SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
๑
ลักษณะของจิต ในขุททกนิกาย ธรรมบท แหงจิตตวรรคที่ ๓
***************************
บทนํา
ในทางพระพุทธศาสนาถือวามนุษยประกอบดวยสวนสําคัญสองสวน คือกายกับจิต ที่มี
ศัพทเฉพาะเรียกวานามรูป นามก็คือสวนที่เปนจิต รูปก็คือสวนที่เปนรางกาย แมจะเรียกวานาม
รูป หรือจิตกับรางกายก็มีความหมายอยางเดียวกัน และตางก็มีความสําคัญตามลักษณะของตน
ซึ่งจะตองอิงอาศัยซึ่งกันและกันโดยที่จะขาดอยางใดอยางหนึ่งไปไมได แตคําสอนในทาง
พระพุทธศาสนาก็จะเนนในเรื่องจิต และใหความสําคัญแกจิตมากกวารางกาย โดยที่เห็นวา
รางกายนั้นจะกอใหเกิดปญหาตาง ๆ ไดมากมาย แตปญหาที่มีความสําคัญอยางแทจริงนั้นไดแก
ปญหาที่เกี่ยวเนื่องกับจิต หากสามารถแกปญหาที่เกี่ยวกับจิตไดอยางเด็ดขาดสิ้นเชิงแลว ปญหา
ที่เนื่องดวยรางกาย แมอาจจะยังมีอยู ก็ไมใชเรื่องสําคัญอีกตอไป ดวยเหตุนี้คําสอนในทาง
พระพุทธศาสนาสวนใหญจึงเนนไปที่การแกปญหาเกี่ยวกับจิตมากกวา โดยการเสนอแนะวิธี
พัฒนาจิตในรูปแบบตาง ๆ ที่มนุษยสามารถนําไปใชปฏิบัติจนสามารถประสบผลไดดวยตนเอง
ฉะนัน เรืองจิตจึงเป็นเรืองทีน่าศึกษาและทําความเข้าใจ โดยเฉพาะถ้าได้ทราบเข้าใจ
อย่างถูกต้องแล้วก็จะเป็นประโยชน์แก่ชีวิตของคนเรามากทีเดียว และในรายงานนีก็จะได้วิ
เตราะห์ถึงลักษณะของจิตทีมีปรากฏในพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย แห่งจิตตวรรที ๓ โดย
เลือกคาถาธรรมบทมาศึกษาเพียง ๕ เรืองเท่านัน คือ
๑. ลักษณะของจิต เรืองพระเมฆิยเถระ
๒. ลักษณะของจิต เรืองภิกษุรูปใดรูปหนึง
๓. ลักษณะของจิต เรืององอุกกัษฐิตภิกษุ
๔. ลักษณะของจิต เรืองพระภาคิไนยสังฆรักขิตเถระ
๕. ลักษณะของจิต เรืองพระโสไรยเถระ
ซึงในการศึกษาวิเคราะห์นี จะกล่าวถึงความหมายของจิตตามทีปรากฏในทีต่าง ๆ เป็นเบืองต้น
หลังจากนันได้ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะของจิตทีพระศาสดาตรัสไว้ในเรืองนัน ๆ ว่ามีมีความหมาย
ในลักษณะใดบ้าง โดยทีลักษณะของจิตทีพระองค์ตรัสถึงนัน มีนัยเหมือนกันหรือเข้ากันได้
อย่างไร และเป็นไปในทํานองเดียวกันกับเรืองจิตทีตรัสไว้ในพระสูตรอืน ๆ หรือไม่ ทังนีผู้วิจัยจะยก
มากล่าวอ้างประกอบเพือจะได้เข้าใจและมองเห็นภาพลักษณะของจิตทีตรัสไว้อย่างชัดเจน
๒
ความหมายของจิต
คําว่า “จิต” ตามความหมายของรูปวิเคราะห์ศัพท์ทางนิรุตติศาสตร์ ดังนี
“จินฺเตติ วิชานาตีติ จิตฺตํ” แปลว่า ธรรมชาติใดย่อมคิด คือย่อมรู้แจ้ง เหตุนัน ธรรมชาติ
นัน ชือว่าจิต
ในพระสุตตันตปิฎก กามสุตตนิเทสที ๑ ได้ให้ความหมายของจิตไว้ดังนี
“คําว่า ใจ คือ จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มนะ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุ ซึงเกิดแต่ผัสสะ ดังนี เรียกว่า “ใจ”
จิตแม้มีชือเรียกถึง ๑๐ ชือ แต่ทัง ๑๐ ชือ ก็มีความหมายอย่างเดียวกัน ทําหน้าทีหลัก
คือ รู้อารมณ์ และคําว่า “อารมณ์” ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึงอายตนะภายนอกทัง ๖
และจิตนีจะรู้หรือรับอารมณ์ได้เพียงครังละอารมณ์ คือเมือจิตรับรู้หรือคิดถึงอารมณ์คือรูป จิตจะ
ไม่รับรู้อารมณ์อืน คือ เสียง กลิน รส สิงสัมผัส แม้อารมณ์นันจะเป็นรูปทีอยู่ในสถานทีเดียวกัน
การทีจิตมีชือเรียกต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว เป็นการเรียกตามธรรมชาติในแง่มุมของการทํา
หน้าทีตามขันตอนต่าง ๆ แต่เนืองจากในพระสุตตันตปิฎกมิได้ให้ความหมายของจิตครบทัง ๑๐
ชือ มีเพียงบางชือ เช่น มนายตนะ วิญญาณ เป็นต้น จึงได้นําความหมายของคําทีใช้เรียกจิต
เหล่านีในอัฏฐสาลินีอรรถกถา มากล่าว ดังนี
“ธรรมชาติใดย่อมคิด ธรรมชาตินันชือว่า “จิต”
ธรรมชาติใดย่อมน้อมไปหาอารมณ์ ธรรมชาตินันชือว่า “มโน”
ธรรมชาติทีรวบรวมอารมณ์ไว้ภายในนันแหละชือว่า “หทัย”
ธรรมชาติฉันทะคือความพอใจทีมีอยู่ในใจนันชือว่า “มานัส”
จิต เป็นธรรมชาติผ่องใส จึงเรียกว่า “ปัณฑระ”
มนะทีเป็นอายตนะเครืองต่อ จึงชือว่า “มนายตนะ”
มนะทีเป็นอินทรีย์หรือครองความเป็นใหญ่จึงเรียกว่า “มนินทรีย์”
ธรรมชาติใดทีรู้อรมณ์ ธรรมชาตินันชือว่า “วิญญาณ”
วิญญาณทีเป็นขันธ์ จึงชือว่า “วิญญาณขันธ์”
มนะทีเป็นธาตุชนิดหนึงซึงรู้อารมณ์ จึงชือว่า “มโนวิญญาณ”
..................................................................................
อภิธัมมัตถวิภาวินิยา ปฐมภาค. พระนคร : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๑๘. ข้อ ๔๔ หน้า ๑๒๓
ขุ. มหา. กามสุตตนิเทสที ๑. ๒๙ / ๔-๕ / ๒-๓
บุญมี เมธางกูร และวรรณสิทธิ ไวทยะเสวี. คู่มือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉทที ๑. ตอนที ๑.
จิตปรมัตถ์. หน้า ๒๗
๓
กล่าวโดยสรุป จะเห็นได้ว่า ธรรมชาติของจิตนัน เป็นธรรมชาติทีคิดหรือรู้อารมณ์ จิตจึงแตกต่าง
จากกายโดยสินเชิง เพราะธรรมชาติของกายนัน คิดและรู้อารมณ์ไม่ได้ สิงทีคิดและรู้อารมณ์ได้
นัน คือจิต และคําว่า “อารมณ์” หมายถึง สิงทีจิตรู้ สิงทีจิตรู้นันอาจจะหมายถึงอะไรก็ได้ทีผ่าน
มาทางทวาร ๖ คือ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิน ทางกาย และทางใจ สิงทีผ่านมาทาง
ทวาร ๖ ทังหมด เป็นอารมณ์ทังสิน เมือทราบความหมายและชือของจิตมาพอสมควรแล้ว
ต่อไปก็จะกล่าวถึงลักษณะของจิตต่อไป
ลักษณะของจิต
จิตเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างหนึงมีลักษณะเกิดดับ ติดต่อกันเป็นสาย หรือกระแส
หรือวงจร ทีเรียกว่า กระแสจิต หรือวงจรชีวิต จิตจะเกิดดับตลอดเวลาทังกลางวันและกลางคืน
ทังหลับและตืน ในการเรียนรู้พระอภิธรรม มีการสมมติเรียกการเกิดดับของจิตแต่ละขณะว่า ดวง
จิตดวงเก่าทีดับไปแล้วเป็นเหตุปัจจัยให้จิตดวงใหม่เกิดขึน รับมอบการทํางานต่อจากจิตดวงเก่า
แล้วตังอยู่เพือทําหน้าทีของตน เสร็จแล้วจึงดับไป และเป็นเหตุปัจจัยให้จิตดวงใหม่เกิดขึน ตังอยู่
และดับไป เช่นนีตลอดเวลา จิตดวงเก่าและจิตดวงใหม่มีการทํางานประสานสัมพันธ์กัน และจิต
จะเกิดขึนได้ขณะละดวงเท่านัน จึงเป็นเหตุและผลในดวงเดียวกัน
ลักษณะของจิตทีแสดงไว้ในพระสูตรต่าง ๆ เช่น
“จิตนี เป็นธรรมชาติผ่องใส แต่ว่าจิตนันเศร้าหมองไป เพราะอุปกิเลสทีจรมา”
“จิตนี มีลักษณะดินรน กลับกลอก รักษายาก และห้ามยาก”
“จิตนี ข่มได้ยาก เป็นธรรมชาติเร็ว และยังตกไปในอารมณ์ตามความใคร่”
“จิตมีรูปเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นอารมณ์
และมีวิญญาณเป็นอารมณ์ เกิดขึนแล้วย่อมแตกดับไป”
ในพระอภิธรรมได้แสดงถึงลักษณะพิเศษ (วิเสสลักษณะ) ซึงเป็นลักษณะเฉพาะของจิต
ไว้ ๔ ประการ คือ
๑. เป็นธรรมชาติรู้แจ้งอารมณ์เป็นลักษณะ (ลักษณะ)
๒. เป็นประธานในการรู้อารมณ์ทังปวงเป็นกิจ (รสะ)
๓. มีการเกิดดับเกิดขึนต่อเนืองกันไปโดยไม่ขาดสายเป็นผล (ปัจจุปัฏฐาน)
๔. มีวัตถุรูป อารมณ์ มนสิการ และการกระทบของเหตุทัง ๓ เป็นเหตุใกล้ (ปทัฏฐาน)
...............................................................................................................
องฺ. เอก. ๒๐/๕๐/๑๐ ขุ. ธ. ๒๕/๑๓/๑๙
ขุ. ธ. ๒๕/๑๓/๑๙ ขุ. ปฏิ. ๓๑/๑๑๒/๕๖
บุญมี เมธางกูร และวรรณสิทธิ ไวทยะเสวี. คู่มือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉทที๑. ตอนที ๑.
จิตปรมัตถ์. หน้า ๒๘
๔
ในอรรถกถาอัฎฐสาลินี ให้คํานิยามลักษณะของจิตไว้ว่า
“ธรรมชาติทีชือว่าจิต เพราะอรรถว่า คิดหรือรู้แจ้งอารมณ์ เพราะสังสมสันดานของ
ตน เพราะเป็นธรรมชาติอันกรรมกิเลสสังสมกรรมวิบาก และเพราะเป็นธรรมชาติวิจิตร” 1
ส่วนในอภิธัมมัตถสังคหบาลีและอภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา ได้ให้นิยามลักษณะของจิตต่าง
จากอรรถกถาอัฎฐสาลินีเล็กน้อยว่า
“ธรรมชาติทีชือว่าจิต เพราะทําให้วิจิตร....เพราะภาวะแห่งตนเป็นธรรมชาติวิจิตร.....
เพราะอันกรรมและกิเลสสังสมไว้.....เพราะรักษาไว้ซึงอัตภาพอันวิจิตร.....เพราะสังสมซึงสันดาน
แห่งตน.....และเพราะมีอารมณ์อันวิจิตร”
ลักษณะของจิตยังมีกล่าวไว้อีกลายแห่ง ตามทียกมาจากพระสูตรและพระอภิธรรม
ดังกล่าว ผู้เขียนเห็นว่าเพียงพอทีจะทําให้เข้าใจลักษณะของจิต และต่อไปนีจะได้กล่าวถึง
ลักษณะของจิตในพระคาถาธรรมบท แห่งจิตตวรรคที ๓ ขุททกนิกาย โดยเลือกศึกษาวิเคราะห์
๕ เรือง ดังนี
ลักษณะของจิต เรืองพระเมฆิยเถระ
เนือความโดยสังเขป พระศาสดา เมือประทับอยู่ทีภูเขาจาลิกา ทรงปรารภท่านเมฆิยะ
เหตุเพราะท่านไม่สามารถประกอบความเพียรในอัมพวันนันได้ เพราะความทีท่านถูกวิตก ๓ อย่าง
ครอบงํามาแล้ว ดังนัน จึงได้ทรงภาษิตพระคาถา ๒ พระคาถาเหล่านีว่า
ผนฺทนํ จปลํ จิตฺตํ ทุรก์ขํ ทุน์นิวารยํ
อุชุ กโรติ เมธาวี อุสุกาโรว เตชนํ
