SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 1
บทที่ 4
เกณฑ์ตัดสินทางจริยศาสตร์
1. เกณฑ์ตัดสินจริยศาสตร์
เกณฑ์ตัดสินจริยธรรม คือมาตรการที่จะบอกแก่เราว่า สิ่งใดควรทาสิ่งใดไม่ควรทา สิ่งใด
ถูก สิ่งใดผิดโดยทั่วไปแล้วเมื่อมีการตัดสินการกระทาเรามักจะใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเกณฑ์ตัดสิน
จริยธรรม คือ ศาสนา กฎหมาย ค่านิยมในสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งกฎเกณฑ์ต่างๆ
ขอสถาบัน แต่นักจริยศาสตร์มีความเห็นว่าสิ่งต่างๆตามที่กล่าวมานี้ ไม่อาจนามาตัดสินการกระทา
ได้ดีพอและบางครั้งก็อาจจะทาให้เกิดข้อขัดแย้ง
ตัวอย่างเช่น การเล่นการพนันถือว่าเป็นสิ่งที่ผิด ไม่สมควรทาตาม นี้เป็นทัศนะทาง
ศาสนา แต่ในทางตรงกันข้าม การพนันนั้นจดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมายได้รับอนุญาตให้
เล่นได้ ผู้ที่เล่นการพนันนั้นก็ไม่ถือว่ากระทาผิดอย่างนี้แล้ว การเล่นการพนันอาจะทั้งถูกและผิดก็
ได้ นอกจากนั้นตามสภาพความเป็นจริงในสังคม ปัญหาบางเรื่องมีความซับซ้อนและมีองค์ประกอบ
หลายประการที่ต้องคานึงถึงและยากแก่การตัดสินใจ ตัวอย่างเช่น โดยหลักทั่วไปคนเรามีสิทธิ
เสรีภาพที่จะคิดตัดสินใจเลือกการกระทาด้วยตัวของตัวเอง ไม่มีใครมีสิทธิ์มาตัดสินใจแทนผู้อื่น
เลือกการกระทาแทนผู้อื่น แต่ในกระบวนการรักษาพยาบาล บางครั้งมีเหตุปัจจัยที่จะให้แพทย์
พยาบาลจาเป็นตัดสินใจแทนผู้ป่วย เลือกสิ่งที่ดีให้แก่ผู้ป่วย รวมทั้งอาจเป็นผู้กาหนดการกระทา
หรือการปฏิบัติตนของผู้ป่วย ในกรณีนี้เราไม่อาจตัดสินว่า การกระทาของบุคลากรมีทีมางาน
สุขภาพไม่ถูกหรือไม่ควรทา แต่ขณะเดียวกันก็ต้องมีเกณฑ์ตัดสินอีกเช่นกันว่าที่กระทาเช่นนั้นเพราะ
อะไร(ศิวลี ศิริไล.2542:71-72)
ปัญหาเกี่ยวกับเกณฑ์การตัดสินทางจริยศาสตร์ มาตรการในการทาความดีความชั่วของ
มนุษย์ มีกลุ่มแนวคิดในเสนอมาตรการไว้ 5 กลุ่ม ได้แก่
1.1 ปฏิบัตินิยม(Pragmatism) ปฏิบัตินิยมเชื่อว่าความรู้เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับชีวิต
ความคิดเป็นเครื่องมือของการกระทา ความคิดที่เอาไปใช้ไม่ได้ก็เป็นสิ่งไร้ความหมายการรู้ การจา
และจิตนาการก็คือ การปรับตัวให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมของสิ่งที่มีชีวิตนั้นเองความคิดมิใช่เป็น
เพียงสิ่งที่มีในจิต หรือเป็นเพียงการถ่ายแบบความจริงเท่านั้น แต่เป็นสิ่งที่มีพัฒนาการไปตาม
พัฒนาการของชีวิต และเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับความเกี่ยวข้องกันของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อม สติปัญญา
หรือความรู้เป็นสิ่งที่ช่วยให้มนุษย์บรรลุเป้าหมายของชีวิต ปฏิบัตินิยมเห็นว่าในขณะที่เรายังไม่รู้
โครงสร้างของมนัส (ความคิด) จึงควรยึดประสิทธิภาพในการปฏิบัติไปก่อน นักปรัชญาปฏิบัตินิยมที่
สาคัญมี 3 ท่าน และทั้ง 3 ท่าน เป็นชาวอเมริกัน ซึ่งได้แก่
1. ชาเลส แซนเดอร์ เพิร์ส (Charles Sanders Peirce) เป็นนักปรัชญาปฏิบัตินิยมที่
เชื่อว่าประสิทธิภาพเป็นตัวกาหนดความจริง เพิร์สได้กาหนดวิธีรู้ก่อนแล้วจึงจะรู้ว่าอะไรจริง ซึ่งก็
คือวิธีวิทยาศาสตร์นั้นเอง นอกจากนี้เพิร์สได้เสนอทฤษฎีความหาย (theory of sign) และถือว่า
ทฤษฎีนี้เป็นทฤษฎีตรรกวิทยา (logic theory) ทฤษฎีนี้ถือว่าพฤติกรรมเป็นเพียงส่วนเสริมของ
ความหมาย คุณสมบัติต่าง ๆ อันเป็นวัตถุเป็นแก่นของความหมาย และเห็นว่าควรมีภาษาที่เป็น
มาตรฐานสาหรับมนุษย์ทุกคน
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 2
2. วิลเลียม เจมส์ (William James) เป็นนักปฎิบัตินิยมที่แท้จริงเจมส์ ถือว่ามนุษย์
ควรยึดความคิดของตนเองในแง่ที่เห็นว่าจะมีประสิทธิภาพในทางปฏิบัติมากที่สุด เขาจึงเป็นนัก
ปฏิบัตินิยมที่แท้จริงในแง่นี้
3. จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) เป็นนักปฏิบัตินิยมแบบอุปกรณ์นิยม
(Instrumentalist) เพราะสอนว่ามนัส (ความคิด) ของมนุษย์ฉลาดขึ้นโดยการปฏิบัติ จึงสรุปเป็นวิธี
สอนว่าเรียนโดยการปฏิบัติ (learning by doing) ดิวอี้ถือว่าความจริงอยู่ที่ประสิทธิภาพของการให้
ปัญหาเป็นเครื่องมือเพื่อประโยชน์ในการดารงชีพดังนั้นต้องฝึก
นักปรัชญาปฏิบัตินิยมทั้งสามท่านก่อนมีทัศนะแตกต่างกันบ้าง แต่หลักการใหญ่ ๆ นั้น
ไม่แตกต่างกัน กล่าวคือ ปฏิบัตินิยมมีทัศนะว่าโลกและสิ่งต่าง ๆ ในโลกเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง ความรู้
ได้มาจากประสบการณ์ ไม่ใช่สิ่งที่ไหลเข้ามาในทางจิตหรือเป็นสิ่งที่ธรรมชาติให้แก่จิต แต่จิตของเรา
เป็นตัวดาเนินการในการรับรู้ การเข้าใจ และการเชื่อ ฯลฯ เป็นต้น
กลุ่มปฏิบัตินิยมถือว่า การตัดสินคุณค่าทางศีลธรรมว่า ดี ชั่ว ถูก ผิด ขึ้นอยู่กับ
ประสิทธิภาพของการกระทาคือ การใช้ประโยชน์ได้จริง คุณค่าทางศีลธรรมตามทัศนะนี้ตั้งอยู่บน
ฐานของการทดสอบ ข้อสมมติฐานหรือหลักการทางศีลธรรมต้องผ่านการทดสอบ หรือทดลอง
ปฏิบัติให้ได้ผลเสียก่อน จึงยอมรับว่ามีคุณค่า กลุ่มปฏิบัติยมจึงถือว่า “คุณค่าไม่ได้รับการ
ทดสอบไม่ควรได้รับการประทับตราว่า คุณค่า แต่เป็นเพียงสานวนเสนาะหู หรือคติเตือนใจใน
ศาสนาสาหรับชีวิตประจาวันในระดับต่าเท่านั้น” กลุ่มปฏิบัตินิยมถือว่าสิ่งที่ดีคือสิ่งดีสาหรับ
ส่วนรวม และสิ่งที่ถูกต้องก็คือ ถูกตามการยอมรับของสังคม ความจริงจึงต้องเป็นความจริง
ส่วนรวม ความดีจึงต้องเป็นความดีส่วนรวม ดังนั้นความดีกับความจริงจึงเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กัน
และเป็นสิ่งที่ยึดหยุ่นได้ คือเปลี่ยนแปลงได้ตามความเปลี่ยนแปลงทางสังคม หลักแห่งศีลธรรมที่
อานวยประโยชน์แต่เปลี่ยนแปลงได้ตามความเปลี่ยนแปลงทางสังคม หลักแห่งศีลธรรมที่จะอานวย
ประโยชน์แก่สังคม หรือใช้ได้ในสังคมก็ต้องยืดหยุ่นได้ คือปรับตัวเข้ากับสภาพสังคมในยุคนั้น ๆได้
ตามทัศนะของกลุ่มนี้ เกณฑ์ตัดสินทางศีลธรรมคือ การทดสอบว่า ใช้ได้จริง ใช้
ประโยชน์ได้จริงตามที่วางไว้ และประโยชน์นั้นเป็นประโยชน์ของส่วนรวม สอดคล้องกับการยอมรับ
ของสังคมในสมัยนั้น ๆ
1.2 บริสุทธินิยม (Rigorism) กลุ่มนี้ถือว่า เจตนาดี (Good Will) เป็นเครื่องตัดสิน
การกระทาว่าดี หรืถูกต้อง คุณค่าทางศีลธรรมเป็นสิ่งที่ตายตัว สิ่งดีย่อมดีอย่างเสมอต้นเสมอ
ปลาย ไม่ว่าใคร ๆจะเมื่อไร ที่ไหนก็ตาม ค้านท์นักปรัชญาชาวเยอรมันเป็นผู้ตั้งทฤษฎีนี้ขึ้นโดย
กล่าวว่า การกระทาที่ดี คือการกระทาด้วยเจตนาดี และเจตนาดีในความหมายนี้คือ การทาตาม
หน้าที่ ดังนั้น การกระทาที่ดีคือการกระทาตามหน้าที่ การกระทา(ด้วยเจตนาดี) คือการกระทาตาม
หน้าที่นั้น หมายถึง การกระทาตามหน้าที่ทุกชนิด โดยไม่เห็นแก่ตนเองและผู้อื่น และไม่มีอารมณ์
