื้องปูพื้น ตารางฟุตละ $150 $150 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) (ยังไม่มีเจ้าภาพ) $30 (มีเจ้าภาพ 1 ราย) $150 ************************* (ยังไม่มีเจ้าภาพ)
  • 21. แสงธรรม 19 Saeng Dhamma รายนามผู้จองเป็นเจ้าภาพวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง “อาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี” 1. ประตูทางเข้าอาคาร 4 บาน ๆ ละ (มีเจ้าภาพครบแล้ว) 1. คุณยุพิน เลาหพันธ์ุ และครอบครัว 2. ครอบครัวมานะกุล 3. วัดสุทธาวาส CA 4. กลุ่มเพื่อนรัก (ธรรม) ---------------------------- $ 1,500 2. ประตูภายในอาคาร 38 บาน ๆ ละ $ 500 1 บาน 1 บาน 1 บาน 1 บาน (มีเจ้าภาพแล้ว 14 บาน) 1. September Birthday Group 1 บาน 2. คุณกุญชลี อนันต์สุขศรี 2 บาน 3. คุณแม่แล่ม–คุณธัญญนันทน์ โพธิ์ทอง และครอบครัว 1 บาน 4. คุณวนิดา สุนทรพิทักษ์, คุณยุพิน สงวนทรัพย์, คุณบรรจง พวงใหญ่, คุณดวงพร เทียบทอง, คุณบุญลาภ พึ่งพินิจ, คุณชิดชู คงเจริญรส และเพื่อนๆ 1 บาน 5. Southern Thai Association 2 บาน 6. ครอบครัวแย้มเพกา + พยับเดชาชัย 1 บาน 7. คุณยายเสริมศรี เชื้อวงศ์ และครอบครัว คุณทองพูน เฮ็นเซ็น และครอบครัว 1 บาน 8. คุณมิ่ง– คุณรุ้งฤดี–Fay–Muni เพริศพราว 2 บาน 9. คุณสมาน – คุณสมัญญา จันทนามศรี 2 บาน 10. คุณชวลิต-พรทิพย์ ใช้ญาณ-กนกพร ทองดรงค์ อุทศให้นางนิภา ม่วงโสภา-พ่อตุ-๊ แม่ทองใบ ม่วงโส 1 บาน ิ 11. คุณสุกานดา บุพพานนท์ 1 บาน 12. คุณกัญญา 1 บาน 13. คุณแม่นิน, คุณบุญกอง สุธาวา, แม่บุญเหลือ โศกท้อ, คุณไสว มูลทา 1 บาน 14. คุณวิเชียร - คุณกัญญา จิตไพศาลสุข 1 บาน (ยังไม่มีเจ้าภาพ 24 บาน) 3. หน้าต่าง 47 บานๆ ละ $700 (มีเจ้าภาพ 12 บาน) 1. คุณวิรัตน์ สุขสมอรรถ 1 บาน 2. คุณ Boontarica บาลี 1 บาน 3. คุณกลวิทย์ – คุณรัชนี รพีพันธ์ 3 บาน 4. คุณ Neetinate Rattananet 1 บาน 5. คุณ Kanya Kambalasiri 3 บาน 6. กลุ่มเพื่อนรัก (ธรรม) 1 บาน 7. คุณดลวรรณ เหวียน และครอบครัว 1 บาน 8. คุณวนิดา สุนทรพิทักษ์, คุณยุพิน สงวนทรัพย์, 1 บาน คุณบรรจง พวงใหญ่, คุณดวงพร เทียบทอง, คุณบุญลาภ พึ่งพินิจ, คุณชิดชู คงเจริญรส และเพื่อนๆ 9. คุณอาทิตย์–คุณหนูทอง สุธาวา,คุณเสถียร จันทวร บาน 1 10. คุณกุหลาบ ปาระจิตร $ 5 (ยังไม่มีเจ้าภาพ 35 บาน) --------------------------- 4. กระเบื้องมุงหลังคา ตารางฟุตละ $ 30 1. คุณ Pinthong Graffarian $ 1,000 2. ครอบครัวเกษมพันธัย $1,000 3. คุณศิริพร-Edward-William Gresser $ 300 4. คุณทรงพล–คุณสมศรี เกียรติอภิวัฒน์ $ 100 5. คุณ Waraphon Woraharn + Pual Pepal $ 50 6. คุณ Chittima Thamsiri, คุณ Tasana Puttiwat $ 50 7. คุณ Chunvipa Bamrungpetch $ 50 8. คุณวีราภรณ์-คุณธีวิทธ์ วงษ์โกวิท $ 50 --------------------------- 5. ห้องสมุด 549 ตารางฟุต ๆ ละ $ 150 1. คุณแม่วรรณ ไกรโรจนานันท์ $1,000 2. คณะสื่อมวลชนจากมูลนิธิอิศรา อมันตกุล $ 450 3. คุณวัฒนิจ เจริญพิทักษ์ $ 150 ---------------------------