วาริโชว ถเล จิตฺโต โอกโมกตอุพฺภโต
ปริผนฺทติทํ จิตฺตํ มารเธยฺยํ ปหาตเว ฯ 3
“ชนผู้มีปัญญาย่อมทําจิตทีดินรน กลับกลอก
อันบุคคลรักษาได้ยาก ห้ามได้ยาก ให้ตรง ดุจช่างศร
ดัดลูกศรให้ตรง ฉะนัน จิตนี (อันพระโยคาวจรยกขึน
จากอาลัย คือกามคุณ ๕ แล้ว ซัดไปในวิปัสสนากัมมัฏฐาน)
เพือละบ่วงมาร ย่อมดินรน ดุจปลาอันพรานเบ็ด
ยกขึนจาก (ทีอยู่) คือนํา แล้วโยนไปบนบก ดินรนอยู่ ฉะนัน”
..........................................................................................
สมาคมศูนย์ค้นคว้าพระพุทธศาสนาวัดสระเกศ, อรรถกถาอัฎฐสาลินี ตอน ๒, หน้า ๓๘
มหามกุฎราชวิทยาลัย, อภิธัมมัตถสังคหบาลีและอภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา, ฉบับแปล, หน้า ๒๑
ขุ. ธ. ๒๕ / ๑๓
๕
พระคาถาในเรืองพระเมฆิยะนี สามารถวิเคราะห์ลักษณะทัวไปของจิตได้ ดังนี
๑. จิตมีลักษณะดินรน ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ดินรนอยู่ในอารมณ์ทังหลายมีรูปเป็นต้น
ลักษณะของจิตนี อธิบายได้ว่าเป็นการรู้อารมณ์ต่าง ๆ ตามความต้องการ ทังทีเป็นอารมณ์ทาง
รูปธรรม เช่น รูป เสียง กลิน รส เป็นต้น และอารมณ์ทางนามธรรม เช่น ความรู้สึกสุขทุกข์
เวทนา) รู้ความพอใจ ไม่พอใจ (สังขาร) รู้ว่าขณะนีตนเองกําลังโกรธ (โทสจิต) เป็นต้น
๒. จิตมีลักษณะกลับกลอก หรือกวัดแกว่ง ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ไม่ดํารงอยู่ใน
อารมณ์เดียวได้ เหมือนทารกในบ้านผู้ไม่นิงอยู่ด้วยอิริยาบถหนึงฉะนัน ลักษณะจิตนี อธิบายได้
ว่า เป็นการรู้อารมณ์ใดอารมณ์หนึงได้ไม่นาน ก็ต้องเปลียนอารมณ์ใหม่ ๆ เรือยไป เช่น เห็นรูปนี
แล้วก็เบือ ไปเห็นรูปโน้น หรือเสียง กลิน ต่าง ๆ ต่อไป เหมือนวานรอยู่นิง ๆ ไม่ได้ ต้องเทียวจับ
กิงไม้กิงนันแล้วไปจับกิงอืน ๆ ต่อไป ผู้ทีมีจิตกลับกลอกกวัดแกว่งมักจะทําลายความเป็นมิตรภาพ
และจิตจะไม่มีความสุข
๓. มีลักษณะรักษาได้ยาก ในอรรถกถาท่านแก้ว่า อันบุคคลรักษาได้ยาก เพราะตังไว้ได้
ยากในอารมณ์อันเป็นทีสบายอารมณ์หนึงนันแล เหมือนโคทีคอยเคียวกินข้าวกล้าในนา อันคับ
คังไปด้วยข้าวกล้าฉะนัน ลักษณะจิตนี อธิบายได้ว่า การทีไม่สามารถให้จิตอยู่ในอํานาจคือรู้
อารมณ์หรือคิดถึงเรืองเพียงเรืองเดียว ด้วยจิตทีไม่ฟุ้ งซ่านคือจิตแน่วแน่มีสมาธิในอารมณ์นันเพียง
อารมณ์เดียว ทําได้ยาก นอกจากจิตทีฝึกดีแล้ว สามารถบังคับจิตให้อยู่ในอํานาจเช่นเดียวกับจิต
ของพระอรหันต์
๔. จิตมีลักษณะห้ามยาก ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ชือว่า อันบุคคลห้ามได้ยาก เพราะ
เป็นธรรมชาติทีรักษาได้ยาก เพือจะห้าม (กัน) จิตอันไปอยู่สู่วิสภาคารมณ์ ลักษณะจิตนี
อธิบายได้ว่า คือการห้ามจิตไม่ให้รู้อารมณ์ต่าง ๆ ไม่ได้ เพราะจิตมักชอบไปรู้อารมณ์ในกามคุณ
ห้า คือ รูป เสียง กลิน รส โผฎฐัพพะ ซึงได้แก่สิงสัมผัสต่าง ๆ อันเป็นอารมณ์ทีน่าปรารถนา
(อิฎฐารมณ์) ตามทีจิตต้องการ ทังนีเพราะปุถุชนยังมีความกําหนัดด้วยราคะ หรือตัณหา จิตจึง
อยากได้สิงนัน และอยากไม่ได้สิงนี
และยังมีพระสูตรอืน ๆ อีก ทีกล่าวถึงลักษณะของจิตในทํานองเดียวกัน เช่น ในตาลปุฏ
เถรคาถา ความว่า “จิตนีกวัดแกว่งเช่นวานร ห้ามได้แสนยาก เพราะยังไม่ปราศจากความ
กําหนัด” 5
...............................................................................
1
เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 2
เรืองเดียวกัน หน้า ๔
3
เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 4
เรืองเดียวกัน หน้า ๔
5
ขุ. เถร. ตาลปุฏเถรถาคา. ๒๖/๓๓๙/๓๖๐
๖
และในกีฏทูสกชาดก ความว่า “ผู้มีจิตไม่มันคง มีจิตกลับกลอก มักประทุษร้ายมิตร
มีปกติไม่ยังยืนเป็นนิจ ย่อมไม่มีความสุข”
ลักษณะของจิต เรืองภิกษุรูปใดรูปหนึง
เนือความโดยสังเขป เมือพระศาสดาประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภภิกษุรูปใด
รูปหนึง โดยทีพระองค์แนะนําให้เธอรักษาจิตอย่างเดียว ว่า “เธอจงรักษาจิตของเธอนันแหละ
ธรรมดาจิตนีอันบุคคลรักษาได้ยาก เธอจงข่มจิตของเธอไว้ให้ได้ อย่าคิดถึงอารมณ์อะไร ๆ อย่าง
อืน ธรรมดาจิตอันบุคคลข่มได้ยาก” ดังนีแล้วจึงตรัสพระคาถานีว่า
ทุนฺนิคฺคหสฺส ลหุโน ยตฺถ กามนิปาติโน
จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ.
“การฝึกจิตอันข่มได้ยาก เป็นธรรมชาติเร็ว
มักตกไปในอารมณ์ตามความใคร่ เป็นการดี (เพราะว่า)
จิตทีฝึกดีแล้ว ย่อมนําสุขมาให้” 2
พระคาถาในเรืองภิกษุรูปใดรูปหนึงนี สามารถวิเคราะห์ลักษณะทัวไปของจิตได้ ดังนี
๑. จิตมีลักษณะข่มได้ยาก คือ จิตฝึกได้ยาก เพราะเคยท่องเทียวเดินทางไปในอารมณ์
ต่าง ๆ ตามความปรารถนา (กามคุณห้า) จนเคยชินเสียแล้ว จิตชอบเดินทางไปสายกามสุขัลลิกา-
นุโยค คือหมกมุ่นในกามสุข โดยคิดว่า กามคือ รูป เสียง กลิน รส โผฏฐัพพะ อันน่าใคร่น่า
ปรารถนา จะให้ความสุขทียังยืนได้ตลอดไป
๒. จิตมีลักษณะเปลียนแปลงได้รวดเร็ว ในอรรถกถาท่านแก้ว่า จิตนีย่อมเกิดและดับเร็ว
เพราะเหตุนัน จึงชือว่า ลหุ ซึงจิตอันข่มได้ยาก อันเกิดและดับเร็วนัน หมายถึง การเกิดดับ
ต่อเนืองไปตลอดเวลา เป็นกระแส หรือวงจร ทังเวลากลางวันและกลางคืน ทังหลับและตืน
สมดังพระพุทธพจน์ทีว่า “ไม่มีสิงใดทีเปลียนแปลงได้เร็วเหมือนจิต”
๓. จิตมีลักษณะทีชอบตกไปในอารมณ์ทีปรารถนา ทีต้องการ ในอรรถกถาท่านแก้ว่า
มักตกไปในอารมณ์ใดอารมณ์หนึงนันแล หมายถึง การทีจิตต้องการเห็น ได้ยิน ได้กลิน
ลิมรส สัมผัสสิงทีสบายกาย และคิดเรืองต่าง ๆ ตามความต้องการ
...............................................................................................
ขุ. ชา. สังกัปปวรรคชาดก. ๒๗/๓๕๔/๙๘
2
เรืองเดียวกัน หน้า ๕ 3
เรืองเดียวกัน หน้า ๕
4
เรืองเดียวกัน หน้า ๕ 5
เรืองเดียวกัน หน้า ๕
๗
และมีทีกล่าวถึงลักษณะของจิตในทํานองเดียวกันนีคือ ในหัตถาโรทปุตตเถรคาถา ความ
ว่า “แต่ก่อน จิตนีเคยจาริกไปในอารมณ์ต่าง ๆ ตามความปรารถนา ตามความต้องการ
ตามความสบาย วันนีเราจะข่มจิตนันโดยอุบายอันชอบ เหมือนนายควาญผู้ฉลาด ข่มขีช้างผู้ขึน
มันได้ด้วยขอฉะนัน”
ลักษณะของจิต เรืองอุกกัณฐิตภิกษุ
เนือความโดยสังเขป พระศาสดาเมือประทับอยู่ในกรุงศาวัตถี ทรงปรารภภิกษุผู้
กระสัน (จะสึก) รูปใดรูปหนึง โดยทีพระองค์ได้ตรัสถึงการรักษาจิตอย่างเดียวอาจพ้นจากทุกข์
ได้ โดยประทานโอวาทนีว่า “ถ้ากระนัน เธอจงรักษาเฉพาะจิตของตนไว้ เธออาจพ้นจากทุกข์ได้”
ดังนีแล้ว จึงตรัสพระถาคานี
สุทุทฺทสํ สุนิปุณํ ยตฺถ กามนิปาตินํ
จิตฺตํ รกฺเขถ เมธวี จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ. 2
“ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิต ทีเห็นได้แสนยาก
ละเอียดยิงนัก มักตกไปในอารมณ์ตามความใคร่,
(เพราะว่า) จิตทีคุ้มครองไว้ได้ เป็นเหตุนําสุขมาให้”
พระคาถาในเรืองอุกกัณฐิตภิกษุนี สามารถวิเคราะห์ลักษณะทัวไปของจิตได้ ดังนี
๑. จิตมีลักษณะเห็นได้ยาก ละเอียดอ่อน ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ยากทีจะเห็นได้ด้วยดี
และละเอียดทีสุด ได้แก่ ละเอียดอย่างยิง คือจิตเป็นนามธรรมเห็นด้วยตา หรือสัมผัสจับ
ต้องไม่ได้ เพราะไม่มีรูปร่าง มีถํา คือร่างกายเป็นทีอาศัย เกิดดับตลอดเวลา ซึงพระผู้มีพระภาค
เจ้าตรัสเรียกกายไว้หลายอย่าง ดังนี “กายเรียกว่า ถํา ร่างกาย เรือ รถ ธง เมือง กระท่อม ผี
หม้อ” เมือจิตอยู่ในภวังค์ จิตจะอาศัยเกิดดับอยู่ในร่างกายคือส่วนหนึงของหัวใจ ที
เรียกว่า หทยวัตถุ เมือเวลาตืน จิตจะอาศัยร่างกายคือ ตา หู จมูก ลิน กาย เป็นทางออกไปรู้
อารมณ์ คือ รูป เสียง กลิน รส โผฎฐัพพะ ทังทีน่าปรารถนา (อิฎฐารมณ์ฉ และไม่น่า
ปรารถนา (อนิฏฐารมณ์)
..........................................................................................................
ขุ. เถร. หัตถาโรทปุตตเถรคาถา. ๒๖/๒๑๔/๒๒๖
เรืองเดียวกัน หน้า ๔
3
เรืองเดียวกัน หน้า ๔
4
เรืองเดียวกัน หน้า ๔
๘
ลักษณะของจิต เรืองพระภาคิไนยสังฆรักขิตเถระ
เนือความโดยสังเขป พระศาสดา เมือประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภภิกษุชือว่าสังฆ
รักขิต โดยพระองค์ตรัสถึงการสํารวมจิตเป็นเหตุให้พ้นเครืองผูกของมาร และได้ตรัสกะเธอว่า
“มาเถิดภิกษุ เธออย่าคิดไปเลย, ธรรมดาจิตนีมีหน้าทีรับอารมณ์ แม้มีอยู่ในทีไกล, ควรทีภิกษุจัก
พยายามเพือประโยชน์การพ้นจากเคลืองผูกคือราคะ โทสะ โมหะ ดังนีแล้ว ตรัสพระถาถานีว่า
ทุรงฺคมํ เอกจรํ อสรีรํ คูหาสยํ
เย จิตฺตํ ส ฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา. 1
“ชนเหล่าใด จักสํารวมจิต อันไปในทีไกล
เทียวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถําเป็นทีอาศัย