ความรู้สึกใดๆ มามีอิทธิพลร่วม เป็นการกระทาที่ไม่ได้หวังผลประโยชน์สุขแก่ผู้ใด แต่เป็นการ
กระทาตามหน้าที่ โดยไม่คานึงถึงผลว่าจะเกิดขึ้นอย่างไร เช่น เพชฌฆาต มีหน้าที่ยิงคนให้ตาย เขา
ต้องยิงทุกคนที่ส่งมาให้เขายิงให้ตาย การกระทาของเพชฌฆาต ถือว่า เป็นการทาตามหน้าที่ด้วย
เจตนาดี เกณฑ์ตัดสินทางศีลธรรมตามทฤษฎีบริสุทธินิยม (Rigorism) นี้ จึงยึดถือเจตนาดี (Good
Will) เป็นหลักสาคัญ การกระทาด้วยเจตนาดีก็คือ การกระทาหน้าที่เพื่อหน้าที่ (duty for duty's
sake) มิใช่ทาหน้าที่เพื่อความดี ความสุข หรือเพื่อผลอื่นใด
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 3
ลัทธิของคานท์ (Kantialism,Immanuel Kant : 1724-2804) อิมมานูเอล ค้านท์ เป็น
นักปรัชญาชาวเยอรมันมีความเห็นว่า ดี ชั่ว เป็นทีเรื่องทีมีอยู่จริง เป็นสิ่งที่แน่นอนตายตัว และ
เชื่อว่า มีเกณ์ฑ์ตัดสินจริยธรรมที่แน่นอนตายตัวเช่นเดียวกัน ตัวอย่างเช่น เราถือว่า การพูดความ
จริงเป็นสิ่งที่ดี ดังนั้นการพูดความจริงจึงเป็นความดีตลอดเวลาไม่ว่าใครจะพูด พูดเวลาใด พูดกับ
ใคร พูดแล้วจะออกมาเป็นอย่างไร ส่วนการพูดเท็จนั้น เป็นสิ่งไม่ดี ดังนั้น ใครพูดเท็จ พูดกับใคร
พูดแล้วผลจะออกมาเป็นอย่างไร พูดเพื่ออะไร ก็เป็นสิ่งที่ไม่ดีทั้งสิ้น ดังนั้นหลักจริยศาสตร์ของ
คานท์จึงตรงกันข้ามกับลัทธิประโยชน์นิยมอย่างสิ้นเชิง
1.3 บริสุทธินิยม (Rigorism) กลุ่มนี้ถือว่า เจตนาดี (Good Will) เป็นเครื่องตัดสิน
การ กระทาว่าดี หรือถูกต้อง คุณค่าทางศีลธรรมเป็นสิ่งที่ตายตัว สิ่งดีย่อมดีอย่างเสมอต้นเสมอ
ปลาย ไม่ว่าใครๆ จะทาอะไร ที่ไหนก็ตาม คานท์ (Immanuel Kant) นักปรัชญาชาวเยอรมันเป็น
ผู้ตั้งทฤษฎีนี้ขึ้นโดยกล่าวว่า การกระทาที่ดี คือการกระทาด้วยเจตนาดี และเจตนาดีในความหมาย
นี้คือ การทาตามหน้าที่ ดังนั้น การกระทาที่ดีคือการกระทาตามหน้าที่ การกระทา (ด้วยเจตนาดี)
คือการกระทาตามหน้าที่นั้น หมายถึง การกระทาตามหน้าที่ทุกชนิด โดยไม่เห็นแก่ตนเองและผู้อื่น
และไม่มีอารมณ์ความรู้สึกใดๆ มามีอิทธิพลร่วม เป็นการกระทาที่ไม่ได้หวังผลประโยชน์สุขแก่
ผู้ใด แต่เป็นการกระทาตามหน้าที่ โดยไม่คานึงถึงผลว่าจะเกิดขึ้นอย่างไร เช่น เพชฌฆาต มีหน้าที่
ยิงคนให้ตาย เขาต้องยิงทุกคนที่ส่งมาให้เขายิงให้ตาย การกระทาของเพชฌฆาต ถือว่า เป็นการทา
ตามหน้าที่ด้วยเจตนาดี
การกระทาที่ดี คือ การกระทาที่ทาด้วยเจตนาดี การกระทาที่ทาด้วยเจตนาดีคือการ
กระทาที่เกิดจากการสานึกในหน้าที่ การกระทาที่เกิดจากหน้าที่เป็นการกระทาที่เกิดจากเหตุผล
การกระทาที่ตั้งอยู่บนเหตุผลคือการกระทาที่เกิดจากกฎศีลธรรม กฎศีลธรรมในทรรศนะของคานท์
นั้นมีลักษณะเป็นคาสั่งเด็ดขาด (Cotegorical imperative) คือเป็นกฎที่ไม่มีข้อแม้ใดๆ จะต้องไม่
คานึงถึงเป้าหมายใด ๆ และจะต้องเป็นกฎสากล คือใช้ได้กับคนทุกคน ไม่เฉพาะกับคนใดคนหนึ่ง
หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ดังนั้น หลักพิจารณากฎศีลธรรมตามทรรศนะของคานท์จึงมี 2 อย่าง คือ
1. จงทาตามหลักซึ่งท่านจงใจได้ที่จะให้เป็นสากล (เป็นกฎสาหรับทุกคน) 2. จงปฏิบัติต่อเพื่อน
มนุษย์ โดยถือว่า เขาเป็นจุดหมายในตัวเอง อย่าถือว่าเขาเป็นเพียงเครื่องมือ ไม่ว่าจะเป็นตัวท่าน
เองหรือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
1.4 สัมบูรณนิยม(Absolutism) กลุ่มนี่ถือว่า มโนธรรมเป็นมาตรฐานตายตัวในการ
ตัดสินทางศีลธรรม และมโนธรรมนี้เป็นอินทรีย์พิเศษหรือความสามารถพิเศษ ตัวมโนธรรมคือ
อินทรีย์ภายใน หรืออินทรีย์ทางวิญญาณ ที่ทาให้มนุษย์รู้คุณภาพหรือลักษณะที่เป็นนามธรรมต่าง ๆ
เช่น ดี ชั่ว ถูก ผิด ได้ซึ่งได้แก่ ปัญญา หรือบางที่เรียกว่า สานึกดี ชั่ว นั่นเอง และความสานึก
ดีชั่ว เรารู้ได้ด้วยมโนธรรม อันเป็นสามัญสานึกของมนุษย์ทุกคนมีโดยธรรมชาติในฐานะที่เป็นมนุษย์
สัมบูรณนิยม (Absolutism) หมายถึง แนวคิดที่ถือว่ามีเกณฑ์ตัดสินทางศีลธรรมที่ตายตัว มีความ
สมบูรณ์อันเป็นกฏสากล เหมือน 2 + 2 = 4 ไม่ว่าจะเป็นคนชาติไหน บวกที่ไหน ก็ต้องได้ 4
ทั้งนั้น หรือเหมือนเกลือไม่ว่าใครชิมก็ต้องว่าเค็ม ไฟใครเอามือไปสัมผัสก็ต้องว่าร้อน คาว่า
สัมบูรณ์ จึงมีความหมายว่า สิ่งที่เป็นอยู่โดยตัวของมันโดยไม่ต้องขึ้นกับใคร ไม่แปรไปตามเวลา
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 4
หรือสถานที่ โดยทั่วไปจะเน้นเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินคือมโนธรรม จึงใช้ชื่อเรียกเต็ม ๆ ว่า ลัทธิมโนธรรม
สัมบูรณ์ ก่อนที่จะได้รู้จักความหมายของมโนธรรม ควรทาความเข้าใจเรื่องวัตถุวิสัยและอัตวิสัย
เสียก่อน ไพรซ์ กล่าวว่า ผิด ถูก หรือ ดี ชั่ว เป็นลักษณะที่บอกว่า การกระทาอันใดอันหนึ่งนั่น
คืออะไร ที่เป็นเช่นนี้มันไม่ใช่เพราะเจตนา คาสั่ง อานาจ แต่ถูกผิด ชั่ว เป็นลักษณะจริง ๆ ของ
การกระทา และลักษณะดังกล่าวนี้ต้องมีลักษณะตายตัวของการกระทาด้วย เมื่อมองตามแนวนี้จะ
เห็นว่า คุณค่าทางศีลธรรมเป็นสิ่งแน่นอนตายตัว (เหมือนคณิตศาสตร์) ใครจะคิด จะรู้สึก หรือจะรู้
ไม่รู้ ก็ตาม คุณค่าทางศีลธรรมก็เป็นความจริงตายตัวอยู่ตลอดเวลาไป มโนธรรมเป็นสิ่งที่มีอยู่ใน
ตัวมนุษย์ทุกคน ในฐานะที่เป็นมนุษย์ มโนธรรมสามารถรู้ดีรู้ชั่ว ถูก ผิด ได้นั้น เป็นการรู้โดยตรงไม่
มีใครชี้แนะ หรือได้รับคาอธิบายจากใคร ๆ มโนธรรมเป็นสิ่งสากล คือมนุษย์ทุกคนมีเหมือนกันและ
เท่าเทียมกันมาแต่กาเนิด แต่มนุษย์มีความรับรู้ ดี ชั่ว ถูก ผิด ต่างกัน เพราะมโนธรรมในตัว
มนุษย์ แต่ละคนได้รับการพัฒนาไม่เหมือนกันเหมือนตาของผู้ใหญ่กับตาของเด็กเล็กสามารถ
มองเห็นหลายสิ่งหลายอย่างแตกต่างกัน คือตาของผู้ใหญ่สามารถมองเห็นอะไร ๆ ได้มากกว่าตา
ของเด็กเล็ก เพราะตาของผู้ใหญ่มีการพัฒนามากกว่า สมบูรณ์นิยมเชื่อว่า ถ้าคนอยู่ในสภาพปกติ
ย่อมมีมโนธรรมเหมือนกัน มีความรู้สึกว่าอะไร ถูก ผิด ดี ชั่ว ตรงกัน เว้นเสียแต่ว่ามีสาเหตุ
บางอย่าง เช่น ความโลภ ความโกรธ และความหลง เป็นต้นเข้ามาปิดบังมโนธรรมเท่านั้น จึงจะ
ทาให้คนเรามีความรู้สึกดี ชั่ว ถูก ผิด ต่างกัน
เกณฑ์ตัดสินแบบสมบูรณ์นิยมนี้ ถือว่า การกระทาทุกอย่างมีลักษณะบ่งบอกว่าดี ชั่ว
ถูก ผิด อยู่ในตัวมันเอง มนุษย์สามารถรับรู้ภาวะเหล่านั้นได้โดยมโนธรรม ซึ่งเป็นอินทรีย์พิเศษที่มี
อยู่เหมือนกันในมนุษย์ทุกคน
ในภาวะปกติ มนุษย์ทุกคนย่อมจะมีมโนธรรมรู้ว่าอะไร ถูก ผิด ดี ชั่ว เหมือนกันและ
เช่นเดียวกัน เว้นเสียแต่ว่าจะมีอารมณ์หรือปัจจัยอื่นมาปิดบัง อาจทาให้มนุษย์มองเห็นสิ่งดี ชั่ว
ถูก ผิด ต่างกันได้
มโนธรรมคืออะไร ? มโนธรรม แปลตามตัวว่า ใจที่เต็มเปี่ยมด้วยธรรมะ หมายถึงว่า