  • 22. แสงธรรม 20 6. ห้องวิปัสสนากรรมฐาน 233 ตารางฟุตๆ ละ $ 150 Saeng Dhamma 1. พระมหาถนัด อตฺถจารี $ 2,200 2. ครอบครัววรรณสกุล $10,000 3. Devin Suvarnnasuddhi $ 802 4. คุณอรพรรณ Devoy $ 600 5. คุณกีรติ อินโอชานนท์, คุณณัฐพร เรืองโชติชชวาล $ 150 ั 6. คุณเยาวเรศ อึงตระกูล $ 150 7. คุณวิลาสินี เกียรติอภิวัฒน์ $ 150 8. คุณทรงพล–คุณสมศรี เกียรติอภิวัฒน์ $ 100 9. คุณอาทิตย์ เกียรติอภิวัฒน์ $ 50 10. คุณวรรณพร ธรรมโชติ $ 50 --------------------------- 7. ห้องอาบน�้ำ พร้อมห้องสุขา 10 ห้อง ๆ ละ $ 7,500 (มีเจ้าภาพแล้ว 3 ห้อง) 1. ครอบครัวเจตบุตร 2. คุณพัชรา ตวงเศรษฐวุฒิ และครอบครัว 3. กลุ่มพลังบุญ 4. คุณนิพรรณ พริ้งประยูร (ยังไม่มีเจ้าภาพ 7 ห้อง) 11. ห้องเรียน ตารางฟุตละ $ 150 12. ห้องพักครู ตารางฟุตละ $ 150 13. ห้องครัว ตารางฟุตละ $ 150 14. ห้องฉัน ตารางฟุตละ $ 150 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) --------------------------(ยังไม่มีเจ้าภาพ) --------------------------- 1. Eastland Food Corporation $ 10,000 2. คุณพยุง – คุณจินตนา งามสอาด (เตาห้องครัว) $ 4,000 --------------------------1. Eastland Food Corporation --------------------------- 15. ห้องพระหลวงพ่อด�ำ ตารางฟุตละ $ 150 1 ห้อง 1. คุณพยุง – คุณจินตนา งามสอาด $ 6,000 1 ห้อง ร้านทะเลไทย $ 1,000 1 ห้อง 2. คุณกัญญา สว่างโรจน์ --------------------------$ 1,009 16. กระเบื้องปูภายในอาคาร ตารางฟุตละ $ 30 8. ห้องอาบน�้ำ (Stand Shower) 14 ห้อง ๆ ละ $ 1,500 1. คุณ Tasana Putthiwat,คุณ Anchalee, (มีเจ้าภาพ 3 ห้อง) 1. คุณวรรณี ศรีสุพรรณ์, คุณแสงจันทร์ โรบินสัน, คุณทัฬห์ อัตวุฒ,ิ คุณบุณณ์ภสสร–คุณศรสวรรค์ พงศ์วรินทร์ 1 ห้อง ั 2. คุณเพลินจันทร์ พุชรัชต์ อุทิศส่วนกุศลให้พ่อประมวญ แม่พัว ทรัพย์พันแสง และคุณสิทธิวัฒน์ พุชรัชต์ 1 ห้อง 3. คุณศุภิสรา คุรุฐิติ 1 ห้อง (ยังไม่มีเจ้าภาพ 11 ห้อง) --------------------------- 9. ห้องสุขา (ไม่มีห้องน�้ำ) 14 ห้อง ๆ ละ $ 6,000 (ยังไม่มีเจ้าภาพ) --------------------------- 10. ห้องส�ำนักงาน ตารางฟุตละ (ยังไม่มีเจ้าภาพ) --------------------------- $ 150 $ 10,000 Raweewan Dattanadon --------------------------- 17. พรมปูพื้น ตารางฟุตละ $ 30 $ 40 1. คุณดวงจ�ำปี บุญธรรม, คุณวงเดือน เมฆขุนทด, ป้านิตยา ทอมสัน $ 400 --------------------------- 18. ห้องพักพระสงฆ์ 8 ห้อง (รวม 767 ตรฟ.ๆ ละ $ 150) (ยังไม่มีเจ้าภาพ) ขอเชิญชวนท่านสาธุชนผูใจบุญทุกท่านร่วมบริจาคทรัพย์ ้ เป็นเจ้าภาพสร้าง “อาคาร ๘๐ ปี หลวงตาชี” ในรายการ ต่างๆ ตามก�ำลังศรัทธาและความปรารถนาของท่าน ขออนุโมทนาสาธุ..สาธุ..สาธุ.. (เจ้าภาพรายการต่างๆ จะประกาศให้ทราบฉบับต่อไป)