ชนเหล่านัน จะพ้นจากเครืองผูกคือมาร”
พระคาถาในเรืองพระภาคิไนยสังฆรักขิตเถระนี สามารถวิเคราะห์ลักษณะทัวไปของจิตได้ ดังนี
๑. จิตมีลักษณะไปในทีไกล ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ก็ชือว่า การไปและการมาของจิต
โดยส่วนแห่งทิศมีทิศบูรพาเป็นต้น แม้ประมาณเท่าใยแมงมุม ย่อมไม่มี จิตนันย่อมรับอารมณ์
แม้อยู่ในทีไกล เพราะเหตุนัน จึงชือว่า ทุรงฺคมํ อธิบายได้ว่า เนืองจากจิตมีลักษณะเกิดดับ ๆ
คือเปลียนแปลงได้รวดเร็วดังกล่าวแล้ว จิตจึงเกิดดับ ๆ จับอารมณ์ปล่อยอารมณ์ในทีต่าง ๆ ทังที
อยู่ใกล้ และอยู่ไกล เช่น จิตคิดถึงอารมณ์คือเพือนทีอยู่ในอเมริกา จิตก็รับรู้ภาพเพือนทีอยู่ใน
อเมริกาทีเคยอยู่ด้วยกันเมือครังก่อน หรือจิตคิดถึงบ้านเกิดในต่างจังหวัดทีอยู่ไกลได้ เป็นต้น
๒. จิตมีลักษณะเทียวไปดวงเดียว ในอรรถกถาท่านแก้ว่า อนึง จิต ๗ – ๘ ดวง
ชือว่าสามารถเกิดขึนเนืองเป็นช่อโดยความรวมกันในขณะเดียว ย่อมไม่มี ในกาลทีเกิดขึน จิต
ย่อมเกิดขึนทีละดวง ๆ เมือจิตดวงนันดับแล้ว จิตดวงใหม่ก้เกิดขึนทีละดวงอีก เพราะเหตุนัน จึง
ชือว่า เอกจรํ หมายความว่า จิตจะเกิดดับขณะละดวงท่านัน ดวงเก่าเมือเกิดขึนรับอารมณ์
ตังอยู่เพือทําหน้าทีของตน จึงดับไป คือปล่อยอารมณ์แล้ว ส่งต่อมอบการทํางานให้จิตดวงใหม่
เกิดขึน ตังอยู่ ดับไป ตลอดกระแสวงจร จิตแต่ละขณะจะรับอารมณ์ได้เพียงอารมณ์เดียว จะรับ
พร้อมกันหลายอารมณ์ไม่ได้ การรับอารมณ์หนึง ๆ ของจิต เกิด – ดับ ทีละดวงรับอารมณ์เดียว
ในหลาย ๆ ขณะ จึงจะรู้อารมณ์ว่า คืออะไร ก่อให้เกิดความรู้สึกสุข ทุกข์ได้อย่างไร แล้วจึงเกิด
– ดับ ๆ ทีละดวงไปรับอารมณ์อืน ๆ ได้ แม้เทวดาทีมีอายุยืนถึง ๘๔,๐๐๐ กัป ก็มีจิตเกิดดับทีละ
ดวง
........................................................................................................
เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 2
เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 3
เรืองเดียวกัน หน้า ๔
4
ขุ. มหา. ชราสุตฺตนิเทส ที ๖. ๒๙/๑๘๒/๑๐๙
๙
ลักษณะของจิต เรืองพระโสไรยยะ
เนือความโดยสังเขป พระศาสดายังพระธรรมเทศนานีว่า “น ตํ มาตา ปิตา
กยิรา” เป็นต้น ซึงตังขึนในโสไรยนคร ให้จบงในพระนครสาวัตถี โดยกล่าวถึงประวัติของโสไรย
บุตรของเศรษฐีทีมีเพศเปลียนเป็นหญิง เพราะเหตุเพียงแค่คิดกับพระมหากัจจายนะซึงเป็นพระ
อรหันต์ว่า “สวยจริงหนอ พระเถระรูปนี ควรเป็นภริยาของเรา หรือสีแห่งภริยาของเรา พึงเป็น
เหมือนสีแห่งสรีระของพระเถระนัน” แต่ภายหลัง เมือขอขมาพระมหากัจจายนะแล้ว ก็ได้
เพศกลับเป็นชายแล้วได้บวชบรรลุอรหัตผล ดังนัน พระศาสดาจึงตรัสถึงจิตทีตังไว้ชอบว่าดี
ยิงกว่าเหตุใด ๆ โดยทรงตรัสว่า “ภิกษุทังหลาย บุตรของเราพยากรณ์อรหัตผลหามิได้
(เพราะว่า) ตังแต่ทีบุตรของเรา เห็นมรรคทัสนะ ด้วยจิตทีตังไว้ชอบแล้ว ความสิเนหาในบุตร
ไหน ๆ ไม่เกิดเลย จิตเท่านัน ซึงเป็นไปในภายในของสัตว์เหล่านี ย่อมให้สมบัติทีมารดาบิดาไม่
อาจทําให้ได้” ดังนีแล้ว จึงตรัสพระคาถานีว่า
น มาตา ปิตา ภริยา อ ฺเญ วาปิ จ ญาตกา
สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร.1
“มารดาบิดา ก็หรือว่าญาติเหล่านัน ไม่พึงทํา เหตุนัน
(ให้ได้), (แต่) จิตอันตังไว้ชอบแล้ว พึงทําเขาให้ประเสริฐกว่าเหตุนัน”
พระคาถาในเรืองพระโสไรยเถระนี สามารถวิเคราะห์ลักษณะทัวไปของจิตได้ ดังนี
จิตอันตังไว้ชอบ ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ชือว่าตังไว้ชอบแล้ว เพราะความเป็นธรรมชาติ
ตังไว้ชอบในกุศลกรรมบถ ๑๐ หมายถึง จิตของผู้ทีตังใจใฝ่ในการบําเพ็ญคุณงามความดี
ย่อมจะตามรักษาจิต ให้พ้นไปจากความใฝ่ตํา จะพยายามรักษาศีล ระมัดระวังกาย วาจา และ
ใจไว้ให้อยู่ในความสงบ ระวังอารมณ์ไม่ให้เกิดนิวรณ์ ๕ มาปิดกันหนทางทีจะบรรลุความดี
สมดังพระพุทธพจน์ทีว่า “เมือจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้” และในวิชิตเสนเถร
คาถา กล่าวถึงจิตทีตังไว้ชอบแล้ว หมายถึงการทีสามารถฝึกจิตได้แล้ว จะทําห้ได้ดังสิงทีหวังดังนี
“เราจักระวังจิตนันไว้ เหมือนนายหัตถาจารย์ กักช้างไว้ทีประตูนคร ฉะนันเราจักไม่
ประกอบจิตไว้ในธรรมลามก จักไม่ยอมให้จิตตกลงไปสู่ข่ายแห่งการ อันเกิดในร่างกาย เจ้าถูกเรา
กักขังไว้แล้ว จักไปตามชอบใจไม่ได้ เหมือนช้างได้ช่องประตู ฉันนัน ดูกรจิตผู้ชัวช้า บัดนีเจ้าจัก
ขืนยินดีในธรรมอันลามก เทียวไปเนือง ๆ ดังแต่ก่อนมิได้ นายควาญช้างฝึกกําลังแข็งแรง ย่อม
บังคับช้างทีจับได้ใหม่ ยังไม่ได้ฝึก ให้อยู่ในอํานาจด้วยขอ ฉันใด เราจักบังคับเจ้าให้อยู่ในอํานาจ
ฉันนัน จักผูกเจ้าไว้ด้วยสติ จักฝึกจักบังคับเจ้าให้ทําธุระด้วยความเพียร เจ้าจักไม่ได้ไปไกลจาก
อารมณ์ภายในละนะจิต”
.......................................................................................
เรืองเดียวกัน หน้า ๔ เรืองเดียวกัน หน้า ๔ ม. มู. ๑๒ / ๒๔ 4
ขุ. เถรวิชิตเสนเถรคาถา ๒๖/๓๔๓
๑๐
ถึงอย่างไรก็ตาม ลักษณะของจิตตามทีกล่าวมาแล้วทังหมดนี ย่อมจะหนีไม่พ้นลักษณะ
ความเป็นไตรลักษณ์ และลักษณะไตรลักษณ์ของจิตมีอธิบายดังนี
ก. อนิจจลักษณะ คือ จิตมีลักษณะไม่เทียง เปลียนแปลง คือเกิดดับ ๆ สืบต่อเนืองกัน
ไปตลอดเวลาเป็นกระแส อันแสดงให้เห็นถึงความเกิดและความเสือมของจิตทีดําเนินไปทุกขณะ
ซึงพอจะสังเกตเห็นได้ทีตัวเราเอง จิตจะยึดเหนียวอารมณ์ต่าง ๆ ตลอดเวลา อารมณ์คือรูปบ้าง
เสียงบ้าง กลินบ้าง รสบ้าง โผฏฐัพพะบ้าง ตลอดถึงยึดอารมณ์คือเรืองราวต่าง ๆ บ้าง ดัง
ข้อความหลักฐานในอัสสุตวตาสูตรที ๑ ความว่า
“ดูกรภิกษุทังหลาย วานรเมือเทียวไปในป่าใหญ่ จับกิงไม้ ปล่อยกิงนัน
ยึดเอากิงอืน ปล่อยกิงทียึดเดิม เหนียวกิงใหม่ ต่อไป แม้ฉันใด
...........จิตเป็นต้นนัน ดวงหนึงเกิดขึน ดวงหนึงดับไป ในกลางคืนและ
กลางวัน ฉันนัน”
และในชราสุตตนิทเทสที ๖ ความว่า
“สมดังพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ชีวิต อัตภาพ สุขและทุกข์ทังมวล
เป็นธรรมประกอบกันด้วยจิตดวงเดียว ขณะย่อมเป็นไปหลับ เทวดา
เหล่าใดย่อมตังอยู่ตลอด ๘๔,๐๐๐ กัป แม้เทวดาเหล่านันย่อมไม่เป็น
ผู้ประกอบด้วยจิตสองดวง ดํารงอยู่เลย”
ข้อความทังสองพระสูตร เป็นหลักฐานยืนยันได้ชัดเจนว่า จิตเป็นธรรมชาติเกิดดับตลอดเวลา ทัง
กลางวันและกลางคืน และการเกิดดับของจิตแต่ละขณะก็ต้องเกิดดับทีละดวง จะเกิดดับพร้อม ๆ
กัน ๒ ดวง หรือมากกว่านันไม่ได้ เหมือนวานรทีมีธรรมชาติอยู่นิง ๆ ไม่ได้ ต้องเคลือนไหวไปมา
ตลอดเวลาทียังไม่หลับ เทียวจับกิงไม้กิงนันแล้วปล่อยกิงทียึดเดิม ไปเหนียวยึดจับกิงใหม่ ๆ ต่อ ๆ
ไป แม้เทวดาทีมีอายุยืนถึง ๘๔,๐๐๐ กัป ก็ตาม แต่จิตของเทวดาก็เกิดดับ ๆ รับอารมณ์ ปล่อย
อารมณ์ จิตเกิดความรู้สึกสุขทุกข์ หรือไม่สุขไม่ทุกข์ ทีละดวงในแต่ละขณะ เหมือ่นจิตของมนุษย์
และสัตว์ ในขณะหนึง ๆ จิตของเทวดา หรือของมนุษย์ หรือของสัตว์ จะเกิดพร้อมกัน ๒
ดวง หรือหลาย ๆ ดวงไม่ได้ การทีจิตมีความเปลียนแปลงสืบต่อเนืองกันเช่นนี เป็นไปอย่าง
รวดเร็ว ตัวอย่างทีอาจรู้ได้ด้วยตัวเอง คือ ประเดียวจิตก็รู้อารมณ์คือรูป เสียง.....ตลอดถึงรู้
ธรรมารมณ์ คือเรืองราวต่าง ๆ ทังทีเป็นอารมณ์ปัจจุบัน อดีต อนาคต และการเปลียนแปลงของ
จิตเป็นไปอย่างรวดเร็ว เช่น ขณะทีจิตได้ยินเสียงอาจารย์สอนหนังสือแล้ว ขณะต่อ ๆ ไปจิตก็รับรู้
ทีบริเวณท่าพระจันทร์ คิดถึงสิงต่าง ๆ ทีเคยผ่านไปเห็น ขณะต่อ ๆ ไป จิตก็จะรับรู้คิดไปถึงบ้าน
...........................................................................................
สัง. นิ. อัสสุตวตาสูตรที ๑ ๑๖/๒๓๐/๙๔
2
ขุ. มหา. ชราสุตตนิทเทสที๖ ๒๙/๑๘๒/๑๐๙
๑๑
คิดถึงเพือนทีเคยอยู่ร่วมกันมาเมือตอนยังเด็ก ในขณะต่อ ๆ ไป จิตก็คิดถึงภาพยนตร์ทีเคยชม
ดังนีเป็นต้น จิตจะเกิดดับ ๆ รับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ดังทีกล่าวมาพอเป็นตัวอย่างทีทุกคนเข้าใจได้
และเคยเกิดขึนกับทุกคน แต่อาจมิได้เคยสังเกตมาก่อน โดยผ่านเครืองส่ง คือ จิตของ
แต่ละคนเท่านัน ทีเป็นห้องปฏิบัติการจะส่งไปยังเครืองรับคืออารมณ์ รูป เสียง กลิน รส
โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์คือเรืองราวต่าง ๆ ได้ภายในชัวพริบตาเดียว จิตทําหน้าทีเกิดดับ ๆ
รับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ได้มากมาย ทังในทีใกล้และทีไกลในเวลารวดเร็ว จึงไม่สามารถเปรียบจิตที
เปลียนแปลงได้อย่างรวดเร็วกับความเปลียนแปลงของสิงใด ๆ ได้ แม้กับภาพ (แสง) ทีส่งผ่าน
ดาวเทียมไปยังเครืองรับโทรทัศน์