การที่จะเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้นั้น จะต้องเป็นผู้ที่มีจิตใจสูง สามารถที่จะรู้ถูก ผิด ดี ชั่ว รู้ว่า
อะไร ควรทา ไม่ควรทา เป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนมีในฐานะที่เป็นสัตว์โลกชั้นสูง เราอาจจะนิยาม
มโนธรรมได้ดังนี้ มโนธรรมคือเสียงกระซิบจากก้นบึ้งหัวใจ ที่จะบอกให้เราทราบว่า อะไรถูก
อะไรผิด อะไรควรทา และไม่ควรทา
ตัวอย่างเช่น เมื่อเราเห็นเด็กทารกคลานไปจะตกบ่อน้า คงไม่มีมนุษย์ปรกติคนไหนที่จะ
มองแล้วนึกลุ้นอยู่ในใจให้เด็กรีบคลานไว ๆ เพื่อจะได้ตกลงไปในบ่อน้า แต่ในฐานะแห่งความเป็น
มนุษย์ มโนธรรมในใจ จะกระตุ้นเตือนให้เรารีบวิ่งไปช่วยอุ้มเด็กทารกคนนั้นให้รอดพ้นจาก
อันตรายอย่างแน่นอน โดยที่ไม่ต้องมีใครบังคับหรืออ้อนวอนเรา หรือในอีกตัวอย่าง กรณีที่ผู้หญิง
คนหนึ่งถูกคนร้ายข่มขืนจนตั้งท้อง มีคาแนะนาจากพ่อแม่และญาติพี่น้องให้เธอทาแท้ง แม้เธอจะ
โกรธแค้นกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมากมาย แต่ด้วยมโนธรรมในใจทาให้เธอไม่ไปทาแท้ง แต่
กลับถนอมบุตรในครรภ์จนกระทั่งคลอด และทาหน้าที่แม่อย่างดี สิ่งเหล่านี้เป็นตัวอย่างแทน
คาตอบได้เป็นอย่างดีถึงคาว่า มโนธรรมในใจมนุษย์
มโนธรรมคือใจพิเศษ ร่างกายมนุษย์มีอวัยวะสาหรับรับรู้ มีตาเอาไว้ดู มีหูเอาไว้ฟัง มี
จมูกเอาไว้ดมกลิ่น มีลิ้นเอาไว้ ชิมรส มีกายเอาไว้สัมผัสเย็น ร้อน อ่อน แข็ง การจะพิสูจน์ว่า
กลิ่นหอมหรือไม่ เป็นหน้าที่ของจมูก ไม่ใช่ของลิ้น ในขณะที่จะพิสูจน์ว่า เปรี้ยว หวาน มัน
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 5
เค็ม ก็เป็นหน้าที่ของลิ้นไม่ใช่ของจมูก เรียกว่า เรามีอวัยวะทางกายซึ่งเป็นวัตถุสาหรับเป็นเครื่อง
พิสูจน์ตัดสินคุณสมบัติด้านกายภาพ แต่สาหรับการพิสูจน์ดีหรือชั่วนั้น เป็นคุณสมบัติทางจริยธรรม
ไม่สามารถใช้อวัยวะทางกายเป็นเครื่องพิสูจน์ได้ แต่เรามีอินทรีย์พิเศษในตัวมนุษย์ซึ่งเราสามารถ
ใช้พิสูจน์ความดี ความชั่วได้ เราเรียกสิ่งนั้นว่า ใจ ซึ่งกลุ่มมโนธรรมสัมบูรณ์เรียกว่า ปัญญา
(intellect, understanding) บ้าง มโนธรรม (conscience) บ้าง หรืออินทรีย์ทางศีลธรรม (moral
faculty) บัทเลอร์ได้ให้ความเห็นในเรื่องนี้สรุปว่า มนุษย์เรามีมโนธรรมเอาไว้เป็นหลักในการตัดสิน
การกระทา มันจะบอกให้เราทราบเป็นกฎตายตัวว่า การกระทาของเรานั้น ยุติธรรมหรืออ
ยุติธรรม ดีหรือชั่ว ถูกหรือผิด โดยที่เราไม่ต้องไปขอคาแนะนาหรือคาปรึกษาจากใครเลย เจ้าตัว
มโนธรรมนี้จะแสดงอานาจออกมาอย่างเต็มที่ สาหรับการเห็นชอบหรือการตาหนิการกระทา
แล้วแต่กรณี มโนธรรมสามารถเข้าใจ ดี ชั่ว ได้โดยตรง เช่น ในกรณีตัวอย่างที่ยกมาแล้ว
คนที่วิ่งไปช่วยเด็กทารกที่กาลังคลานจวนจะตกบ่อน้าโดยที่ไม่ต้องมีใครสั่งบังคับหรือขอร้อง หรือ
หญิงที่ถูกข่มขืนจนตั้งท้อง แม้พ่อแม่ญาติพี่น้องจะขอร้องแกมบังคับให้เธอทาแท้งแต่เธอก็ไม่
ยินยอม นั้นเป็นเพราะมโนธรรมบอกแก่พวกเขาว่า ความเมตตากรุณาเป็นสิ่งที่ดีสาหรับมนุษย์
มโนธรรมนี้ถือว่าเป็นคุณสมบัติพิเศษที่มีอยู่ในตัวมนุษย์
มโนธรรมมีลักษณะเป็นสากล มโนธรรมเป็นสิ่งที่มีติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด ถามว่าแล้ว
มนุษย์ได้มโนธรรมมาจากไหน? สาหรับนักปรัชญาที่เชื่อพระเจ้าก็ตอบว่า พระเจ้าเป็นผู้ประทาน
ให้พร้อมกับอินทรีย์ทั้งห้า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย บางพวกก็ถือว่า พระเจ้าประทานปัญญาให้แก่
มนุษย์ ทาให้มนุษย์สามารถสัมผัส ความจริง ความดี และความงามที่ถูกต้อง สาหรับพวกที่ไม่เชื่อ
ในพระเจ้าก็ถือว่า มโนธรรมเป็นคุณสมบัติพิเศษที่ทาให้มนุษย์สามารถพัฒนาตนเองจนเป็นมนุษย์
ที่สมบูรณ์ได้ และเมื่อมนุษย์ได้กลายเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ก็จะพบความจริงที่เป็นสากลได้
เหมือนกัน จนทาให้เห็นเหมือนกันว่า การฆ่า การลักขโมย การประพฤติผิดในกาม การพูดเท็จ
เป็นสิ่งไม่ดี
แต่การที่มนุษย์ปุถุชนนั้น เห็นความเป็นจริงที่แตกต่างกัน ก็เกิดมาจากการพัฒนามโน
ธรรมที่แตกต่างไม่เท่ากัน และเกิดจากอารมณ์ ได้แก่ โลภ โกรธ หลง มาปิดบังใจ ทาให้เห็นดีเป็น
ชั่ว เห็นถูกเป็นผิด มโนธรรมจะมีลักษณะแฝง ซึ่งจะต้องพัฒนาจึงจะเจริญเติบโตได้เต็มที่ ตัวอย่าง
ที่เห็นได้ชัดที่พอจะเปรียบเทียบให้เห็นก็คือ เด็กที่หัดเดินตั้งไข่ แม้จะมีขาทั้งสองเหมือนผู้ใหญ่ แต่ก็
ยังเดินได้ไม่คล่อง แต่ในที่สุดก็จะเดินคล่องเหมือนผู้ใหญ่ มโนธรรมก็มีลักษณะเดียวกัน ต้องอาศัย
การฝึกฝนพัฒนา เพราะฉะนั้น การที่คนต่างเผ่ามีความเห็นแตกต่างกัน ก็ไม่ใช่เพราะไม่มีความ
จริงที่ถูกต้อง แต่เป็นเพราะมโนธรรมของแต่ละเผ่าแตกต่างกัน ระดับความเจริญทางสติปัญญาไม่
เท่ากัน
1.5 ประโยชน์นิยม (Utilitarianism) แนวคิดกลุ่มนี้ต้องการปฏิเสธระบบความคิดที่
ตายตัว ไม่สนใจแรงจูงใจอันเนื่องมาจากไม่สามารถมองเห็นได้ ดูแต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการ
กระทาอย่างเดียว จึงเรียกแนวคิดนี้ว่า ทฤษฎีแนว อันตนิยม (Teleological Theory) เป็น
แนวคิดที่อยู่ตรงกลางระหว่างแนวคิดที่เป็นอัตนิยมและอัญนิยม โดยถือว่าทุกคนเท่าเทียมกันหมด
แนวคิดนี้เกิดขึ้นในปลายคริสตศตวรรษที่ 18 ถึงต้น คริสตวรรษที่ 19 โดยนักปรัชญาชาว
อังกฤษ 2 คนคือ เจอเรมี่ เบนธัม ผู้เป็นอาจารย์ และจอห์น สจ๊วต มิลล์ ผู้เป็นลูกศิษย์
มิลล์ได้เขียนแนวคิดของเขาลงในงานเขียนอันมีชื่อว่า ลัทธิประโยชน์นิยม
(Utilitarianism) ในปี ค.ศ.1861 ซึ่งแนวคิดของเขาเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า หลักมหสุข (The
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 6
Greatest Happiness Principle) แนวคิดนี้สืบเนื่องมาจากการยึดความสุขเป็นเป้าหมายหลักใน
ชีวิต หลักมหสุขในตอนแรกเรียกว่า ลัทธิประโยชน์นิยมแบบการกระทา (Act-
Utilitarianism) โดยมีแนวคิดว่า การกระทาที่จะถือว่าถูกได้นั้น จะต้องเป็นการกระทาที่
ก่อให้เกิดความสุขแก่มหาชน ความผิดของการกระทาอยู่ที่ก่อให้เกิดความทุกข์แก่มหาชน โดยการ
พิจารณามหสุขนั้นพิจารณาผลที่เกิดขึ้นจากการกระทาในแต่ละครั้ง การกระทาโดยตัวมันเองไม่ได้
ดี ชั่ว ถูก ผิด แต่ขึ้นอยู่กับว่ามันจะก่อให้เกิดประโยชน์แค่ไหน ลัทธินี้จึงสังกัดสุขนิยม เพราะถือว่า
ความสุขเป็นสิ่งดีที่สุดของมนุษย์ ดีกับสุขเป็นเรื่องเดียวกัน ตัวอย่าง ตารวจจับนักเลงผู้มีอิทธิพล
ได้และทราบว่า ถ้าส่งบุคคลนี้ขึ้นฟ้องศาลเขาจะต้องหลุดคดีแน่ จึงทาฆ่าทิ้งด้วยคิดว่า ถ้าถ้า
ตารวจจับนักเลงผู้มีอิทธิพลได้และจากประจักษ์พยานทาให้มั่นใจได้ว่า เขาเป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลัง
ความชั่วมากมาย จับมาดาเนินคดีก็หลุดรอดจากตารางไปได้ทุกครั้ง ดังนั้น การยิงทิ้งจึงเป็น