  • 23. แสงธรรม 21 Saeng Dhamma อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks คณะสงฆ์และคณะกรรมการวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ขออนุโมทนาแด่สาธุชนทุก ๆ ท่าน ทีมจตศรัทธาถวาย ่ีิ ภัตตาหารเช้า-เพล บริจาคสิงของ เสียสละแรงกาย แรงใจ ก�ำลังสติปญญา และความสามารถเท่าทีโอกาสจะอ�ำนวย ่ ั ่ ช่วยเหลือกิจกรรมของวัดด้วยดีเสมอมา ท�ำให้วดของเรามีความเจริญรุงเรืองก้าวหน้ามาโดยล�ำดับ โดยเฉพาะทุก ั ่ ท่านที่มีส่วนร่วมในงานวันส�ำคัญต่าง ๆ ของทางวัด จึงประกาศอนุโมทนากับทุก ๆ ท่านมา ณ โอกาสนี้ � คุณทาบช้าง ถวายดอกไม้-ธูป-เทียน ประจำ�ทุกอาทิตย์ � คุณสุภา ปฏิธนาวรรณ ทำ�บุญสร้างอาคาร 80 ปี หลวงตาชี อุทิศส่วนกุศลให้คุณสันติ สิริลาภพูนผล และญาติๆ � คุณปรียา องค์พัฒนา ทำ�บุญถวายสังฆทาน ซีอิ้วขาว 1 ลัง, น้ำ�ปลา 1 ลัง, ข้าวสาร 1 ถุง � คุณกุหลาบ ปาระจิตร ถวายหวดนึ่งข้าวเหนียว 8 อัน, กระติบข้าว 6 กล่อง � นายแพทย์อรุณ-คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์ ถวายน�้ำดื่ม White Grape Napkins Vanity Fair ผืนใหญ่, กระดาษ Letter 36 รีม, � คุณชัยยุทธ - คุณยุพา - น้องกอล์ฟ - น้องนาตาลี สมเขาใหญ่ ถวายน�้ำดื่ม 4 ถังใหญ่ � ครอบครัวจรรยาทรัพย์กิจ ท�ำบุญวันเกิดให้น้องซอนญ่า ถวายน�้ำดื่ม ข้าวสาร น�้ำมันพืช แนปกิ้น และอื่น ๆ � คุณยายเสริมศรี เชื้อวงศ์ คุณติ๊ ดลวรรณ เหวียน - คุณอังคณา อู่ทิฆัมพร ถวาย Green tea 1 กล่อง, น�้ำดื่ม 3 เคส อุทิศส่วนกุศลให้คุณพ่อครบรอบ 3 ปี � คุณชัยรัตน์ - คุณสุกานดา เจตบุตร ถวายน�้ำผลไม้ � ครอบครัวเปรมจิตต์ ท�ำบุญถวายสังฆทาน ในวันขึ้นปีใหม่ � ครอบครัววิริยะ ท�ำบุญวันเกิดให้น้องธนศักดิ์ (บูม) วิริยะ ถวายสังฆทานชุดใหญ่ เพื่อความเป็นสิริมงคล � คุณน้อย - Doug - Atom ท�ำบุญถวายสังฆทาน เนื่องในวารดิถีขึ้นปีใหม่ � คุณวิชัย-คุณพวงทอง และครอบครัวมะลิกุล ท�ำบุญถวายสังฆทานอุทิศสวนบุญกุศลให้คุณธิตินันท์ เฟื้องอารมย์ มีเปเป้อร์ทาวน์ ทิซซู่ น�้ำดื่ม ผ้าขนหนู และอื่นๆ � ครอบครัวจันทร์ลอย ท�ำบุญอุทิศแม่จุล, ครอบครัวลายเงิน ท�ำบุญอุทิศให้แม่เสมอ � คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์-คุณธันยมัย มานะดี ถวายน�้ำเต้าหู้ใบเตย 5 แกลลอน � คุณวาสนา น้อยวัน ถวายน�้ำเต้าหู้ � คุณสุพงษ์ - คุณสุภาวดี (แมว) Orchid Travel ถวายโอวัลติน 4 ขวดใหญ่ � คุณกันยา กัมพลาสิริ ท�ำบุญวันเกิด ถวายนมข้น แนปกิ้น และจานโฟม อนุโมทนาพิเศษงานวันพ่อแห่งชาติ ๕ ธันวามหาราช ในนามคณะกรรมการจัดงานทุกฝ่าย ขออนุโมทนาขอบคุณ ดร.ชัยยงค์ สัจจิพานนท์ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ให้เกียรติเป็น ประธานในพิธี ตลอดทังหัวหน้าสำ�นักงาน ข้าราชการสถานเอกอัครราชทูต สมาคม ชมรม พ่อค้า ประชาชน และพุทธศาสนิกชน ้ ทุกท่านที่ได้มาร่วมในพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี วันอาทิตย์ที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๕ เจ้าภาพน้ำ�ดื่มถังใหญ่ ถวายประจำ�ทุกเดือน คุณแม่สงวน เกิดมี คุณจารุณี พิทโยทัย คุณประยูรศรี วรเลิศ คุณชัยยุทธ-คุณยุพา สมเขาใหญ่ คุณทัฬห์ อัตวุฒิ คุณบุณณ์ภัสสร คุณศรสวรรค์ พงศ์วรินทร์ น.พ. อรุณ คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์ คุณละม้าย คุณประมวล ทวีโชติ คุณทองพูน คุณสุนันทา เฮนเซ้น คุณยายเสริมศรี เชื้อวงศ์ คุณยายป้อม สุวรรณเตมีย์ คุณบุญเลิง วิสีปัตย์ คุณยายรำ�ไพ ราชพงษ์ คุณชูศรี กอร์