สมดังพระพุทธพจน์ทีพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ในอังคุตตรนิกาย เอกนิบาต ความว่า
“ดูกรภิกษุทังหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอืนแม้อย่างหนึงทีเปลียนแปลงได้เร็วเหมือน
จิต ดูกรภิกษุทังหลาย จิตเปลียนแปลงได้เร็วเท่าใดนัน แม้จะอุปมาก็กระทําได้มิใช่ง่าย”
ตามทีกล่าวมาแล้วทังหมด แสดงถึงความเปลียแปลงคือ เกิดดับ ของจิตทีเปลียนแปลงได้อย่าง
รวดเร็ว จิตจึงมีอนิจจลักษณะ ซึงเป็นความมหัศจรรย์ของจิต
ก. ทุกขลักษณะ คือ จิตไม่สามารถดํารงอยู่ในสภาพเดิมได้ เพราะจิตเป็นธรรมชาติเกิด
ดับ เปลียนแปลงอยู่ตลอดเวลา จิตดวงเก่าเกิดขึน ตังอยู่ ดับไป จิตดวงใหม่ก็เกิดขึน ตังอยู่ ดับ
ไปสืบต่อเนืองตลอดเวลา ทําหน้าทีประสานสัมพันธ์กับจิตดวงเก่าให้เกิดประโยชน์ คือความรู้สึก
สุขทุกข์ หรือไม่สุขไม่ทุกข์ภายในจิต จิตจึงมีทุกขลักษณะ
ค. อนัตตลักษณะ คือ จิตไม่ใช่ตัวตน เพราะเหตุทีจิตต้องเปลียนแปลง เกิดดับ จับ
อารมณ์ ปล่อยอารมณ์ตลอดเวลาตืน แม้เวลาหลับสนิท จิตก้เกิดดับอยู่ในภวังค์ ตลอดเวลาจิต
จึงไม่สามารถดํารงอยู่ในสภาพเดิมได้ ต้องทําหน้าทีเกิดดับ ๆ สืบเนืองต่อกันไปเป็นกระแส จิตจึง
ไม่มีตัวตนทีเทียงแท้ถาวร ไม่ใช่อัตตา ทีเราจะยึดถือจิตหรือแม้ร่างกายซึงรวมทังจิตด้วยว่า เป็น
ตัวตนของเรา
พระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงธรรมโปรดพระราหุล ในเรืองไตรลักษณ์ของสิงต่าง ๆ รวมทัง
จิตด้วย ดังนี
“ดูกรราหุล เธอจะสําคัญความข้อนันเป็นไฉน จักษุ...รูป...จักษุวิญญาณ.....
จักษุสัมผัส.....เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทีเกิดเพราะจักษุสัมผัส
เป็นปัจจัยนัน เทียงหรือไม่เทียง
.....................................................................................................
องฺ. เอกก. ๒๐/๔๘-๕๑/๘
๑๒
พระราหุล ไม่เทียง พระพุทธเจ้าข้า
พ. สิงใดไม่เทียง สิงนันเป้ นทุกข์หรือเป็นสุข
ร. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า
พ. ก็สิงใดไม่เทียง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ควรหรือจะเห้นสิงนันว่า นันของเรา นันเรา นีอัตตาของเรา
ร. ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า
พ. ดูกรราหุล เธอจะสําคัญความข้อน้นเป็นไฉน โสต.....
ฆานะ.....ชิวหา......กาย.....เทียงหรือไม่เทียง
ร. ไม่เทียง พระพุทธเจ้าข้า ฯลฯ
พ. ดูกรราหุล เธอจะสําคัญความข้อน้นเป็นไฉน มโน.....
ธรรมารมณ์.....มโนวิญญาณ.....มโนสัมผัส.....เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ ทีเกิดเพรามโนสัมผัส เป็นปัจจัย แม้นัน เทียงหรือไม่เทียง
ร. ไม่เทียง พระพุทธเจ้าข้า
พ. ก็สิงใดไม่เทียง สิงนันเป้ นทุกข์หรือเป้ นสุข
ร. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า
พ. ก็สิงใดไม่เทียง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือทีจะ
เห็นสิงนันว่า นันของเรา นันเรา นีอัตตาของเรา
ร. ไม่ควร พระพุทธเจ้าเจ้าข้า..........
เมือสิงต่าง ๆ รวมทังจิตมีไตรลักษณะ คือไม่เทียง (อนิจจลักษณะ) เป็นทุกข์ (ทุกขลักษณะ)
ไม่ใช่ตัวตน (อนัตตลักณณะ) ดังนี พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสอนพระราหุลไม่ให้ยึดถือคือ
ไม่ให้มีความเห็นผิดในสิงต่าง ๆ รวมทังจิต ว่าเป็นของเรา เป็นเรา เป็นตัวตนของเรา เพราะ
เมือไม่มีความเห็นผิดในสิงต่าง ๆ รวมทังจิต ก็เท่ากับไม่มีความทุกข์ในจิตใจ แต่ผู้ทีจะเห็นไตร
ลักษณ์ของจิตได้ ต้องฝึกจิตด้วยการปฏิบัติสมาธิ จนกระทังจนเป็นสมาธิอย่างลึกซึง คือจิตมี
ลักษณะบริสุทธิ ไม่มีราคะ โทสะ และโมหะ เข้าครอบงํา จิตอ่อนในการงานอันเป็นกุศล จิตควร
แก่การงานอันเป็นกุศล จิตตังมันในอารมณ์ จิตไม่หวันไหวต่ออารมณ์คือ โลกธรรม ๘ คือ ลาภ
ยศ สรรเสรญ สุข เสือมลาภ เสือมยศ นินทา ทุกข์ ทีจิตรับรู้ เมือจิตเป็นสมาธิ จิตก็จะเกิด
ปัญญา คือวิปัสสนาญาณ ปัญญารู้ความเกิดดับ คือความไม่เทียง ต้องเปลียนแปลง
ตลอดเวลาจิต ดังปรากฏหลักฐานแสดงถึงจิตทีเป็นสมาธิ เห็นความเกิดดับของรูปและนาม ใน
สามัญญผลสูตร ความว่า
..................................................................
ม. อุ. จูฬราหุโลวาทสูตร. ๑๔/๗๙๗-๘๐๖/๓๘๔
๑๓
“ภิกษุนันเมือจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
ย่อมควรแก่การงาน ตังมัน ไม่หวันไหวอย่างนี ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพือ
ญาณทัสสนะ เธอย่อมรู้ชัดอย่างนีว่า กายของเรานีแล มีรูปประกอบด้วยมหาภูต ๔
เกิดแต่มารดาบิดา เติบโตขึนด้วยข้าวสุกและขนมสด ไม่เทียง ต้องอบ
ต้องนวดพืน มีอันทําลายและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา และวิญญาณ
ของเรานี ก็อาศัยอยู่ในกายนี เนืองอยู่ในกายนี”
พระสูตรนีแสดงว่า รูปคือร่างกายทีประกอบด้วยธาตุดิน นํา ไฟ ลม มีบิดามารดาเป็นผู้ให้
กําเนิด เติบโตด้วยอาหารต่าง ๆ ร่างกายไม่เทียง คือ เปลียนแปลงตลอดเวลา แต่ในช่วงเวลา
สัน ๆ ถ้าไม่คิดพิจารณาให้ถีถ้วนก็มองไม่เห็น การเปลียนแปลงของร่างกายส่วนภายนอก
ต่อเมือเวลาผ่านไปนานจึงจะมองเห็นชัด การเปลียนแปลงต่าง ๆ นี จัดเป็นอนิจจลักษณะของ
ร่างกาย ในภาวะทีร่างกายแสดงถึงทุกขลักษณะนัน เช่น ขณะนีนังพับเพียบอยู่บนพืนชัวครู่เดียว
ขาปวดเมือยก็ต้องบีบต้องนวด จึงคลายความปวดเมือยหรือจําเป็นต้องเปลียนอิริยาบถเพือแก้
ทุกข์กาย (ทุกขเวทนา) การทีเปลียนอิริยาบถ เช่น เปลียนท่านังจากนังพับเพียบเป็นนังเหยียดขา
คือร่างกายทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ (อนัตตลักษณะ) เพราะถ้าร่างกายเป็นตัวตนทีแท้จริง เราก็
ต้องสังร่างกายมิให้เจ็บ มิให้แก่ มิให้ตาย ให้เป้ นไปตามทีจิตเราปรารถนา จิตมีร่างกายเป็นที
อาศัย ดังข้อความในพระสูตรนีกล่าว วิญญาณ (จิต) ของเราก็อาศัยอยู่ในร่างกายนี ดังนันเมือ
ร่างกายมีไตรลักษณ์ จิตทีอาศัยร่างกายทีเป็นไตรลักษณ์ด้วย ดังทีพระผู้มีพระภาคได้ตรัสแสดง
ธรรมโปรดพระราหุล ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ด้งนัน ผู้ทีปฏิบัติสมาธิ คือฝึกจิ
ตจนจิตเป็นสมาธิอย่างลึกซึง ด้วยการฝึกจิตให้มีสติตลอดเวลา คือ ให้มีศีล สมาธิ ปัญญา
(อริยมรรค ๘) อยู่ในจิต จึงมีจิตทีมีความสามารถเห็นความเกิดดับของนามรูป ซึงรู้ได้เฉพาะ
ตน (ปัจจัตตัง) เหมือนบุคคลทีรับประทานทุเรียน จึงรู้รสทุเรียน ฉะนัน
.................................................................................
ที. สี. สมมัญญผล. ๙/๑๓๑/๗๒
๑๔
บทสรุป
คําสอนส่วนใหญ่ในทางพระพุทธศาสนาเน้นเรืองจิต และการแก้ปัญหาทีเนืองด้วยจิตเป็น
สําคัญ ผู้เขียนได้เลือกพระคาถาในธรรมบท แห่งจิตวรรคที ๓ ขุททกนิกาย มา ๕ เรือง เพือ
ศึกษาวิเคราะห์ถึงลักษณะของจิตทีปรากฏในพระถาถานัน ๆ ว่ามีลักษณะอย่างไร และมีพระสูตร
ทีกล่าวถึงจิตลักษณะเช่นเดียวกันนีด้วย และได้อธิบายเพือความเข้าใจ ตังแต่ความหมายของจิต
ชือของจิตทีมีเรียกต่าง ๆ กัน เป็นต้น การทีจิตมีชือเรียกต่างกัน เพราะการเรียกต่างกันนัน
เรียกตามธรรมชาติในแง่มุมของการทําหน้าทีในขันตอนต่าง ๆ กล่าวคือ เรียกว่า จิต เมือจิตเป็น
ธรรมชาติคิด หมายถึงรู้ คือ เห็น ได้ยิน ได้กลิน ลิมรส รู้สัมผัส นึกคิด คือรู้อารมณ์ ๖ ทาง
ทวารทัง ๖ เรียกว่า มโน เมือจิตเป็นธรรมชาติน้อมไปรับอารมณ์ ๖ ทางทวารทัง ๖ เรียกว่า
ปัณฑระ เมือจิตเป็นธรรมชาติผ่องใส ปราศจากกิเลส เรียกว่า มนายตนะ เมือจิตเป็นอายตนะ
เครืองต่อภายนอกคืออารมณ์ เรียกว่า มนินทรีย์ เมือจิตครองความเป็นใหญ่ในการรับรู้
ธรรมารมณ์ เรียกว่า วิญญาณ เมือจิตรู้แจ้งอารมณ์ ๖ ทางทวารทัง ๖ จิตในชือต่าง ๆ จะทํา
หน้าทีของตนตังแต่แรกเกิดจนเกิดความรู้สึก สุข ทุกข์ หรือไม่ทุกข์ไม่สุขภายในจิตใจ แล้วแสดง
ออกมาด้วยการกระทําทางกาย ทางวาจา ทางใจ จิตไม่ว่าจะมีชืออะไรก็เป็นธรรมชาติเกิดดับ ๆ
ตลอดเวลา
จิตจึงมีลักษณะไตรลักษณ์ คือ ไม่เทียง เกิดดับเปลียนแปลงตลอดเวลา เป็นทุกข์คือทน
อยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ การทีจิตมีลักษณะไม่เทียง เป็นทุกข์ ทําให้จิตไม่ใช่ตัวตนทีเทียงแท้ถาวรที
จะยึดถือว่าเป็นเราเป้ นของเรา เมือจิตขึนสู่วิถีจิตจะเกิดดับจับอารมณ์ปล่อยอารมณ์ จิตจึงมี
ลักษณะไม่อยู่นิงท่องเทียวไปในอารมณ์ต่าง ๆ และมีลักษณะการทํางานในแต่ละขณะทีสมมติ
เรียกว่า “ดวง” คือจิตดวงเก่าเมือเกิดขึนทําหน้าทีของตนแล้วดับไป มอบหน้าทีการงานให้จิตดวง
ต่อไปทําหน้าทีของตนแล้วดับไป ในลักษณะสืบต่อเนืองประสานสัมพันธ์กันเป็นลูกโซ่ตลอดเวลา
ฉะนัน การรู้และเข้าใจเรืองจิตตังแต่ความหมาย ชือ ลักษณะ รวมถึงหน้าทีและ
รายละเอียดต่าง ๆ ย่อมมีประโยชน์ต่อชีวิตมากทีเดียว