วิธีการที่ดีที่สุด ถ้าตารวจทุกคนในโลกยึดหลักการนี้โลกจะเกิดความสงบอย่างแน่นอน แนวคิดนี้
เป็นแนวคิดที่มีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม
ประโยชน์นิยมจะไม่สนใจแรงจูงใจหรือเจตนา ตัวอย่างเช่น การช่วยเหลือคนที่ตกน้าไม่
ว่าจะเกิดเพราะสงสารหรือหวังค่าตอบแทนมีผลเท่ากันคือดีเท่ากันเพราะช่วยเหลือชีวิตคน กลุ่มนี้
ตัดสินคนที่การกระทา การดูเจตนาดูได้ยากเพราะอยู่ข้างในใจคน การดูแรงจูงใจคือการดูอดีตของ
การกระทา การดูผลคือการดูอนาคตของการกระทา
หลักมหสุขบอกว่า “การกระทาที่ถูกคือการกระทาที่ก่อให้เกิดความสุขมากที่สุดแก่
มหาชนมากที่สุด” ดังนั้น ในทุกสถานการณ์และทุกสิ่งแวดล้อม เราจึงต้องเป็นนักคานวณ
ตลอดเวลาว่า ในแต่ละการกระทาจะก่อให้เกิดความสุขและความทุกข์เท่าไหร่ เมื่อหักลบแล้ว ถ้า
ก่อให้เกิดสุขมากกว่าทุกข์ นั้นเป็นสิ่งที่ควรทา ถ้าไม่ทาเราผิด
เบนธัมเสนอแนวคิดว่า “ คนทุกคนมีค่าเท่ากับหนึ่งและไม่มีใครมีค่ามากกว่าหนึ่ง ”
ส่วนมิลล์ผู้เป็นลูกศิษย์นั้นได้เสนอแนวคิดที่คล้ายกันว่า “ คนทุกคนมีสิทธิในความสุขเท่าๆ กัน ”
ด้วยหลักการนี้วิธีการคานวณความสุขจึงต้องกระจายความสุขไปสู่คนทุกคน แนวคิดนี้จึงขัดแย้งกับ
กลุ่มอัตนิยมที่เห็นแก่ตนและอัญนิยมที่เห็นแก่ผู้อื่นประโยชน์นิยมอยู่ตรงกลาง คือไม่ลดค่าตัวเอง
น้อยกว่าผู้อื่นและก็ไม่ลดค่าผู้อื่นให้น้อยกว่าตน ในการคานวณความสุข ให้นับตนเองเป็นสมาชิกคน
หนึ่งเท่าๆ กับคนอื่น อย่ามีฝักฝ่ายให้ทาตนเป็นตาชั่งที่เที่ยงตรง
ตัวอย่างเช่น กาลังดูหนังสือสอบ เพื่อนเหงาชวนไปแทงสนุ๊กเกอร์ก็คานวณดูว่า ระหว่าง
ไปเที่ยวกับเพื่อนกับอยู่ดูหนังสืออันไหนจะเกิดประโยชน์มากกว่ากัน การไปเที่ยวกับเพื่อน
ความสุขคือการทาให้เพื่อนหายเหงา ส่วนการดูหนังสือนั้นมีประโยชน์มากกว่าเพราะทาให้เราไม่
ต้องสอบตก เหตุผลนี้ชาวประโยชน์นิยมเห็นด้วย
หลักมหสุขไม่มีท่าทีเป็นศัตรูต่อศาสนาเลย ถ้าศาสนามีหลักคาสอนเพื่อประโยชน์สุขต่อ
มนุษยชาติ ให้เมตตาเกื้อกูลกัน แต่ถ้าศาสนาดูถูกเหยียดหยามความสุขทางกาย หรือสอนให้คน
เห็นแก่ตัวมุ่งกอบโกยความสุขเพื่อตนอย่างเดียว ท่าทีของหลักมหสุขที่มีต่อศาสนาจะเปลี่ยนเป็น
ศัตรูทันที ในเรื่องของศีล 5 ก็เหมือนกัน เช่น การฆ่ามนุษย์ก็ไม่ได้เป็นความเลวในตัวของมัน
แต่ขึ้นอยู่กับว่าจะเป็นประโยชน์ต่อมหาชนหรือไม่ การประหารชีวิตนักโทษที่มีความผิดรุนแรง ถ้า
สังคมคิดว่าดีทาให้สังคมเป็นสุขมหสุขก็เอาด้วย แต่ถ้าสังคมคิดว่าการประหารนักโทษไม่เกิด
ประโยชน์มีแต่ความสูญเสีย ควรหามาตรการอื่นมาลงโทษและควรยกโทษประหารชีวิตเสีย ถ้า
ท่านมีเหตุผลที่ทาให้คนอื่นยอมรับได้ มหสุขก็พร้อมจะยืนอยู่เคียงข้างกับท่านทันที
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 7
การตัดสินคุณค่าทางจริยธรรมพิจารณาจาก 5 ลัทธิ ได้แก่ 1.ปฏิบัตินิยมถือว่าสิ่งที่ดีมี
คุณค่าต้องถูกนาไปปฏิบัติดูก่อนหรือทดลองดูก่อนนาไปใช้จริง การยอมรับในคุณค่าของสิ่งต่างต้อง
ลงมือปฏิบัติก่อนสิ่งนั้นจึงจะมีคุณค่า 2. บริสุทธิ์นิยม กลุ่มนี้ถือว่า การตัดสินพฤติกรรมของมนุษย์
ผิดหรือถูกให้ดูที่เจตนาเป็นสาคัญ การกระทาที่เจตนาดีถือว่าถูกต้อง แต่ถ้าทาด้วยเจตนาที่ไม่ดีถือ
ว่าผิด 3.สัมบูรณ์นิยม กลุ่มนี้ถือว่า การกระทาอะไรก็ตามจะมีลักษณะที่บ่งบอกดีชั่วในตัวของมัน
เอง มีสูตรเหมือนคณิตศาสตร์ ใช้มโนธรรมเป็นเครื่องมือในการตัดสินว่าอะไรถูกหรือผิด (หิริและ
โอตตัปปะ) ซึ่งมีอยู่ในทุกคนไม่มีใครบอกเราก็รู้สึกได้ 4. ประโยชน์นิยม กลุ่มนี้ถือว่า การกระทาก็
แล้วแต่ดีหรือไม่ดีให้พิจารณาว่ามีประโยชน์หรือไม่และมีประโยชน์แก่คนหมู่มากหรือไม่ มีประโยชน์
ยาวนานหรือไม่ ดูที่ผลเกิดขึ้นว่ามีประโยชน์หรือไม่ กลุ่มนี้ตรงข้ามกับบริสุทธิ์นิยม เพราะบริสุทธิ์
นิยมไม่ได้ดูที่ผลแต่ดูที่เจตนาเวลานามาตัดสินพฤติกรรมทางจริยธรรม
2. เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมโดยรวม
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรมทั้ง 5 กลุ่มดังกล่าวจะอยู่ จะอยู่ในกรอบของแนวคิด
เกี่ยวกับการตัดสินคุณค่าทางจริยธรรม 3 กลุ่มใหญ่ คือ
1. อัตวิสัยนิยม (Subjectivism) นักปราชญ์กลุ่มหนึ่งเห็นว่า การตัดสินคุณค่าใน เชิง
คุณภาพนั้นเป็นเรื่องเฉพาะตัว จึงไม่มีกฎเกณฑ์ใด ๆ มาตัดสินได้ เพราะไม่สามารถแสดงค่าเป็นเชิง
ปริมาณได้ เช่น ขนาด น้าหนัก ปริมาตร ฯลฯ เห็นได้ง่าย ๆ จากการที่คนเราเลือกชื่นชมศิลปะ
ต่าง ๆ รูปภาพรูปหนึ่งอาจสวยมากสาหรับคนหนึ่ง แต่สาหรับอีกคนหนึ่งเห็นว่าภาพนี้ดูไม่ได้เลยก็ได้
แนวคิดแบบอัตวิสัยนิยมได้แก่ แนวความคิดของพวกโซฟิสท์ (Sophist) ซึ่งเห็นว่ามนุษย์เป็น
เครื่องวัดสรรพสิ่ง พวกประสบการณ์นิยม (Empiricism) เห็นว่าการตัดสินคุณค่าเป็นเรื่องของ
รสนิยม (taste) ซึ่งเป็นผลจากการสะสมประสบการณ์ของแต่ละคน เป็นต้น ตัวอย่างที่ชัดเจน
คือ คือการตัดสินคุณค่าเกี่ยวกับการไพเราะของเพลง ซึ่งจะเห็นได้ว่าการตัดสินเป็นไปตามยุคสมัย
การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ตลอดจนพื้นภูมิความหลังของแต่ละบุคคล การไพเราะที่เปลี่ยนไปตาม
ยุคสมัย เช่น ในช่วงหนึ่งเพลงสุนทราภรณ์เป็นเพลงที่ได้รับความนิยมสูงสุด แต่ปัจจุบัน เพลงสุนท
ราภรเป็นเพลงที่นิยมฟังกันเฉพาะคนบางกลุ่ม ซึ่งส่วนมากเป็นผู้สูงอายุ ความไพเราะขึ้นอยู่กับการ
โฆษณา ได้แก่ การออกอากาศทางวิทยุ หรือโทรทัศน์ให้บ่อย คนฟังจะเกิดความคุ้นเคยและรู้สึก
ไพเราะไปเอง เช่น เพลงของนักร้องหลาย ๆคนในปัจจุบัน ส่วนพื้นภูมิความหลังของแต่ละบุคคล
ได้แก่ ความชอบประเภทของเพลง เช่น ผู้เติบโตจากสังคมชนบทอาจซาบซึ้งเนื้อเพลงท่วงทานอง
เพลงลูกทุ่ง ในขณะที่ผู้เติบโตในเมืองใหญ่ ไม่เคยสัมผัสบรรยากาศธรรมชาติมาก่อน ก็ย่อมไม่
สามารถเข้าใจหรือเข้าถึงสภาพดังกล่าว
2. ปรวิสัยนิยม (Objectivism) ปรัชญากลุ่มนี้เห็นว่า การตัดสินคุณค่าต้องมีกฎเกณฑ์
มีแบบแผนอันแน่นอนตายตัว ซึ่งแบบแผนดังกล่าวอาจมีที่มาได้หลายทางตามแต่แนวคิดของลัทธิ
นิยมนั้นๆ เช่น ค้านท์ (Immanuel Kant) นักปรัชญาชาวเยอรันที่เห็นว่าแบบแผนดังกล่าวคือ
ความสานึกในหน้าที่ (Sense of Duty) อันเป็นสมบัติโดยธรรมชาติของมนุษย์ทุกคน หรืออย่าง
มิลล์ (John Stewart Mill) นักปรัชญาชาวอังกฤษ ที่เห็นว่าหลักเกณฑ์ที่จะตัดสินคุณค่าคือ
ผลประโยชน์ของคนส่วนมาก ส่วนเพลโต (Plato) นักปรัชญากรีกโบราณเห็นว่าแบบแผนหรือ
กฎเกณฑ์ดังกล่าวคือ แบบ (Form) แห่งความสมบูรณ์ในโลกแห่งอุดมคติ (Idea) เป็นต้น
ตัวอย่างการอ้างถึงการตัดสินคุณค่าที่ต้องมีกฎเกณฑ์ เช่น โรงเรียนมัยธมแห่งหนึ่งเป็นเจ้าภาพใน
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 8