  • 24. แสงธรรม 22 Saeng Dhamma ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี. ิ You all are cordially invited to Wat Thai, D.C., Temple to pay respect to or simply view the Buddha relics on display in the chanting hall. ปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนมกราคม มกราคม ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 19 2556 / 9:00 AM ** ศึกษาและปฏิบัติธรรมตามหลักมหาสติปัฏฐานสูตร **
  • 27. แสงธรรม 25 Saeng Dhamma เสียงธรรม.. จากวัดไทย พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ค�ำว่า “เทวธรรม” ก็ได้แก่หลักธรรมส�ำหรับท�ำคนให้เป็นเทวดานั่นเอง และหลักธรรมนั้น ก็ได้แก่ หิริ ความละลายแก่ใจในการที่จะท�ำชั่ว ที่จะพูดชั่ว ที่จะคิดชั่ว และ โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อผลของบาปกรรมนั่นเอง เทวธรรม คือธรรมที่ท�ำคนให้เป็นเทวดา ดัง ประพันธ์คาถาว่า หิริโอตฺตปฺปสมฺปนฺนา สุกฺกธมฺมสมาหิตา สนฺโต สปฺปุริสา โลเก เทวธมฺมาติ วุจฺจเร. นักปราชญ์เรียกคนผู้มีหิริและโอตตัปปะ ตั้งมั่น ดีแล้วในธรรมขาว เป็นผู้สงบ เป็นสัตบุรุษว่า เป็นผู้มี “เทวธรรม” ค�ำว่า “เทวธรรม” หมายถึงหลักธรรมส�ำหรับท�ำ คนให้เป็นเทวดา เรืองนี้ พระศาสดาตรัสเทศนาไว้วา ใน ่ ่ อดีตกาลพระโพธิสัตว์ถือปฏิสนธิเกิดในพระครรภ์ของ พระอั ค รมเหสี ข องพระเจ้ า พาราณสี มี พ ระนามว่ า “มหิ ส กุ ม าร” พระกนิ ษ ฐภาดาของพระองค์ ท รง พระนามว่า “จันทกุมาร” ต่อมาพระองค์มีพระอนุชา ต่างพระมารดาพระนามว่า “สุริยกุมาร” พระราชา เมื่อมีพระราชโอรสต่างพระมารดาก็เกิดปัญหาในราช สมบัติ คือพระมเหสีองค์ใหม่ทูลขอราชสมบัติให้แก่บุตร ของตนในเวลาเจริ ญ วั ย แม้ พ ระราชาจะทรงห้ า ม อย่างไรก็ไม่ฟัง ยังทูลอ้อนวอนอยู่บ่อย ๆ ถ้าปล่อยไว้ ก็ ค งเป็ น ภั ย อั น ตรายแก่ พ ระราชโอรสทั้ ง สองของ พระองค์คือเจ้าชายมหิสะและเจ้าชายจันทะ พระนาง อาจจะใช้อุบ ายท�ำความฉิบหายแก่พระโอรสทั้งสอง อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ พระราชาทรงใช้อุบายเรียกเจ้าชายทั้งสองมาแล้ว ตรัสว่า ลูกรักทั้งสองของพ่อ พ่อได้ให้พรไว้ในวันสุริย กุมารประสูติ บัดนีมารดาของเขาทูลขอราชสมบัตให้แก่ ้ ิ สุริยกุมาร ตามที่พ่อได้ให้พรไว้นั้น พ่อไม่ต้องการยก ราชสมบัติให้แก่สุริยกุมารเลย แต่มารดาของเขาก็ทูล อ้อนวอนแล้ว ๆ เล่า ๆ พ่อจึงอยากให้เจ้าทั้งสองลอง ออกไปอยู่ป่า แล้วค่อยกลับมารับราชสมบัติในเวลาพ่อ ล่วงลับไปแล้ว (สวรรคต)