More Related Content

What's hot

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาThongsawan Seeha
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
ใบงาน1
ใบงาน1ใบงาน1
ใบงาน1krusupask
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 

What's hot (20)

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
ใบงาน1
ใบงาน1ใบงาน1
ใบงาน1
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 

Viewers also liked

โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
032การพัฒนาจิต
032การพัฒนาจิต032การพัฒนาจิต
032การพัฒนาจิตniralai
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการJariya
 

Viewers also liked (6)

โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
032การพัฒนาจิต
032การพัฒนาจิต032การพัฒนาจิต
032การพัฒนาจิต
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
สรุปรายงานการศึกษาดูงานฉือจี้
สรุปรายงานการศึกษาดูงานฉือจี้สรุปรายงานการศึกษาดูงานฉือจี้
สรุปรายงานการศึกษาดูงานฉือจี้
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 

Similar to ลักษณะของจิต

สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาPunya Benja
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 

Similar to ลักษณะของจิต (20)

บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญอักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 

More from Wataustin Austin

ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishWataustin Austin
 
Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Wataustin Austin
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนWataustin Austin
 
เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์Wataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2Wataustin Austin
 
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์Wataustin Austin
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึกWataustin Austin
 
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาสารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาWataustin Austin
 
สัจจสังเขป
สัจจสังเขปสัจจสังเขป
สัจจสังเขปWataustin Austin
 
สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)Wataustin Austin
 
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)Wataustin Austin
 
วุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีวุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีWataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2Wataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1Wataustin Austin
 
วฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattanaวฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร VarutarattanaWataustin Austin
 
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยมมนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยมWataustin Austin
 

More from Wataustin Austin (20)

ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
 
Pali chant
Pali chantPali chant
Pali chant
 
Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)
 
Bookchant
BookchantBookchant
Bookchant
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
 
เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาสารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
 
สัจจสังเขป
สัจจสังเขปสัจจสังเขป
สัจจสังเขป
 
สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)
 
สรภัญญะ1
สรภัญญะ1สรภัญญะ1
สรภัญญะ1
 
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
 
วุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีวุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรี
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 
วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1
 
วฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattanaวฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattana
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยมมนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
 