การจักการประกวดวาดภาพสาหรับนักเรียนมัธยมศึกษา ของจังหวัดนครราชสีมา และต้องให้เกิด
ความยุติธรรมและเป็นกลางที่สุด จึงติดต่ออาจารย์จากสถาบันราชภัฎนครราชสีมาไปเป็นกรรมการ
ตัดสินการประกวดวาดภาพดังกล่าว นักศึกษาคิดว่าคนที่มาเชิญอาจารย์ไปตัดสินในครั้งนี้จะเลือก
เชิญอาจารย์จากภาควิชาใด ในสถาบันราชภัฎนครราชสีมา นักศึกษาส่วนมากตอบว่าเชิญอาจารย์
จากภาควิชาศิลปะ คงมีจานวนน้อยที่บอกว่าเชิญอาจารย์จากภาควิชาพลศึกษา เกษตรศาสตร์ หรือ
คอมพิวเตอร์ ไปเป็นกรรมการตัดสินภาพวาดปรากฏการณ์นี้แสดงว่า โดยสามัญสานึกแล้ว การ
เชิญกรรมการตัดสินประกวดวาดภาพ ควรเชิญอาจารย์ทางด้านศิลปะ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความ
เชี่ยวชาญ หรือความชานาญด้านวาดภาพมากกว่าอาจารย์จากภาควิชาอื่น ซึ่งแสดงว่า การตัดสิน
ความงาม หรือการตัดสินผลงานศิลปะนั้น ก็ต้องมีทฤษฎีทางศิลปะบางประการ ซึ่งอาจารย์ศิลปะรู้
มากกว่าคนอื่น นั่นก็แสดงว่าการตัดสินต้องมีกฎเกณฑ์บางอย่าง ตามแนวความคิดแบบปรวิสัยนิยม
3. สัมพัทธนิยม (Relativism) นักปรัชญาอีกกลุ่มหนึ่งพยายามวิเคราะห์การโต้แย้งของ
ปรัชญาทั้งสองฝ่าย แล้วสังเคราะห์ความสัมพันธ์เข้าด้วยกัน จนสรุปได้ว่า การตัดสินคุณค่าต้อง
ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนสาคัญ คือ (1) รสนิยมและความรู้ความสามารถของ
ผู้ตัดสิน (2) วัตถุหรืออารมณ์ของการตัดสิน (ทั้งที่เป็นรูปธรรมเช่นความดีและที่เป็นนามธรรม เช่น
ความงาม) (3) สถานการณ์ซึ่งมีการตัดสินเกิดขึ้น และสถานการณ์นี้เองเป็นตัวแปรที่ทาให้การ
ตัดสินไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอนตายตัว เราจึงเห็นว่าพวกสัมพัทธนิยมมีลักษณะใกล้เคียงกับอัตวิสัย
นิยม มากกว่าพวกปรวิสัยนิยม อย่างไรก็ตาม สัมพัทธนิยมแตกต่างจากอัตวิสัยนิยม เพราะสัมพัทธ
นิยมให้ความสาคัญกับสถานการณ์ และมีความเชื่อว่าหากการตัดสินเกิดขึ้นในสถานการที่มีเงื่อนไข
คล้ายกันโดยคนตัดสินที่มีรสนิยมคล้ายกันการตัดสินอาจสรุปคล้ายกันก็ได้ (ทองพูล บุณยมาลิก,
2535 : 124)
3.พฤติกรรมที่ไม่สามารถนามาใช้ในการตัดสินเชิงจริยศาสตร์
แม้ว่าจริยศาสตร์จะเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการตัตสินคุณค่าพฤติกรรมของมนุษย์ว่าอะไรถูก
อะไรไม่ถูก อะไรควร และอะไรไม่ควร แต่ไม่ใช่ว่าทั้งหมดนั้นจะนามาตัดสินในเชิงพฤติกรรมของ
มนุษย์ได้ ถึงสามารถสรุปได้ดังนี้
1. การกระทาของคนรู้เท่าไม่ถึงการณ์ คือ คนที่ไม่มีเจตนาดีแต่ความเข้าใจผิดหรือไม่มี
ความรู้ หยิบยาพิษให้เพื่อนดื่มกินเข้าใจว่าเป็นยาแก้ปวดท้องถือว่าจะจัดตัดว่าเขาไม่ดีไม่ได้แต่เป็น
การกระทาเพราะความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จึงตัดสินพฤติกรรมไม่ได้
2. การกระทาของบ้าหรือสติไม่ปกติ คือ พฤติกรรมของคนบ้า คนบ้าย่อมไม่รู้ว่าอะไร
ถูกอะไรผิด อะไรควรทา อะไรควรพูด อะไรไม่ควรทา อะไรไม่ควรพูดเป็นต้น เพราะเขาเป็นคนบ้า
จึงนามาตัดสินว่าพฤติกรรมในเชิงจริยศาสตร์ไม่ได้
3. การกระทาของคนหลับละเมอ คนหลับและละเมอ คือ เป็นการกระทาด้วยเจตนาไม่
แต่เป็นการกระทาที่ไม่รู้ตัว ก็ไม่สามารถนามาตัดสินพฤติกรรมในเชิงจริยศาสตร์ได้
4. การกระทาของคนที่ถูกบังคับ การกระทาเพราะถูกบัง ก็ไม่สามารถนามาตัดสินใน
เชิงจริยธรรมได้เพราะเข้าไม่เป็นอิสระ ไม่มีเจตนา การกระทาที่ไม่มีเจตนามุ่งผลโดยตัวเขาเอง ก็ไม่
สามารถนามาตัดสินในเชิงจริยศาสตร์ได้
สรุป การตัดสินไม่ว่าจะเป็นการตัดสินในทัศนะของกลุ่มนักปรัชญาลัทธิต่างๆ ทั้ง 5 ลัทธิ
นั้นก็ตาม เมื่อย่อลงแล้วก็อยู่ในกลุ่มของการตัดสินโดยยึดตนเองเป็นที่ตั้ง ยึดเกณฑ์หลักที่ตายตัว
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 9
และยึดสภาพแวดล้อมเป็นตัวกาหนดเท่านั้น แต่พฤติกรรมของบุคลที่จะนาเองทฤษฎีทางจริย
ศาสตร์ไปตัดสินไม่ได้ก็มี อย่างกล่าวแล้วข้างต้น นอกจากนั้นจริยศาสตร์ยังมีพื้นฐานทางจิตวิทยา
ของจริยศาสตร์ การกระทาต่าง ๆเราไม่อาจพิจารณาตัดสินในทางศีลธรรมได้ในทุกกรณีไป เช่น
การทาของเด็กไร้เดียงสา คนบ้า คนเสียสติ เป็นต้น ดังนั้น การพิจารณาตัดสินทางจริยธรรมจึง
จาเป็นต้องคานึงถึงความพร้อมหรือสภาพจิตใจของผู้กระทาการในขณะนั้น ๆด้วย ซึ่งมีประเด็น
สาคัญควรพิจารณาดังนี้
1. เจตนา (Will) หรือความจูงใจ คือการกระทาโดยเจตนา และเจตนาในที่นี้เกิดจาก
ความต้องการ ความอยากและความปรารถนา
2. แรงจูงใจ (Motive) คือแรงจูงใจหรือสิ่งจูงใจให้บุคคลกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มิลล์กล่าว
ว่า แรงจูงใจคือความรู้สึกที่ทาให้บุคคลจงใจทา แมคแคนซี่ กล่าวว่า แรงจูงใจในการกระทาที่
แท้จริง คือ ความรู้เห็นในจุดหมายคือ ความคิดเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน กรีน กล่าวว่า
แรงจูงใจคือจุดมุ่งหมายซึ่งชักนาไปสู่การกระทาให้เป็นจริง
3. นิสัย (Habit) คือผลของการกระทาซ้า ๆในเรื่องใดเรื่องหนึ่งด้วยความสมัครใจหรือ
ตั้งใจ เมื่อการกระทาใดกลายเป็นนิสัยแล้ว ก็เป็นการกระทาโดยไม่ต้องพยายามหรือตั้งใจ
4. อุปนิสัย (Character) คือความโน้มเอียงทางจิตใจอย่างถาวรของจิตใจ เป็นผล
สืบเนื่องจากนิสัยและความจูงใจ
5. สถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อม (Circumstances) คือเหตุการณ์หรือสิ่งแวดล้อมซึ่งมี
อิทธิพลต่อการกระทาของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นบุคคล สังคม เหตุการณ์ ธรรมชาติเป็นต้น(ศรัณย์ วงศ์
คาจันทร์,2526:152-155)
แต่อย่างไรก็ตามแรงจูงใจดังกล่าวข้างต้นนี้ สามารถจะที่ใช้สาหรับตัดสินพฤติกรรมของ
มนุษย์ย่อมอยู่ในขอบข่ายแรงจูงใจที่ชักนาไปสู่การกระทาของมนุษย์ ดังนั้นจริยศาสตร์ก็สามารถตัด
พฤติกรรมของบุคคลผู้อยู่ภาวะปกติได้(คนที่มีความสมบูรณ์ด้วยความรู้เหตุผล เจตคติที่สมบูรณ์
สมบูรณ์ทางด้านสติปัญญาย่อมอยู่ในขอบข่ายที่จะนามาตัดสินได้)

More Related Content

What's hot

04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53monnawan
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆJintana Kujapan
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกายAobinta In
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 

What's hot (20)

04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
 
เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
Test
TestTest
Test
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 

Similar to จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี

ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายWat Thai Washington, D.C.