ลักษณะของจิต

  • 1. ๑ ลักษณะของจิต ในขุททกนิกาย ธรรมบท แหงจิตตวรรคที่ ๓ *************************** บทนํา ในทางพระพุทธศาสนาถือวามนุษยประกอบดวยสวนสําคัญสองสวน คือกายกับจิต ที่มี ศัพทเฉพาะเรียกวานามรูป นามก็คือสวนที่เปนจิต รูปก็คือสวนที่เปนรางกาย แมจะเรียกวานาม รูป หรือจิตกับรางกายก็มีความหมายอยางเดียวกัน และตางก็มีความสําคัญตามลักษณะของตน ซึ่งจะตองอิงอาศัยซึ่งกันและกันโดยที่จะขาดอยางใดอยางหนึ่งไปไมได แตคําสอนในทาง พระพุทธศาสนาก็จะเนนในเรื่องจิต และใหความสําคัญแกจิตมากกวารางกาย โดยที่เห็นวา รางกายนั้นจะกอใหเกิดปญหาตาง ๆ ไดมากมาย แตปญหาที่มีความสําคัญอยางแทจริงนั้นไดแก ปญหาที่เกี่ยวเนื่องกับจิต หากสามารถแกปญหาที่เกี่ยวกับจิตไดอยางเด็ดขาดสิ้นเชิงแลว ปญหา ที่เนื่องดวยรางกาย แมอาจจะยังมีอยู ก็ไมใชเรื่องสําคัญอีกตอไป ดวยเหตุนี้คําสอนในทาง พระพุทธศาสนาสวนใหญจึงเนนไปที่การแกปญหาเกี่ยวกับจิตมากกวา โดยการเสนอแนะวิธี พัฒนาจิตในรูปแบบตาง ๆ ที่มนุษยสามารถนําไปใชปฏิบัติจนสามารถประสบผลไดดวยตนเอง ฉะนัน เรืองจิตจึงเป็นเรืองทีน่าศึกษาและทําความเข้าใจ โดยเฉพาะถ้าได้ทราบเข้าใจ อย่างถูกต้องแล้วก็จะเป็นประโยชน์แก่ชีวิตของคนเรามากทีเดียว และในรายงานนีก็จะได้วิ เตราะห์ถึงลักษณะของจิตทีมีปรากฏในพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย แห่งจิตตวรรที ๓ โดย เลือกคาถาธรรมบทมาศึกษาเพียง ๕ เรืองเท่านัน คือ ๑. ลักษณะของจิต เรืองพระเมฆิยเถระ ๒. ลักษณะของจิต เรืองภิกษุรูปใดรูปหนึง ๓. ลักษณะของจิต เรืององอุกกัษฐิตภิกษุ ๔. ลักษณะของจิต เรืองพระภาคิไนยสังฆรักขิตเถระ ๕. ลักษณะของจิต เรืองพระโสไรยเถระ ซึงในการศึกษาวิเคราะห์นี จะกล่าวถึงความหมายของจิตตามทีปรากฏในทีต่าง ๆ เป็นเบืองต้น หลังจากนันได้ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะของจิตทีพระศาสดาตรัสไว้ในเรืองนัน ๆ ว่ามีมีความหมาย ในลักษณะใดบ้าง โดยทีลักษณะของจิตทีพระองค์ตรัสถึงนัน มีนัยเหมือนกันหรือเข้ากันได้ อย่างไร และเป็นไปในทํานองเดียวกันกับเรืองจิตทีตรัสไว้ในพระสูตรอืน ๆ หรือไม่ ทังนีผู้วิจัยจะยก มากล่าวอ้างประกอบเพือจะได้เข้าใจและมองเห็นภาพลักษณะของจิตทีตรัสไว้อย่างชัดเจน
  • 2. ๒ ความหมายของจิต คําว่า “จิต” ตามความหมายของรูปวิเคราะห์ศัพท์ทางนิรุตติศาสตร์ ดังนี “จินฺเตติ วิชานาตีติ จิตฺตํ” แปลว่า ธรรมชาติใดย่อมคิด คือย่อมรู้แจ้ง เหตุนัน ธรรมชาติ นัน ชือว่าจิต ในพระสุตตันตปิฎก กามสุตตนิเทสที ๑ ได้ให้ความหมายของจิตไว้ดังนี “คําว่า ใจ คือ จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มนะ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุ ซึงเกิดแต่ผัสสะ ดังนี เรียกว่า “ใจ” จิตแม้มีชือเรียกถึง ๑๐ ชือ แต่ทัง ๑๐ ชือ ก็มีความหมายอย่างเดียวกัน ทําหน้าทีหลัก คือ รู้อารมณ์ และคําว่า “อารมณ์” ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึงอายตนะภายนอกทัง ๖ และจิตนีจะรู้หรือรับอารมณ์ได้เพียงครังละอารมณ์ คือเมือจิตรับรู้หรือคิดถึงอารมณ์คือรูป จิตจะ ไม่รับรู้อารมณ์อืน คือ เสียง กลิน รส สิงสัมผัส แม้อารมณ์นันจะเป็นรูปทีอยู่ในสถานทีเดียวกัน การทีจิตมีชือเรียกต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว เป็นการเรียกตามธรรมชาติในแง่มุมของการทํา หน้าทีตามขันตอนต่าง ๆ แต่เนืองจากในพระสุตตันตปิฎกมิได้ให้ความหมายของจิตครบทัง ๑๐ ชือ มีเพียงบางชือ เช่น มนายตนะ วิญญาณ เป็นต้น จึงได้นําความหมายของคําทีใช้เรียกจิต เหล่านีในอัฏฐสาลินีอรรถกถา มากล่าว ดังนี “ธรรมชาติใดย่อมคิด ธรรมชาตินันชือว่า “จิต” ธรรมชาติใดย่อมน้อมไปหาอารมณ์ ธรรมชาตินันชือว่า “มโน” ธรรมชาติทีรวบรวมอารมณ์ไว้ภายในนันแหละชือว่า “หทัย” ธรรมชาติฉันทะคือความพอใจทีมีอยู่ในใจนันชือว่า “มานัส” จิต เป็นธรรมชาติผ่องใส จึงเรียกว่า “ปัณฑระ” มนะทีเป็นอายตนะเครืองต่อ จึงชือว่า “มนายตนะ” มนะทีเป็นอินทรีย์หรือครองความเป็นใหญ่จึงเรียกว่า “มนินทรีย์” ธรรมชาติใดทีรู้อรมณ์ ธรรมชาตินันชือว่า “วิญญาณ” วิญญาณทีเป็นขันธ์ จึงชือว่า “วิญญาณขันธ์” มนะทีเป็นธาตุชนิดหนึงซึงรู้อารมณ์ จึงชือว่า “มโนวิญญาณ” .................................................................................. อภิธัมมัตถวิภาวินิยา ปฐมภาค. พระนคร : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๑๘. ข้อ ๔๔ หน้า ๑๒๓ ขุ. มหา. กามสุตตนิเทสที ๑. ๒๙ / ๔-๕ / ๒-๓ บุญมี เมธางกูร และวรรณสิทธิ ไวทยะเสวี. คู่มือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉทที ๑. ตอนที ๑. จิตปรมัตถ์. หน้า ๒๗
  • 3. ๓ กล่าวโดยสรุป จะเห็นได้ว่า ธรรมชาติของจิตนัน เป็นธรรมชาติทีคิดหรือรู้อารมณ์ จิตจึงแตกต่าง จากกายโดยสินเชิง เพราะธรรมชาติของกายนัน คิดและรู้อารมณ์ไม่ได้ สิงทีคิดและรู้อารมณ์ได้ นัน คือจิต และคําว่า “อารมณ์” หมายถึง สิงทีจิตรู้ สิงทีจิตรู้นันอาจจะหมายถึงอะไรก็ได้ทีผ่าน มาทางทวาร ๖ คือ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิน ทางกาย และทางใจ สิงทีผ่านมาทาง ทวาร ๖ ทังหมด เป็นอารมณ์ทังสิน เมือทราบความหมายและชือของจิตมาพอสมควรแล้ว ต่อไปก็จะกล่าวถึงลักษณะของจิตต่อไป ลักษณะของจิต จิตเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างหนึงมีลักษณะเกิดดับ ติดต่อกันเป็นสาย หรือกระแส หรือวงจร ทีเรียกว่า กระแสจิต หรือวงจรชีวิต จิตจะเกิดดับตลอดเวลาทังกลางวันและกลางคืน ทังหลับและตืน ในการเรียนรู้พระอภิธรรม มีการสมมติเรียกการเกิดดับของจิตแต่ละขณะว่า ดวง จิตดวงเก่าทีดับไปแล้วเป็นเหตุปัจจัยให้จิตดวงใหม่เกิดขึน รับมอบการทํางานต่อจากจิตดวงเก่า แล้วตังอยู่เพือทําหน้าทีของตน เสร็จแล้วจึงดับไป และเป็นเหตุปัจจัยให้จิตดวงใหม่เกิดขึน ตังอยู่ และดับไป เช่นนีตลอดเวลา จิตดวงเก่าและจิตดวงใหม่มีการทํางานประสานสัมพันธ์กัน และจิต จะเกิดขึนได้ขณะละดวงเท่านัน จึงเป็นเหตุและผลในดวงเดียวกัน ลักษณะของจิตทีแสดงไว้ในพระสูตรต่าง ๆ เช่น “จิตนี เป็นธรรมชาติผ่องใส แต่ว่าจิตนันเศร้าหมองไป เพราะอุปกิเลสทีจรมา” “จิตนี มีลักษณะดินรน กลับกลอก รักษายาก และห้ามยาก” “จิตนี ข่มได้ยาก เป็นธรรมชาติเร็ว และยังตกไปในอารมณ์ตามความใคร่” “จิตมีรูปเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นอารมณ์ และมีวิญญาณเป็นอารมณ์ เกิดขึนแล้วย่อมแตกดับไป” ในพระอภิธรรมได้แสดงถึงลักษณะพิเศษ (วิเสสลักษณะ) ซึงเป็นลักษณะเฉพาะของจิต ไว้ ๔ ประการ คือ ๑. เป็นธรรมชาติรู้แจ้งอารมณ์เป็นลักษณะ (ลักษณะ) ๒. เป็นประธานในการรู้อารมณ์ทังปวงเป็นกิจ (รสะ) ๓. มีการเกิดดับเกิดขึนต่อเนืองกันไปโดยไม่ขาดสายเป็นผล (ปัจจุปัฏฐาน) ๔. มีวัตถุรูป อารมณ์ มนสิการ และการกระทบของเหตุทัง ๓ เป็นเหตุใกล้ (ปทัฏฐาน) ............................................................................................................... องฺ. เอก. ๒๐/๕๐/๑๐ ขุ. ธ. ๒๕/๑๓/๑๙ ขุ. ธ. ๒๕/๑๓/๑๙ ขุ. ปฏิ. ๓๑/๑๑๒/๕๖ บุญมี เมธางกูร และวรรณสิทธิ ไวทยะเสวี. คู่มือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉทที๑. ตอนที ๑. จิตปรมัตถ์. หน้า ๒๘
  • 4. ๔ ในอรรถกถาอัฎฐสาลินี ให้คํานิยามลักษณะของจิตไว้ว่า “ธรรมชาติทีชือว่าจิต เพราะอรรถว่า คิดหรือรู้แจ้งอารมณ์ เพราะสังสมสันดานของ ตน เพราะเป็นธรรมชาติอันกรรมกิเลสสังสมกรรมวิบาก และเพราะเป็นธรรมชาติวิจิตร” 1 ส่วนในอภิธัมมัตถสังคหบาลีและอภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา ได้ให้นิยามลักษณะของจิตต่าง จากอรรถกถาอัฎฐสาลินีเล็กน้อยว่า “ธรรมชาติทีชือว่าจิต เพราะทําให้วิจิตร....เพราะภาวะแห่งตนเป็นธรรมชาติวิจิตร..... เพราะอันกรรมและกิเลสสังสมไว้.....เพราะรักษาไว้ซึงอัตภาพอันวิจิตร.....เพราะสังสมซึงสันดาน แห่งตน.....และเพราะมีอารมณ์อันวิจิตร” ลักษณะของจิตยังมีกล่าวไว้อีกลายแห่ง ตามทียกมาจากพระสูตรและพระอภิธรรม ดังกล่าว ผู้เขียนเห็นว่าเพียงพอทีจะทําให้เข้าใจลักษณะของจิต และต่อไปนีจะได้กล่าวถึง ลักษณะของจิตในพระคาถาธรรมบท แห่งจิตตวรรคที ๓ ขุททกนิกาย โดยเลือกศึกษาวิเคราะห์ ๕ เรือง ดังนี ลักษณะของจิต เรืองพระเมฆิยเถระ เนือความโดยสังเขป พระศาสดา เมือประทับอยู่ทีภูเขาจาลิกา ทรงปรารภท่านเมฆิยะ เหตุเพราะท่านไม่สามารถประกอบความเพียรในอัมพวันนันได้ เพราะความทีท่านถูกวิตก ๓ อย่าง ครอบงํามาแล้ว ดังนัน จึงได้ทรงภาษิตพระคาถา ๒ พระคาถาเหล่านีว่า ผนฺทนํ จปลํ จิตฺตํ ทุรก์ขํ ทุน์นิวารยํ อุชุ กโรติ เมธาวี อุสุกาโรว เตชนํ วาริโชว ถเล จิตฺโต โอกโมกตอุพฺภโต ปริผนฺทติทํ จิตฺตํ มารเธยฺยํ ปหาตเว ฯ 3 “ชนผู้มีปัญญาย่อมทําจิตทีดินรน กลับกลอก อันบุคคลรักษาได้ยาก ห้ามได้ยาก ให้ตรง ดุจช่างศร ดัดลูกศรให้ตรง ฉะนัน จิตนี (อันพระโยคาวจรยกขึน จากอาลัย คือกามคุณ ๕ แล้ว ซัดไปในวิปัสสนากัมมัฏฐาน) เพือละบ่วงมาร ย่อมดินรน ดุจปลาอันพรานเบ็ด ยกขึนจาก (ทีอยู่) คือนํา แล้วโยนไปบนบก ดินรนอยู่ ฉะนัน” .......................................................................................... สมาคมศูนย์ค้นคว้าพระพุทธศาสนาวัดสระเกศ, อรรถกถาอัฎฐสาลินี ตอน ๒, หน้า ๓๘ มหามกุฎราชวิทยาลัย, อภิธัมมัตถสังคหบาลีและอภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา, ฉบับแปล, หน้า ๒๑ ขุ. ธ. ๒๕ / ๑๓
  • 5. ๕ พระคาถาในเรืองพระเมฆิยะนี สามารถวิเคราะห์ลักษณะทัวไปของจิตได้ ดังนี ๑. จิตมีลักษณะดินรน ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ดินรนอยู่ในอารมณ์ทังหลายมีรูปเป็นต้น ลักษณะของจิตนี อธิบายได้ว่าเป็นการรู้อารมณ์ต่าง ๆ ตามความต้องการ ทังทีเป็นอารมณ์ทาง รูปธรรม เช่น รูป เสียง กลิน รส เป็นต้น และอารมณ์ทางนามธรรม เช่น ความรู้สึกสุขทุกข์ เวทนา) รู้ความพอใจ ไม่พอใจ (สังขาร) รู้ว่าขณะนีตนเองกําลังโกรธ (โทสจิต) เป็นต้น ๒. จิตมีลักษณะกลับกลอก หรือกวัดแกว่ง ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ไม่ดํารงอยู่ใน อารมณ์เดียวได้ เหมือนทารกในบ้านผู้ไม่นิงอยู่ด้วยอิริยาบถหนึงฉะนัน ลักษณะจิตนี อธิบายได้ ว่า เป็นการรู้อารมณ์ใดอารมณ์หนึงได้ไม่นาน ก็ต้องเปลียนอารมณ์ใหม่ ๆ เรือยไป เช่น เห็นรูปนี แล้วก็เบือ ไปเห็นรูปโน้น หรือเสียง กลิน ต่าง ๆ ต่อไป เหมือนวานรอยู่นิง ๆ ไม่ได้ ต้องเทียวจับ กิงไม้กิงนันแล้วไปจับกิงอืน ๆ ต่อไป ผู้ทีมีจิตกลับกลอกกวัดแกว่งมักจะทําลายความเป็นมิตรภาพ และจิตจะไม่มีความสุข ๓. มีลักษณะรักษาได้ยาก ในอรรถกถาท่านแก้ว่า อันบุคคลรักษาได้ยาก เพราะตังไว้ได้ ยากในอารมณ์อันเป็นทีสบายอารมณ์หนึงนันแล เหมือนโคทีคอยเคียวกินข้าวกล้าในนา อันคับ คังไปด้วยข้าวกล้าฉะนัน ลักษณะจิตนี อธิบายได้ว่า การทีไม่สามารถให้จิตอยู่ในอํานาจคือรู้ อารมณ์หรือคิดถึงเรืองเพียงเรืองเดียว ด้วยจิตทีไม่ฟุ้ งซ่านคือจิตแน่วแน่มีสมาธิในอารมณ์นันเพียง อารมณ์เดียว ทําได้ยาก นอกจากจิตทีฝึกดีแล้ว สามารถบังคับจิตให้อยู่ในอํานาจเช่นเดียวกับจิต ของพระอรหันต์ ๔. จิตมีลักษณะห้ามยาก ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ชือว่า อันบุคคลห้ามได้ยาก เพราะ เป็นธรรมชาติทีรักษาได้ยาก เพือจะห้าม (กัน) จิตอันไปอยู่สู่วิสภาคารมณ์ ลักษณะจิตนี อธิบายได้ว่า คือการห้ามจิตไม่ให้รู้อารมณ์ต่าง ๆ ไม่ได้ เพราะจิตมักชอบไปรู้อารมณ์ในกามคุณ ห้า คือ รูป เสียง กลิน รส โผฎฐัพพะ ซึงได้แก่สิงสัมผัสต่าง ๆ อันเป็นอารมณ์ทีน่าปรารถนา (อิฎฐารมณ์) ตามทีจิตต้องการ ทังนีเพราะปุถุชนยังมีความกําหนัดด้วยราคะ หรือตัณหา จิตจึง อยากได้สิงนัน และอยากไม่ได้สิงนี และยังมีพระสูตรอืน ๆ อีก ทีกล่าวถึงลักษณะของจิตในทํานองเดียวกัน เช่น ในตาลปุฏ เถรคาถา ความว่า “จิตนีกวัดแกว่งเช่นวานร ห้ามได้แสนยาก เพราะยังไม่ปราศจากความ กําหนัด” 5 ............................................................................... 1 เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 2 เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 3 เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 4 เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 5 ขุ. เถร. ตาลปุฏเถรถาคา. ๒๖/๓๓๙/๓๖๐
  • 6. ๖ และในกีฏทูสกชาดก ความว่า “ผู้มีจิตไม่มันคง มีจิตกลับกลอก มักประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ยังยืนเป็นนิจ ย่อมไม่มีความสุข” ลักษณะของจิต เรืองภิกษุรูปใดรูปหนึง เนือความโดยสังเขป เมือพระศาสดาประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภภิกษุรูปใด รูปหนึง โดยทีพระองค์แนะนําให้เธอรักษาจิตอย่างเดียว ว่า “เธอจงรักษาจิตของเธอนันแหละ ธรรมดาจิตนีอันบุคคลรักษาได้ยาก เธอจงข่มจิตของเธอไว้ให้ได้ อย่าคิดถึงอารมณ์อะไร ๆ อย่าง อืน ธรรมดาจิตอันบุคคลข่มได้ยาก” ดังนีแล้วจึงตรัสพระคาถานีว่า ทุนฺนิคฺคหสฺส ลหุโน ยตฺถ กามนิปาติโน จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ. “การฝึกจิตอันข่มได้ยาก เป็นธรรมชาติเร็ว มักตกไปในอารมณ์ตามความใคร่ เป็นการดี (เพราะว่า) จิตทีฝึกดีแล้ว ย่อมนําสุขมาให้” 2 พระคาถาในเรืองภิกษุรูปใดรูปหนึงนี สามารถวิเคราะห์ลักษณะทัวไปของจิตได้ ดังนี ๑. จิตมีลักษณะข่มได้ยาก คือ จิตฝึกได้ยาก เพราะเคยท่องเทียวเดินทางไปในอารมณ์ ต่าง ๆ ตามความปรารถนา (กามคุณห้า) จนเคยชินเสียแล้ว จิตชอบเดินทางไปสายกามสุขัลลิกา- นุโยค คือหมกมุ่นในกามสุข โดยคิดว่า กามคือ รูป เสียง กลิน รส โผฏฐัพพะ อันน่าใคร่น่า ปรารถนา จะให้ความสุขทียังยืนได้ตลอดไป ๒. จิตมีลักษณะเปลียนแปลงได้รวดเร็ว ในอรรถกถาท่านแก้ว่า จิตนีย่อมเกิดและดับเร็ว เพราะเหตุนัน จึงชือว่า ลหุ ซึงจิตอันข่มได้ยาก อันเกิดและดับเร็วนัน หมายถึง การเกิดดับ ต่อเนืองไปตลอดเวลา เป็นกระแส หรือวงจร ทังเวลากลางวันและกลางคืน ทังหลับและตืน สมดังพระพุทธพจน์ทีว่า “ไม่มีสิงใดทีเปลียนแปลงได้เร็วเหมือนจิต” ๓. จิตมีลักษณะทีชอบตกไปในอารมณ์ทีปรารถนา ทีต้องการ ในอรรถกถาท่านแก้ว่า มักตกไปในอารมณ์ใดอารมณ์หนึงนันแล หมายถึง การทีจิตต้องการเห็น ได้ยิน ได้กลิน ลิมรส สัมผัสสิงทีสบายกาย และคิดเรืองต่าง ๆ ตามความต้องการ ............................................................................................... ขุ. ชา. สังกัปปวรรคชาดก. ๒๗/๓๕๔/๙๘ 2 เรืองเดียวกัน หน้า ๕ 3 เรืองเดียวกัน หน้า ๕ 4 เรืองเดียวกัน หน้า ๕ 5 เรืองเดียวกัน หน้า ๕
  • 7. ๗ และมีทีกล่าวถึงลักษณะของจิตในทํานองเดียวกันนีคือ ในหัตถาโรทปุตตเถรคาถา ความ ว่า “แต่ก่อน จิตนีเคยจาริกไปในอารมณ์ต่าง ๆ ตามความปรารถนา ตามความต้องการ ตามความสบาย วันนีเราจะข่มจิตนันโดยอุบายอันชอบ เหมือนนายควาญผู้ฉลาด ข่มขีช้างผู้ขึน มันได้ด้วยขอฉะนัน” ลักษณะของจิต เรืองอุกกัณฐิตภิกษุ เนือความโดยสังเขป พระศาสดาเมือประทับอยู่ในกรุงศาวัตถี ทรงปรารภภิกษุผู้ กระสัน (จะสึก) รูปใดรูปหนึง โดยทีพระองค์ได้ตรัสถึงการรักษาจิตอย่างเดียวอาจพ้นจากทุกข์ ได้ โดยประทานโอวาทนีว่า “ถ้ากระนัน เธอจงรักษาเฉพาะจิตของตนไว้ เธออาจพ้นจากทุกข์ได้” ดังนีแล้ว จึงตรัสพระถาคานี สุทุทฺทสํ สุนิปุณํ ยตฺถ กามนิปาตินํ จิตฺตํ รกฺเขถ เมธวี จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ. 2 “ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิต ทีเห็นได้แสนยาก ละเอียดยิงนัก มักตกไปในอารมณ์ตามความใคร่, (เพราะว่า) จิตทีคุ้มครองไว้ได้ เป็นเหตุนําสุขมาให้” พระคาถาในเรืองอุกกัณฐิตภิกษุนี สามารถวิเคราะห์ลักษณะทัวไปของจิตได้ ดังนี ๑. จิตมีลักษณะเห็นได้ยาก ละเอียดอ่อน ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ยากทีจะเห็นได้ด้วยดี และละเอียดทีสุด ได้แก่ ละเอียดอย่างยิง คือจิตเป็นนามธรรมเห็นด้วยตา หรือสัมผัสจับ ต้องไม่ได้ เพราะไม่มีรูปร่าง มีถํา คือร่างกายเป็นทีอาศัย เกิดดับตลอดเวลา ซึงพระผู้มีพระภาค เจ้าตรัสเรียกกายไว้หลายอย่าง ดังนี “กายเรียกว่า ถํา ร่างกาย เรือ รถ ธง เมือง กระท่อม ผี หม้อ” เมือจิตอยู่ในภวังค์ จิตจะอาศัยเกิดดับอยู่ในร่างกายคือส่วนหนึงของหัวใจ ที เรียกว่า หทยวัตถุ เมือเวลาตืน จิตจะอาศัยร่างกายคือ ตา หู จมูก ลิน กาย เป็นทางออกไปรู้ อารมณ์ คือ รูป เสียง กลิน รส โผฎฐัพพะ ทังทีน่าปรารถนา (อิฎฐารมณ์ฉ และไม่น่า ปรารถนา (อนิฏฐารมณ์) .......................................................................................................... ขุ. เถร. หัตถาโรทปุตตเถรคาถา. ๒๖/๒๑๔/๒๒๖ เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 3 เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 4 เรืองเดียวกัน หน้า ๔
  • 8. ๘ ลักษณะของจิต เรืองพระภาคิไนยสังฆรักขิตเถระ เนือความโดยสังเขป พระศาสดา เมือประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภภิกษุชือว่าสังฆ รักขิต โดยพระองค์ตรัสถึงการสํารวมจิตเป็นเหตุให้พ้นเครืองผูกของมาร และได้ตรัสกะเธอว่า “มาเถิดภิกษุ เธออย่าคิดไปเลย, ธรรมดาจิตนีมีหน้าทีรับอารมณ์ แม้มีอยู่ในทีไกล, ควรทีภิกษุจัก พยายามเพือประโยชน์การพ้นจากเคลืองผูกคือราคะ โทสะ โมหะ ดังนีแล้ว ตรัสพระถาถานีว่า ทุรงฺคมํ เอกจรํ อสรีรํ คูหาสยํ เย จิตฺตํ ส ฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา. 1 “ชนเหล่าใด จักสํารวมจิต อันไปในทีไกล เทียวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถําเป็นทีอาศัย ชนเหล่านัน จะพ้นจากเครืองผูกคือมาร” พระคาถาในเรืองพระภาคิไนยสังฆรักขิตเถระนี สามารถวิเคราะห์ลักษณะทัวไปของจิตได้ ดังนี ๑. จิตมีลักษณะไปในทีไกล ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ก็ชือว่า การไปและการมาของจิต โดยส่วนแห่งทิศมีทิศบูรพาเป็นต้น แม้ประมาณเท่าใยแมงมุม ย่อมไม่มี จิตนันย่อมรับอารมณ์ แม้อยู่ในทีไกล เพราะเหตุนัน จึงชือว่า ทุรงฺคมํ อธิบายได้ว่า เนืองจากจิตมีลักษณะเกิดดับ ๆ คือเปลียนแปลงได้รวดเร็วดังกล่าวแล้ว จิตจึงเกิดดับ ๆ จับอารมณ์ปล่อยอารมณ์ในทีต่าง ๆ ทังที อยู่ใกล้ และอยู่ไกล เช่น จิตคิดถึงอารมณ์คือเพือนทีอยู่ในอเมริกา จิตก็รับรู้ภาพเพือนทีอยู่ใน อเมริกาทีเคยอยู่ด้วยกันเมือครังก่อน หรือจิตคิดถึงบ้านเกิดในต่างจังหวัดทีอยู่ไกลได้ เป็นต้น ๒. จิตมีลักษณะเทียวไปดวงเดียว ในอรรถกถาท่านแก้ว่า อนึง จิต ๗ – ๘ ดวง ชือว่าสามารถเกิดขึนเนืองเป็นช่อโดยความรวมกันในขณะเดียว ย่อมไม่มี ในกาลทีเกิดขึน จิต ย่อมเกิดขึนทีละดวง ๆ เมือจิตดวงนันดับแล้ว จิตดวงใหม่ก้เกิดขึนทีละดวงอีก เพราะเหตุนัน จึง ชือว่า เอกจรํ หมายความว่า จิตจะเกิดดับขณะละดวงท่านัน ดวงเก่าเมือเกิดขึนรับอารมณ์ ตังอยู่เพือทําหน้าทีของตน จึงดับไป คือปล่อยอารมณ์แล้ว ส่งต่อมอบการทํางานให้จิตดวงใหม่ เกิดขึน ตังอยู่ ดับไป ตลอดกระแสวงจร จิตแต่ละขณะจะรับอารมณ์ได้เพียงอารมณ์เดียว จะรับ พร้อมกันหลายอารมณ์ไม่ได้ การรับอารมณ์หนึง ๆ ของจิต เกิด – ดับ ทีละดวงรับอารมณ์เดียว ในหลาย ๆ ขณะ จึงจะรู้อารมณ์ว่า คืออะไร ก่อให้เกิดความรู้สึกสุข ทุกข์ได้อย่างไร แล้วจึงเกิด – ดับ ๆ ทีละดวงไปรับอารมณ์อืน ๆ ได้ แม้เทวดาทีมีอายุยืนถึง ๘๔,๐๐๐ กัป ก็มีจิตเกิดดับทีละ ดวง ........................................................................................................ เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 2 เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 3 เรืองเดียวกัน หน้า ๔ 4 ขุ. มหา. ชราสุตฺตนิเทส ที ๖. ๒๙/๑๘๒/๑๐๙
  • 9. ๙ ลักษณะของจิต เรืองพระโสไรยยะ เนือความโดยสังเขป พระศาสดายังพระธรรมเทศนานีว่า “น ตํ มาตา ปิตา กยิรา” เป็นต้น ซึงตังขึนในโสไรยนคร ให้จบงในพระนครสาวัตถี โดยกล่าวถึงประวัติของโสไรย บุตรของเศรษฐีทีมีเพศเปลียนเป็นหญิง เพราะเหตุเพียงแค่คิดกับพระมหากัจจายนะซึงเป็นพระ อรหันต์ว่า “สวยจริงหนอ พระเถระรูปนี ควรเป็นภริยาของเรา หรือสีแห่งภริยาของเรา พึงเป็น เหมือนสีแห่งสรีระของพระเถระนัน” แต่ภายหลัง เมือขอขมาพระมหากัจจายนะแล้ว ก็ได้ เพศกลับเป็นชายแล้วได้บวชบรรลุอรหัตผล ดังนัน พระศาสดาจึงตรัสถึงจิตทีตังไว้ชอบว่าดี ยิงกว่าเหตุใด ๆ โดยทรงตรัสว่า “ภิกษุทังหลาย บุตรของเราพยากรณ์อรหัตผลหามิได้ (เพราะว่า) ตังแต่ทีบุตรของเรา เห็นมรรคทัสนะ ด้วยจิตทีตังไว้ชอบแล้ว ความสิเนหาในบุตร ไหน ๆ ไม่เกิดเลย จิตเท่านัน ซึงเป็นไปในภายในของสัตว์เหล่านี ย่อมให้สมบัติทีมารดาบิดาไม่ อาจทําให้ได้” ดังนีแล้ว จึงตรัสพระคาถานีว่า น มาตา ปิตา ภริยา อ ฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร.1 “มารดาบิดา ก็หรือว่าญาติเหล่านัน ไม่พึงทํา เหตุนัน (ให้ได้), (แต่) จิตอันตังไว้ชอบแล้ว พึงทําเขาให้ประเสริฐกว่าเหตุนัน” พระคาถาในเรืองพระโสไรยเถระนี สามารถวิเคราะห์ลักษณะทัวไปของจิตได้ ดังนี จิตอันตังไว้ชอบ ในอรรถกถาท่านแก้ว่า ชือว่าตังไว้ชอบแล้ว เพราะความเป็นธรรมชาติ ตังไว้ชอบในกุศลกรรมบถ ๑๐ หมายถึง จิตของผู้ทีตังใจใฝ่ในการบําเพ็ญคุณงามความดี ย่อมจะตามรักษาจิต ให้พ้นไปจากความใฝ่ตํา จะพยายามรักษาศีล ระมัดระวังกาย วาจา และ ใจไว้ให้อยู่ในความสงบ ระวังอารมณ์ไม่ให้เกิดนิวรณ์ ๕ มาปิดกันหนทางทีจะบรรลุความดี สมดังพระพุทธพจน์ทีว่า “เมือจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้” และในวิชิตเสนเถร คาถา กล่าวถึงจิตทีตังไว้ชอบแล้ว หมายถึงการทีสามารถฝึกจิตได้แล้ว จะทําห้ได้ดังสิงทีหวังดังนี “เราจักระวังจิตนันไว้ เหมือนนายหัตถาจารย์ กักช้างไว้ทีประตูนคร ฉะนันเราจักไม่ ประกอบจิตไว้ในธรรมลามก จักไม่ยอมให้จิตตกลงไปสู่ข่ายแห่งการ อันเกิดในร่างกาย เจ้าถูกเรา กักขังไว้แล้ว จักไปตามชอบใจไม่ได้ เหมือนช้างได้ช่องประตู ฉันนัน ดูกรจิตผู้ชัวช้า บัดนีเจ้าจัก ขืนยินดีในธรรมอันลามก เทียวไปเนือง ๆ ดังแต่ก่อนมิได้ นายควาญช้างฝึกกําลังแข็งแรง ย่อม บังคับช้างทีจับได้ใหม่ ยังไม่ได้ฝึก ให้อยู่ในอํานาจด้วยขอ ฉันใด เราจักบังคับเจ้าให้อยู่ในอํานาจ ฉันนัน จักผูกเจ้าไว้ด้วยสติ จักฝึกจักบังคับเจ้าให้ทําธุระด้วยความเพียร เจ้าจักไม่ได้ไปไกลจาก อารมณ์ภายในละนะจิต” ....................................................................................... เรืองเดียวกัน หน้า ๔ เรืองเดียวกัน หน้า ๔ ม. มู. ๑๒ / ๒๔ 4 ขุ. เถรวิชิตเสนเถรคาถา ๒๖/๓๔๓