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13khumtan
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมJinwara Sriwichai
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา Min Kannita
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีPa'rig Prig
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวปฏิบัติในงานพิธีการและมารยาททางสังคมสำหรับข้าราชการฝ่ายปกครอง
แนวปฏิบัติในงานพิธีการและมารยาททางสังคมสำหรับข้าราชการฝ่ายปกครอง แนวปฏิบัติในงานพิธีการและมารยาททางสังคมสำหรับข้าราชการฝ่ายปกครอง
แนวปฏิบัติในงานพิธีการและมารยาททางสังคมสำหรับข้าราชการฝ่ายปกครอง ประพันธ์ เวารัมย์
 

Similar to จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี (20)

ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
333
333333
333
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
แนวปฏิบัติในงานพิธีการและมารยาททางสังคมสำหรับข้าราชการฝ่ายปกครอง
แนวปฏิบัติในงานพิธีการและมารยาททางสังคมสำหรับข้าราชการฝ่ายปกครอง แนวปฏิบัติในงานพิธีการและมารยาททางสังคมสำหรับข้าราชการฝ่ายปกครอง
แนวปฏิบัติในงานพิธีการและมารยาททางสังคมสำหรับข้าราชการฝ่ายปกครอง
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี

  • 1. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 1 บทที่ 4 เกณฑ์ตัดสินทางจริยศาสตร์ 1. เกณฑ์ตัดสินจริยศาสตร์ เกณฑ์ตัดสินจริยธรรม คือมาตรการที่จะบอกแก่เราว่า สิ่งใดควรทาสิ่งใดไม่ควรทา สิ่งใด ถูก สิ่งใดผิดโดยทั่วไปแล้วเมื่อมีการตัดสินการกระทาเรามักจะใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเกณฑ์ตัดสิน จริยธรรม คือ ศาสนา กฎหมาย ค่านิยมในสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งกฎเกณฑ์ต่างๆ ขอสถาบัน แต่นักจริยศาสตร์มีความเห็นว่าสิ่งต่างๆตามที่กล่าวมานี้ ไม่อาจนามาตัดสินการกระทา ได้ดีพอและบางครั้งก็อาจจะทาให้เกิดข้อขัดแย้ง ตัวอย่างเช่น การเล่นการพนันถือว่าเป็นสิ่งที่ผิด ไม่สมควรทาตาม นี้เป็นทัศนะทาง ศาสนา แต่ในทางตรงกันข้าม การพนันนั้นจดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมายได้รับอนุญาตให้ เล่นได้ ผู้ที่เล่นการพนันนั้นก็ไม่ถือว่ากระทาผิดอย่างนี้แล้ว การเล่นการพนันอาจะทั้งถูกและผิดก็ ได้ นอกจากนั้นตามสภาพความเป็นจริงในสังคม ปัญหาบางเรื่องมีความซับซ้อนและมีองค์ประกอบ หลายประการที่ต้องคานึงถึงและยากแก่การตัดสินใจ ตัวอย่างเช่น โดยหลักทั่วไปคนเรามีสิทธิ เสรีภาพที่จะคิดตัดสินใจเลือกการกระทาด้วยตัวของตัวเอง ไม่มีใครมีสิทธิ์มาตัดสินใจแทนผู้อื่น เลือกการกระทาแทนผู้อื่น แต่ในกระบวนการรักษาพยาบาล บางครั้งมีเหตุปัจจัยที่จะให้แพทย์ พยาบาลจาเป็นตัดสินใจแทนผู้ป่วย เลือกสิ่งที่ดีให้แก่ผู้ป่วย รวมทั้งอาจเป็นผู้กาหนดการกระทา หรือการปฏิบัติตนของผู้ป่วย ในกรณีนี้เราไม่อาจตัดสินว่า การกระทาของบุคลากรมีทีมางาน สุขภาพไม่ถูกหรือไม่ควรทา แต่ขณะเดียวกันก็ต้องมีเกณฑ์ตัดสินอีกเช่นกันว่าที่กระทาเช่นนั้นเพราะ อะไร(ศิวลี ศิริไล.2542:71-72) ปัญหาเกี่ยวกับเกณฑ์การตัดสินทางจริยศาสตร์ มาตรการในการทาความดีความชั่วของ มนุษย์ มีกลุ่มแนวคิดในเสนอมาตรการไว้ 5 กลุ่ม ได้แก่ 1.1 ปฏิบัตินิยม(Pragmatism) ปฏิบัตินิยมเชื่อว่าความรู้เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับชีวิต ความคิดเป็นเครื่องมือของการกระทา ความคิดที่เอาไปใช้ไม่ได้ก็เป็นสิ่งไร้ความหมายการรู้ การจา และจิตนาการก็คือ การปรับตัวให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมของสิ่งที่มีชีวิตนั้นเองความคิดมิใช่เป็น เพียงสิ่งที่มีในจิต หรือเป็นเพียงการถ่ายแบบความจริงเท่านั้น แต่เป็นสิ่งที่มีพัฒนาการไปตาม พัฒนาการของชีวิต และเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับความเกี่ยวข้องกันของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อม สติปัญญา หรือความรู้เป็นสิ่งที่ช่วยให้มนุษย์บรรลุเป้าหมายของชีวิต ปฏิบัตินิยมเห็นว่าในขณะที่เรายังไม่รู้ โครงสร้างของมนัส (ความคิด) จึงควรยึดประสิทธิภาพในการปฏิบัติไปก่อน นักปรัชญาปฏิบัตินิยมที่ สาคัญมี 3 ท่าน และทั้ง 3 ท่าน เป็นชาวอเมริกัน ซึ่งได้แก่ 1. ชาเลส แซนเดอร์ เพิร์ส (Charles Sanders Peirce) เป็นนักปรัชญาปฏิบัตินิยมที่ เชื่อว่าประสิทธิภาพเป็นตัวกาหนดความจริง เพิร์สได้กาหนดวิธีรู้ก่อนแล้วจึงจะรู้ว่าอะไรจริง ซึ่งก็ คือวิธีวิทยาศาสตร์นั้นเอง นอกจากนี้เพิร์สได้เสนอทฤษฎีความหาย (theory of sign) และถือว่า ทฤษฎีนี้เป็นทฤษฎีตรรกวิทยา (logic theory) ทฤษฎีนี้ถือว่าพฤติกรรมเป็นเพียงส่วนเสริมของ ความหมาย คุณสมบัติต่าง ๆ อันเป็นวัตถุเป็นแก่นของความหมาย และเห็นว่าควรมีภาษาที่เป็น มาตรฐานสาหรับมนุษย์ทุกคน
  • 2. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 2 2. วิลเลียม เจมส์ (William James) เป็นนักปฎิบัตินิยมที่แท้จริงเจมส์ ถือว่ามนุษย์ ควรยึดความคิดของตนเองในแง่ที่เห็นว่าจะมีประสิทธิภาพในทางปฏิบัติมากที่สุด เขาจึงเป็นนัก ปฏิบัตินิยมที่แท้จริงในแง่นี้ 3. จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) เป็นนักปฏิบัตินิยมแบบอุปกรณ์นิยม (Instrumentalist) เพราะสอนว่ามนัส (ความคิด) ของมนุษย์ฉลาดขึ้นโดยการปฏิบัติ จึงสรุปเป็นวิธี สอนว่าเรียนโดยการปฏิบัติ (learning by doing) ดิวอี้ถือว่าความจริงอยู่ที่ประสิทธิภาพของการให้ ปัญหาเป็นเครื่องมือเพื่อประโยชน์ในการดารงชีพดังนั้นต้องฝึก นักปรัชญาปฏิบัตินิยมทั้งสามท่านก่อนมีทัศนะแตกต่างกันบ้าง แต่หลักการใหญ่ ๆ นั้น ไม่แตกต่างกัน กล่าวคือ ปฏิบัตินิยมมีทัศนะว่าโลกและสิ่งต่าง ๆ ในโลกเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง ความรู้ ได้มาจากประสบการณ์ ไม่ใช่สิ่งที่ไหลเข้ามาในทางจิตหรือเป็นสิ่งที่ธรรมชาติให้แก่จิต แต่จิตของเรา เป็นตัวดาเนินการในการรับรู้ การเข้าใจ และการเชื่อ ฯลฯ เป็นต้น กลุ่มปฏิบัตินิยมถือว่า การตัดสินคุณค่าทางศีลธรรมว่า ดี ชั่ว ถูก ผิด ขึ้นอยู่กับ ประสิทธิภาพของการกระทาคือ การใช้ประโยชน์ได้จริง คุณค่าทางศีลธรรมตามทัศนะนี้ตั้งอยู่บน ฐานของการทดสอบ ข้อสมมติฐานหรือหลักการทางศีลธรรมต้องผ่านการทดสอบ หรือทดลอง ปฏิบัติให้ได้ผลเสียก่อน จึงยอมรับว่ามีคุณค่า กลุ่มปฏิบัติยมจึงถือว่า “คุณค่าไม่ได้รับการ ทดสอบไม่ควรได้รับการประทับตราว่า คุณค่า แต่เป็นเพียงสานวนเสนาะหู หรือคติเตือนใจใน ศาสนาสาหรับชีวิตประจาวันในระดับต่าเท่านั้น” กลุ่มปฏิบัตินิยมถือว่าสิ่งที่ดีคือสิ่งดีสาหรับ ส่วนรวม และสิ่งที่ถูกต้องก็คือ ถูกตามการยอมรับของสังคม ความจริงจึงต้องเป็นความจริง ส่วนรวม ความดีจึงต้องเป็นความดีส่วนรวม ดังนั้นความดีกับความจริงจึงเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กัน และเป็นสิ่งที่ยึดหยุ่นได้ คือเปลี่ยนแปลงได้ตามความเปลี่ยนแปลงทางสังคม หลักแห่งศีลธรรมที่ อานวยประโยชน์แต่เปลี่ยนแปลงได้ตามความเปลี่ยนแปลงทางสังคม หลักแห่งศีลธรรมที่จะอานวย ประโยชน์แก่สังคม หรือใช้ได้ในสังคมก็ต้องยืดหยุ่นได้ คือปรับตัวเข้ากับสภาพสังคมในยุคนั้น ๆได้ ตามทัศนะของกลุ่มนี้ เกณฑ์ตัดสินทางศีลธรรมคือ การทดสอบว่า ใช้ได้จริง ใช้ ประโยชน์ได้จริงตามที่วางไว้ และประโยชน์นั้นเป็นประโยชน์ของส่วนรวม สอดคล้องกับการยอมรับ ของสังคมในสมัยนั้น ๆ 1.2 บริสุทธินิยม (Rigorism) กลุ่มนี้ถือว่า เจตนาดี (Good Will) เป็นเครื่องตัดสิน การกระทาว่าดี หรืถูกต้อง คุณค่าทางศีลธรรมเป็นสิ่งที่ตายตัว สิ่งดีย่อมดีอย่างเสมอต้นเสมอ ปลาย ไม่ว่าใคร ๆจะเมื่อไร ที่ไหนก็ตาม ค้านท์นักปรัชญาชาวเยอรมันเป็นผู้ตั้งทฤษฎีนี้ขึ้นโดย กล่าวว่า การกระทาที่ดี คือการกระทาด้วยเจตนาดี และเจตนาดีในความหมายนี้คือ การทาตาม หน้าที่ ดังนั้น การกระทาที่ดีคือการกระทาตามหน้าที่ การกระทา(ด้วยเจตนาดี) คือการกระทาตาม หน้าที่นั้น หมายถึง การกระทาตามหน้าที่ทุกชนิด โดยไม่เห็นแก่ตนเองและผู้อื่น และไม่มีอารมณ์ ความรู้สึกใดๆ มามีอิทธิพลร่วม เป็นการกระทาที่ไม่ได้หวังผลประโยชน์สุขแก่ผู้ใด แต่เป็นการ กระทาตามหน้าที่ โดยไม่คานึงถึงผลว่าจะเกิดขึ้นอย่างไร เช่น เพชฌฆาต มีหน้าที่ยิงคนให้ตาย เขา ต้องยิงทุกคนที่ส่งมาให้เขายิงให้ตาย การกระทาของเพชฌฆาต ถือว่า เป็นการทาตามหน้าที่ด้วย เจตนาดี เกณฑ์ตัดสินทางศีลธรรมตามทฤษฎีบริสุทธินิยม (Rigorism) นี้ จึงยึดถือเจตนาดี (Good Will) เป็นหลักสาคัญ การกระทาด้วยเจตนาดีก็คือ การกระทาหน้าที่เพื่อหน้าที่ (duty for duty's sake) มิใช่ทาหน้าที่เพื่อความดี ความสุข หรือเพื่อผลอื่นใด
  • 3. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 3 ลัทธิของคานท์ (Kantialism,Immanuel Kant : 1724-2804) อิมมานูเอล ค้านท์ เป็น นักปรัชญาชาวเยอรมันมีความเห็นว่า ดี ชั่ว เป็นทีเรื่องทีมีอยู่จริง เป็นสิ่งที่แน่นอนตายตัว และ เชื่อว่า มีเกณ์ฑ์ตัดสินจริยธรรมที่แน่นอนตายตัวเช่นเดียวกัน ตัวอย่างเช่น เราถือว่า การพูดความ จริงเป็นสิ่งที่ดี ดังนั้นการพูดความจริงจึงเป็นความดีตลอดเวลาไม่ว่าใครจะพูด พูดเวลาใด พูดกับ ใคร พูดแล้วจะออกมาเป็นอย่างไร ส่วนการพูดเท็จนั้น เป็นสิ่งไม่ดี ดังนั้น ใครพูดเท็จ พูดกับใคร พูดแล้วผลจะออกมาเป็นอย่างไร พูดเพื่ออะไร ก็เป็นสิ่งที่ไม่ดีทั้งสิ้น ดังนั้นหลักจริยศาสตร์ของ คานท์จึงตรงกันข้ามกับลัทธิประโยชน์นิยมอย่างสิ้นเชิง 1.3 บริสุทธินิยม (Rigorism) กลุ่มนี้ถือว่า เจตนาดี (Good Will) เป็นเครื่องตัดสิน การ กระทาว่าดี หรือถูกต้อง คุณค่าทางศีลธรรมเป็นสิ่งที่ตายตัว สิ่งดีย่อมดีอย่างเสมอต้นเสมอ ปลาย ไม่ว่าใครๆ จะทาอะไร ที่ไหนก็ตาม คานท์ (Immanuel Kant) นักปรัชญาชาวเยอรมันเป็น ผู้ตั้งทฤษฎีนี้ขึ้นโดยกล่าวว่า การกระทาที่ดี คือการกระทาด้วยเจตนาดี และเจตนาดีในความหมาย นี้คือ การทาตามหน้าที่ ดังนั้น การกระทาที่ดีคือการกระทาตามหน้าที่ การกระทา (ด้วยเจตนาดี) คือการกระทาตามหน้าที่นั้น หมายถึง การกระทาตามหน้าที่ทุกชนิด โดยไม่เห็นแก่ตนเองและผู้อื่น และไม่มีอารมณ์ความรู้สึกใดๆ มามีอิทธิพลร่วม เป็นการกระทาที่ไม่ได้หวังผลประโยชน์สุขแก่ ผู้ใด แต่เป็นการกระทาตามหน้าที่ โดยไม่คานึงถึงผลว่าจะเกิดขึ้นอย่างไร เช่น เพชฌฆาต มีหน้าที่ ยิงคนให้ตาย เขาต้องยิงทุกคนที่ส่งมาให้เขายิงให้ตาย การกระทาของเพชฌฆาต ถือว่า เป็นการทา ตามหน้าที่ด้วยเจตนาดี การกระทาที่ดี คือ การกระทาที่ทาด้วยเจตนาดี การกระทาที่ทาด้วยเจตนาดีคือการ กระทาที่เกิดจากการสานึกในหน้าที่ การกระทาที่เกิดจากหน้าที่เป็นการกระทาที่เกิดจากเหตุผล การกระทาที่ตั้งอยู่บนเหตุผลคือการกระทาที่เกิดจากกฎศีลธรรม กฎศีลธรรมในทรรศนะของคานท์ นั้นมีลักษณะเป็นคาสั่งเด็ดขาด (Cotegorical imperative) คือเป็นกฎที่ไม่มีข้อแม้ใดๆ จะต้องไม่ คานึงถึงเป้าหมายใด ๆ และจะต้องเป็นกฎสากล คือใช้ได้กับคนทุกคน ไม่เฉพาะกับคนใดคนหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ดังนั้น หลักพิจารณากฎศีลธรรมตามทรรศนะของคานท์จึงมี 2 อย่าง คือ 1. จงทาตามหลักซึ่งท่านจงใจได้ที่จะให้เป็นสากล (เป็นกฎสาหรับทุกคน) 2. จงปฏิบัติต่อเพื่อน มนุษย์ โดยถือว่า เขาเป็นจุดหมายในตัวเอง อย่าถือว่าเขาเป็นเพียงเครื่องมือ ไม่ว่าจะเป็นตัวท่าน เองหรือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน 1.4 สัมบูรณนิยม(Absolutism) กลุ่มนี่ถือว่า มโนธรรมเป็นมาตรฐานตายตัวในการ ตัดสินทางศีลธรรม และมโนธรรมนี้เป็นอินทรีย์พิเศษหรือความสามารถพิเศษ ตัวมโนธรรมคือ อินทรีย์ภายใน หรืออินทรีย์ทางวิญญาณ ที่ทาให้มนุษย์รู้คุณภาพหรือลักษณะที่เป็นนามธรรมต่าง ๆ เช่น ดี ชั่ว ถูก ผิด ได้ซึ่งได้แก่ ปัญญา หรือบางที่เรียกว่า สานึกดี ชั่ว นั่นเอง และความสานึก ดีชั่ว เรารู้ได้ด้วยมโนธรรม อันเป็นสามัญสานึกของมนุษย์ทุกคนมีโดยธรรมชาติในฐานะที่เป็นมนุษย์ สัมบูรณนิยม (Absolutism) หมายถึง แนวคิดที่ถือว่ามีเกณฑ์ตัดสินทางศีลธรรมที่ตายตัว มีความ สมบูรณ์อันเป็นกฏสากล เหมือน 2 + 2 = 4 ไม่ว่าจะเป็นคนชาติไหน บวกที่ไหน ก็ต้องได้ 4 ทั้งนั้น หรือเหมือนเกลือไม่ว่าใครชิมก็ต้องว่าเค็ม ไฟใครเอามือไปสัมผัสก็ต้องว่าร้อน คาว่า สัมบูรณ์ จึงมีความหมายว่า สิ่งที่เป็นอยู่โดยตัวของมันโดยไม่ต้องขึ้นกับใคร ไม่แปรไปตามเวลา