  • 10. ๑๐ ถึงอย่างไรก็ตาม ลักษณะของจิตตามทีกล่าวมาแล้วทังหมดนี ย่อมจะหนีไม่พ้นลักษณะ ความเป็นไตรลักษณ์ และลักษณะไตรลักษณ์ของจิตมีอธิบายดังนี ก. อนิจจลักษณะ คือ จิตมีลักษณะไม่เทียง เปลียนแปลง คือเกิดดับ ๆ สืบต่อเนืองกัน ไปตลอดเวลาเป็นกระแส อันแสดงให้เห็นถึงความเกิดและความเสือมของจิตทีดําเนินไปทุกขณะ ซึงพอจะสังเกตเห็นได้ทีตัวเราเอง จิตจะยึดเหนียวอารมณ์ต่าง ๆ ตลอดเวลา อารมณ์คือรูปบ้าง เสียงบ้าง กลินบ้าง รสบ้าง โผฏฐัพพะบ้าง ตลอดถึงยึดอารมณ์คือเรืองราวต่าง ๆ บ้าง ดัง ข้อความหลักฐานในอัสสุตวตาสูตรที ๑ ความว่า “ดูกรภิกษุทังหลาย วานรเมือเทียวไปในป่าใหญ่ จับกิงไม้ ปล่อยกิงนัน ยึดเอากิงอืน ปล่อยกิงทียึดเดิม เหนียวกิงใหม่ ต่อไป แม้ฉันใด ...........จิตเป็นต้นนัน ดวงหนึงเกิดขึน ดวงหนึงดับไป ในกลางคืนและ กลางวัน ฉันนัน” และในชราสุตตนิทเทสที ๖ ความว่า “สมดังพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ชีวิต อัตภาพ สุขและทุกข์ทังมวล เป็นธรรมประกอบกันด้วยจิตดวงเดียว ขณะย่อมเป็นไปหลับ เทวดา เหล่าใดย่อมตังอยู่ตลอด ๘๔,๐๐๐ กัป แม้เทวดาเหล่านันย่อมไม่เป็น ผู้ประกอบด้วยจิตสองดวง ดํารงอยู่เลย” ข้อความทังสองพระสูตร เป็นหลักฐานยืนยันได้ชัดเจนว่า จิตเป็นธรรมชาติเกิดดับตลอดเวลา ทัง กลางวันและกลางคืน และการเกิดดับของจิตแต่ละขณะก็ต้องเกิดดับทีละดวง จะเกิดดับพร้อม ๆ กัน ๒ ดวง หรือมากกว่านันไม่ได้ เหมือนวานรทีมีธรรมชาติอยู่นิง ๆ ไม่ได้ ต้องเคลือนไหวไปมา ตลอดเวลาทียังไม่หลับ เทียวจับกิงไม้กิงนันแล้วปล่อยกิงทียึดเดิม ไปเหนียวยึดจับกิงใหม่ ๆ ต่อ ๆ ไป แม้เทวดาทีมีอายุยืนถึง ๘๔,๐๐๐ กัป ก็ตาม แต่จิตของเทวดาก็เกิดดับ ๆ รับอารมณ์ ปล่อย อารมณ์ จิตเกิดความรู้สึกสุขทุกข์ หรือไม่สุขไม่ทุกข์ ทีละดวงในแต่ละขณะ เหมือ่นจิตของมนุษย์ และสัตว์ ในขณะหนึง ๆ จิตของเทวดา หรือของมนุษย์ หรือของสัตว์ จะเกิดพร้อมกัน ๒ ดวง หรือหลาย ๆ ดวงไม่ได้ การทีจิตมีความเปลียนแปลงสืบต่อเนืองกันเช่นนี เป็นไปอย่าง รวดเร็ว ตัวอย่างทีอาจรู้ได้ด้วยตัวเอง คือ ประเดียวจิตก็รู้อารมณ์คือรูป เสียง.....ตลอดถึงรู้ ธรรมารมณ์ คือเรืองราวต่าง ๆ ทังทีเป็นอารมณ์ปัจจุบัน อดีต อนาคต และการเปลียนแปลงของ จิตเป็นไปอย่างรวดเร็ว เช่น ขณะทีจิตได้ยินเสียงอาจารย์สอนหนังสือแล้ว ขณะต่อ ๆ ไปจิตก็รับรู้ ทีบริเวณท่าพระจันทร์ คิดถึงสิงต่าง ๆ ทีเคยผ่านไปเห็น ขณะต่อ ๆ ไป จิตก็จะรับรู้คิดไปถึงบ้าน ........................................................................................... สัง. นิ. อัสสุตวตาสูตรที ๑ ๑๖/๒๓๐/๙๔ 2 ขุ. มหา. ชราสุตตนิทเทสที๖ ๒๙/๑๘๒/๑๐๙
  • 11. ๑๑ คิดถึงเพือนทีเคยอยู่ร่วมกันมาเมือตอนยังเด็ก ในขณะต่อ ๆ ไป จิตก็คิดถึงภาพยนตร์ทีเคยชม ดังนีเป็นต้น จิตจะเกิดดับ ๆ รับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ดังทีกล่าวมาพอเป็นตัวอย่างทีทุกคนเข้าใจได้ และเคยเกิดขึนกับทุกคน แต่อาจมิได้เคยสังเกตมาก่อน โดยผ่านเครืองส่ง คือ จิตของ แต่ละคนเท่านัน ทีเป็นห้องปฏิบัติการจะส่งไปยังเครืองรับคืออารมณ์ รูป เสียง กลิน รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์คือเรืองราวต่าง ๆ ได้ภายในชัวพริบตาเดียว จิตทําหน้าทีเกิดดับ ๆ รับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ได้มากมาย ทังในทีใกล้และทีไกลในเวลารวดเร็ว จึงไม่สามารถเปรียบจิตที เปลียนแปลงได้อย่างรวดเร็วกับความเปลียนแปลงของสิงใด ๆ ได้ แม้กับภาพ (แสง) ทีส่งผ่าน ดาวเทียมไปยังเครืองรับโทรทัศน์ สมดังพระพุทธพจน์ทีพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ในอังคุตตรนิกาย เอกนิบาต ความว่า “ดูกรภิกษุทังหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอืนแม้อย่างหนึงทีเปลียนแปลงได้เร็วเหมือน จิต ดูกรภิกษุทังหลาย จิตเปลียนแปลงได้เร็วเท่าใดนัน แม้จะอุปมาก็กระทําได้มิใช่ง่าย” ตามทีกล่าวมาแล้วทังหมด แสดงถึงความเปลียแปลงคือ เกิดดับ ของจิตทีเปลียนแปลงได้อย่าง รวดเร็ว จิตจึงมีอนิจจลักษณะ ซึงเป็นความมหัศจรรย์ของจิต ก. ทุกขลักษณะ คือ จิตไม่สามารถดํารงอยู่ในสภาพเดิมได้ เพราะจิตเป็นธรรมชาติเกิด ดับ เปลียนแปลงอยู่ตลอดเวลา จิตดวงเก่าเกิดขึน ตังอยู่ ดับไป จิตดวงใหม่ก็เกิดขึน ตังอยู่ ดับ ไปสืบต่อเนืองตลอดเวลา ทําหน้าทีประสานสัมพันธ์กับจิตดวงเก่าให้เกิดประโยชน์ คือความรู้สึก สุขทุกข์ หรือไม่สุขไม่ทุกข์ภายในจิต จิตจึงมีทุกขลักษณะ ค. อนัตตลักษณะ คือ จิตไม่ใช่ตัวตน เพราะเหตุทีจิตต้องเปลียนแปลง เกิดดับ จับ อารมณ์ ปล่อยอารมณ์ตลอดเวลาตืน แม้เวลาหลับสนิท จิตก้เกิดดับอยู่ในภวังค์ ตลอดเวลาจิต จึงไม่สามารถดํารงอยู่ในสภาพเดิมได้ ต้องทําหน้าทีเกิดดับ ๆ สืบเนืองต่อกันไปเป็นกระแส จิตจึง ไม่มีตัวตนทีเทียงแท้ถาวร ไม่ใช่อัตตา ทีเราจะยึดถือจิตหรือแม้ร่างกายซึงรวมทังจิตด้วยว่า เป็น ตัวตนของเรา พระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงธรรมโปรดพระราหุล ในเรืองไตรลักษณ์ของสิงต่าง ๆ รวมทัง จิตด้วย ดังนี “ดูกรราหุล เธอจะสําคัญความข้อนันเป็นไฉน จักษุ...รูป...จักษุวิญญาณ..... จักษุสัมผัส.....เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทีเกิดเพราะจักษุสัมผัส เป็นปัจจัยนัน เทียงหรือไม่เทียง ..................................................................................................... องฺ. เอกก. ๒๐/๔๘-๕๑/๘
  • 12. ๑๒ พระราหุล ไม่เทียง พระพุทธเจ้าข้า พ. สิงใดไม่เทียง สิงนันเป้ นทุกข์หรือเป็นสุข ร. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า พ. ก็สิงใดไม่เทียง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะเห้นสิงนันว่า นันของเรา นันเรา นีอัตตาของเรา ร. ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า พ. ดูกรราหุล เธอจะสําคัญความข้อน้นเป็นไฉน โสต..... ฆานะ.....ชิวหา......กาย.....เทียงหรือไม่เทียง ร. ไม่เทียง พระพุทธเจ้าข้า ฯลฯ พ. ดูกรราหุล เธอจะสําคัญความข้อน้นเป็นไฉน มโน..... ธรรมารมณ์.....มโนวิญญาณ.....มโนสัมผัส.....เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทีเกิดเพรามโนสัมผัส เป็นปัจจัย แม้นัน เทียงหรือไม่เทียง ร. ไม่เทียง พระพุทธเจ้าข้า พ. ก็สิงใดไม่เทียง สิงนันเป้ นทุกข์หรือเป้ นสุข ร. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า พ. ก็สิงใดไม่เทียง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือทีจะ เห็นสิงนันว่า นันของเรา นันเรา นีอัตตาของเรา ร. ไม่ควร พระพุทธเจ้าเจ้าข้า.......... เมือสิงต่าง ๆ รวมทังจิตมีไตรลักษณะ คือไม่เทียง (อนิจจลักษณะ) เป็นทุกข์ (ทุกขลักษณะ) ไม่ใช่ตัวตน (อนัตตลักณณะ) ดังนี พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสอนพระราหุลไม่ให้ยึดถือคือ ไม่ให้มีความเห็นผิดในสิงต่าง ๆ รวมทังจิต ว่าเป็นของเรา เป็นเรา เป็นตัวตนของเรา เพราะ เมือไม่มีความเห็นผิดในสิงต่าง ๆ รวมทังจิต ก็เท่ากับไม่มีความทุกข์ในจิตใจ แต่ผู้ทีจะเห็นไตร ลักษณ์ของจิตได้ ต้องฝึกจิตด้วยการปฏิบัติสมาธิ จนกระทังจนเป็นสมาธิอย่างลึกซึง คือจิตมี ลักษณะบริสุทธิ ไม่มีราคะ โทสะ และโมหะ เข้าครอบงํา จิตอ่อนในการงานอันเป็นกุศล จิตควร แก่การงานอันเป็นกุศล จิตตังมันในอารมณ์ จิตไม่หวันไหวต่ออารมณ์คือ โลกธรรม ๘ คือ ลาภ ยศ สรรเสรญ สุข เสือมลาภ เสือมยศ นินทา ทุกข์ ทีจิตรับรู้ เมือจิตเป็นสมาธิ จิตก็จะเกิด ปัญญา คือวิปัสสนาญาณ ปัญญารู้ความเกิดดับ คือความไม่เทียง ต้องเปลียนแปลง ตลอดเวลาจิต ดังปรากฏหลักฐานแสดงถึงจิตทีเป็นสมาธิ เห็นความเกิดดับของรูปและนาม ใน สามัญญผลสูตร ความว่า .................................................................. ม. อุ. จูฬราหุโลวาทสูตร. ๑๔/๗๙๗-๘๐๖/๓๘๔
  • 13. ๑๓ “ภิกษุนันเมือจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส ย่อมควรแก่การงาน ตังมัน ไม่หวันไหวอย่างนี ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพือ ญาณทัสสนะ เธอย่อมรู้ชัดอย่างนีว่า กายของเรานีแล มีรูปประกอบด้วยมหาภูต ๔ เกิดแต่มารดาบิดา เติบโตขึนด้วยข้าวสุกและขนมสด ไม่เทียง ต้องอบ ต้องนวดพืน มีอันทําลายและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา และวิญญาณ ของเรานี ก็อาศัยอยู่ในกายนี เนืองอยู่ในกายนี” พระสูตรนีแสดงว่า รูปคือร่างกายทีประกอบด้วยธาตุดิน นํา ไฟ ลม มีบิดามารดาเป็นผู้ให้ กําเนิด เติบโตด้วยอาหารต่าง ๆ ร่างกายไม่เทียง คือ เปลียนแปลงตลอดเวลา แต่ในช่วงเวลา สัน ๆ ถ้าไม่คิดพิจารณาให้ถีถ้วนก็มองไม่เห็น การเปลียนแปลงของร่างกายส่วนภายนอก ต่อเมือเวลาผ่านไปนานจึงจะมองเห็นชัด การเปลียนแปลงต่าง ๆ นี จัดเป็นอนิจจลักษณะของ ร่างกาย ในภาวะทีร่างกายแสดงถึงทุกขลักษณะนัน เช่น ขณะนีนังพับเพียบอยู่บนพืนชัวครู่เดียว ขาปวดเมือยก็ต้องบีบต้องนวด จึงคลายความปวดเมือยหรือจําเป็นต้องเปลียนอิริยาบถเพือแก้ ทุกข์กาย (ทุกขเวทนา) การทีเปลียนอิริยาบถ เช่น เปลียนท่านังจากนังพับเพียบเป็นนังเหยียดขา คือร่างกายทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ (อนัตตลักษณะ) เพราะถ้าร่างกายเป็นตัวตนทีแท้จริง เราก็ ต้องสังร่างกายมิให้เจ็บ มิให้แก่ มิให้ตาย ให้เป้ นไปตามทีจิตเราปรารถนา จิตมีร่างกายเป็นที อาศัย ดังข้อความในพระสูตรนีกล่าว วิญญาณ (จิต) ของเราก็อาศัยอยู่ในร่างกายนี ดังนันเมือ ร่างกายมีไตรลักษณ์ จิตทีอาศัยร่างกายทีเป็นไตรลักษณ์ด้วย ดังทีพระผู้มีพระภาคได้ตรัสแสดง ธรรมโปรดพระราหุล ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ด้งนัน ผู้ทีปฏิบัติสมาธิ คือฝึกจิ ตจนจิตเป็นสมาธิอย่างลึกซึง ด้วยการฝึกจิตให้มีสติตลอดเวลา คือ ให้มีศีล สมาธิ ปัญญา (อริยมรรค ๘) อยู่ในจิต จึงมีจิตทีมีความสามารถเห็นความเกิดดับของนามรูป ซึงรู้ได้เฉพาะ ตน (ปัจจัตตัง) เหมือนบุคคลทีรับประทานทุเรียน จึงรู้รสทุเรียน ฉะนัน ................................................................................. ที. สี. สมมัญญผล. ๙/๑๓๑/๗๒
  • 14. ๑๔ บทสรุป คําสอนส่วนใหญ่ในทางพระพุทธศาสนาเน้นเรืองจิต และการแก้ปัญหาทีเนืองด้วยจิตเป็น สําคัญ ผู้เขียนได้เลือกพระคาถาในธรรมบท แห่งจิตวรรคที ๓ ขุททกนิกาย มา ๕ เรือง เพือ ศึกษาวิเคราะห์ถึงลักษณะของจิตทีปรากฏในพระถาถานัน ๆ ว่ามีลักษณะอย่างไร และมีพระสูตร ทีกล่าวถึงจิตลักษณะเช่นเดียวกันนีด้วย และได้อธิบายเพือความเข้าใจ ตังแต่ความหมายของจิต ชือของจิตทีมีเรียกต่าง ๆ กัน เป็นต้น การทีจิตมีชือเรียกต่างกัน เพราะการเรียกต่างกันนัน เรียกตามธรรมชาติในแง่มุมของการทําหน้าทีในขันตอนต่าง ๆ กล่าวคือ เรียกว่า จิต เมือจิตเป็น ธรรมชาติคิด หมายถึงรู้ คือ เห็น ได้ยิน ได้กลิน ลิมรส รู้สัมผัส นึกคิด คือรู้อารมณ์ ๖ ทาง ทวารทัง ๖ เรียกว่า มโน เมือจิตเป็นธรรมชาติน้อมไปรับอารมณ์ ๖ ทางทวารทัง ๖ เรียกว่า ปัณฑระ เมือจิตเป็นธรรมชาติผ่องใส ปราศจากกิเลส เรียกว่า มนายตนะ เมือจิตเป็นอายตนะ เครืองต่อภายนอกคืออารมณ์ เรียกว่า มนินทรีย์ เมือจิตครองความเป็นใหญ่ในการรับรู้ ธรรมารมณ์ เรียกว่า วิญญาณ เมือจิตรู้แจ้งอารมณ์ ๖ ทางทวารทัง ๖ จิตในชือต่าง ๆ จะทํา หน้าทีของตนตังแต่แรกเกิดจนเกิดความรู้สึก สุข ทุกข์ หรือไม่ทุกข์ไม่สุขภายในจิตใจ แล้วแสดง ออกมาด้วยการกระทําทางกาย ทางวาจา ทางใจ จิตไม่ว่าจะมีชืออะไรก็เป็นธรรมชาติเกิดดับ ๆ ตลอดเวลา จิตจึงมีลักษณะไตรลักษณ์ คือ ไม่เทียง เกิดดับเปลียนแปลงตลอดเวลา เป็นทุกข์คือทน อยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ การทีจิตมีลักษณะไม่เทียง เป็นทุกข์ ทําให้จิตไม่ใช่ตัวตนทีเทียงแท้ถาวรที จะยึดถือว่าเป็นเราเป้ นของเรา เมือจิตขึนสู่วิถีจิตจะเกิดดับจับอารมณ์ปล่อยอารมณ์ จิตจึงมี ลักษณะไม่อยู่นิงท่องเทียวไปในอารมณ์ต่าง ๆ และมีลักษณะการทํางานในแต่ละขณะทีสมมติ เรียกว่า “ดวง” คือจิตดวงเก่าเมือเกิดขึนทําหน้าทีของตนแล้วดับไป มอบหน้าทีการงานให้จิตดวง ต่อไปทําหน้าทีของตนแล้วดับไป ในลักษณะสืบต่อเนืองประสานสัมพันธ์กันเป็นลูกโซ่ตลอดเวลา ฉะนัน การรู้และเข้าใจเรืองจิตตังแต่ความหมาย ชือ ลักษณะ รวมถึงหน้าทีและ รายละเอียดต่าง ๆ ย่อมมีประโยชน์ต่อชีวิตมากทีเดียว