  • 4. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 4 หรือสถานที่ โดยทั่วไปจะเน้นเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินคือมโนธรรม จึงใช้ชื่อเรียกเต็ม ๆ ว่า ลัทธิมโนธรรม สัมบูรณ์ ก่อนที่จะได้รู้จักความหมายของมโนธรรม ควรทาความเข้าใจเรื่องวัตถุวิสัยและอัตวิสัย เสียก่อน ไพรซ์ กล่าวว่า ผิด ถูก หรือ ดี ชั่ว เป็นลักษณะที่บอกว่า การกระทาอันใดอันหนึ่งนั่น คืออะไร ที่เป็นเช่นนี้มันไม่ใช่เพราะเจตนา คาสั่ง อานาจ แต่ถูกผิด ชั่ว เป็นลักษณะจริง ๆ ของ การกระทา และลักษณะดังกล่าวนี้ต้องมีลักษณะตายตัวของการกระทาด้วย เมื่อมองตามแนวนี้จะ เห็นว่า คุณค่าทางศีลธรรมเป็นสิ่งแน่นอนตายตัว (เหมือนคณิตศาสตร์) ใครจะคิด จะรู้สึก หรือจะรู้ ไม่รู้ ก็ตาม คุณค่าทางศีลธรรมก็เป็นความจริงตายตัวอยู่ตลอดเวลาไป มโนธรรมเป็นสิ่งที่มีอยู่ใน ตัวมนุษย์ทุกคน ในฐานะที่เป็นมนุษย์ มโนธรรมสามารถรู้ดีรู้ชั่ว ถูก ผิด ได้นั้น เป็นการรู้โดยตรงไม่ มีใครชี้แนะ หรือได้รับคาอธิบายจากใคร ๆ มโนธรรมเป็นสิ่งสากล คือมนุษย์ทุกคนมีเหมือนกันและ เท่าเทียมกันมาแต่กาเนิด แต่มนุษย์มีความรับรู้ ดี ชั่ว ถูก ผิด ต่างกัน เพราะมโนธรรมในตัว มนุษย์ แต่ละคนได้รับการพัฒนาไม่เหมือนกันเหมือนตาของผู้ใหญ่กับตาของเด็กเล็กสามารถ มองเห็นหลายสิ่งหลายอย่างแตกต่างกัน คือตาของผู้ใหญ่สามารถมองเห็นอะไร ๆ ได้มากกว่าตา ของเด็กเล็ก เพราะตาของผู้ใหญ่มีการพัฒนามากกว่า สมบูรณ์นิยมเชื่อว่า ถ้าคนอยู่ในสภาพปกติ ย่อมมีมโนธรรมเหมือนกัน มีความรู้สึกว่าอะไร ถูก ผิด ดี ชั่ว ตรงกัน เว้นเสียแต่ว่ามีสาเหตุ บางอย่าง เช่น ความโลภ ความโกรธ และความหลง เป็นต้นเข้ามาปิดบังมโนธรรมเท่านั้น จึงจะ ทาให้คนเรามีความรู้สึกดี ชั่ว ถูก ผิด ต่างกัน เกณฑ์ตัดสินแบบสมบูรณ์นิยมนี้ ถือว่า การกระทาทุกอย่างมีลักษณะบ่งบอกว่าดี ชั่ว ถูก ผิด อยู่ในตัวมันเอง มนุษย์สามารถรับรู้ภาวะเหล่านั้นได้โดยมโนธรรม ซึ่งเป็นอินทรีย์พิเศษที่มี อยู่เหมือนกันในมนุษย์ทุกคน ในภาวะปกติ มนุษย์ทุกคนย่อมจะมีมโนธรรมรู้ว่าอะไร ถูก ผิด ดี ชั่ว เหมือนกันและ เช่นเดียวกัน เว้นเสียแต่ว่าจะมีอารมณ์หรือปัจจัยอื่นมาปิดบัง อาจทาให้มนุษย์มองเห็นสิ่งดี ชั่ว ถูก ผิด ต่างกันได้ มโนธรรมคืออะไร ? มโนธรรม แปลตามตัวว่า ใจที่เต็มเปี่ยมด้วยธรรมะ หมายถึงว่า การที่จะเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้นั้น จะต้องเป็นผู้ที่มีจิตใจสูง สามารถที่จะรู้ถูก ผิด ดี ชั่ว รู้ว่า อะไร ควรทา ไม่ควรทา เป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนมีในฐานะที่เป็นสัตว์โลกชั้นสูง เราอาจจะนิยาม มโนธรรมได้ดังนี้ มโนธรรมคือเสียงกระซิบจากก้นบึ้งหัวใจ ที่จะบอกให้เราทราบว่า อะไรถูก อะไรผิด อะไรควรทา และไม่ควรทา ตัวอย่างเช่น เมื่อเราเห็นเด็กทารกคลานไปจะตกบ่อน้า คงไม่มีมนุษย์ปรกติคนไหนที่จะ มองแล้วนึกลุ้นอยู่ในใจให้เด็กรีบคลานไว ๆ เพื่อจะได้ตกลงไปในบ่อน้า แต่ในฐานะแห่งความเป็น มนุษย์ มโนธรรมในใจ จะกระตุ้นเตือนให้เรารีบวิ่งไปช่วยอุ้มเด็กทารกคนนั้นให้รอดพ้นจาก อันตรายอย่างแน่นอน โดยที่ไม่ต้องมีใครบังคับหรืออ้อนวอนเรา หรือในอีกตัวอย่าง กรณีที่ผู้หญิง คนหนึ่งถูกคนร้ายข่มขืนจนตั้งท้อง มีคาแนะนาจากพ่อแม่และญาติพี่น้องให้เธอทาแท้ง แม้เธอจะ โกรธแค้นกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมากมาย แต่ด้วยมโนธรรมในใจทาให้เธอไม่ไปทาแท้ง แต่ กลับถนอมบุตรในครรภ์จนกระทั่งคลอด และทาหน้าที่แม่อย่างดี สิ่งเหล่านี้เป็นตัวอย่างแทน คาตอบได้เป็นอย่างดีถึงคาว่า มโนธรรมในใจมนุษย์ มโนธรรมคือใจพิเศษ ร่างกายมนุษย์มีอวัยวะสาหรับรับรู้ มีตาเอาไว้ดู มีหูเอาไว้ฟัง มี จมูกเอาไว้ดมกลิ่น มีลิ้นเอาไว้ ชิมรส มีกายเอาไว้สัมผัสเย็น ร้อน อ่อน แข็ง การจะพิสูจน์ว่า กลิ่นหอมหรือไม่ เป็นหน้าที่ของจมูก ไม่ใช่ของลิ้น ในขณะที่จะพิสูจน์ว่า เปรี้ยว หวาน มัน
  • 5. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 5 เค็ม ก็เป็นหน้าที่ของลิ้นไม่ใช่ของจมูก เรียกว่า เรามีอวัยวะทางกายซึ่งเป็นวัตถุสาหรับเป็นเครื่อง พิสูจน์ตัดสินคุณสมบัติด้านกายภาพ แต่สาหรับการพิสูจน์ดีหรือชั่วนั้น เป็นคุณสมบัติทางจริยธรรม ไม่สามารถใช้อวัยวะทางกายเป็นเครื่องพิสูจน์ได้ แต่เรามีอินทรีย์พิเศษในตัวมนุษย์ซึ่งเราสามารถ ใช้พิสูจน์ความดี ความชั่วได้ เราเรียกสิ่งนั้นว่า ใจ ซึ่งกลุ่มมโนธรรมสัมบูรณ์เรียกว่า ปัญญา (intellect, understanding) บ้าง มโนธรรม (conscience) บ้าง หรืออินทรีย์ทางศีลธรรม (moral faculty) บัทเลอร์ได้ให้ความเห็นในเรื่องนี้สรุปว่า มนุษย์เรามีมโนธรรมเอาไว้เป็นหลักในการตัดสิน การกระทา มันจะบอกให้เราทราบเป็นกฎตายตัวว่า การกระทาของเรานั้น ยุติธรรมหรืออ ยุติธรรม ดีหรือชั่ว ถูกหรือผิด โดยที่เราไม่ต้องไปขอคาแนะนาหรือคาปรึกษาจากใครเลย เจ้าตัว มโนธรรมนี้จะแสดงอานาจออกมาอย่างเต็มที่ สาหรับการเห็นชอบหรือการตาหนิการกระทา แล้วแต่กรณี มโนธรรมสามารถเข้าใจ ดี ชั่ว ได้โดยตรง เช่น ในกรณีตัวอย่างที่ยกมาแล้ว คนที่วิ่งไปช่วยเด็กทารกที่กาลังคลานจวนจะตกบ่อน้าโดยที่ไม่ต้องมีใครสั่งบังคับหรือขอร้อง หรือ หญิงที่ถูกข่มขืนจนตั้งท้อง แม้พ่อแม่ญาติพี่น้องจะขอร้องแกมบังคับให้เธอทาแท้งแต่เธอก็ไม่ ยินยอม นั้นเป็นเพราะมโนธรรมบอกแก่พวกเขาว่า ความเมตตากรุณาเป็นสิ่งที่ดีสาหรับมนุษย์ มโนธรรมนี้ถือว่าเป็นคุณสมบัติพิเศษที่มีอยู่ในตัวมนุษย์ มโนธรรมมีลักษณะเป็นสากล มโนธรรมเป็นสิ่งที่มีติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด ถามว่าแล้ว มนุษย์ได้มโนธรรมมาจากไหน? สาหรับนักปรัชญาที่เชื่อพระเจ้าก็ตอบว่า พระเจ้าเป็นผู้ประทาน ให้พร้อมกับอินทรีย์ทั้งห้า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย บางพวกก็ถือว่า พระเจ้าประทานปัญญาให้แก่ มนุษย์ ทาให้มนุษย์สามารถสัมผัส ความจริง ความดี และความงามที่ถูกต้อง สาหรับพวกที่ไม่เชื่อ ในพระเจ้าก็ถือว่า มโนธรรมเป็นคุณสมบัติพิเศษที่ทาให้มนุษย์สามารถพัฒนาตนเองจนเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ได้ และเมื่อมนุษย์ได้กลายเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ก็จะพบความจริงที่เป็นสากลได้ เหมือนกัน จนทาให้เห็นเหมือนกันว่า การฆ่า การลักขโมย การประพฤติผิดในกาม การพูดเท็จ เป็นสิ่งไม่ดี แต่การที่มนุษย์ปุถุชนนั้น เห็นความเป็นจริงที่แตกต่างกัน ก็เกิดมาจากการพัฒนามโน ธรรมที่แตกต่างไม่เท่ากัน และเกิดจากอารมณ์ ได้แก่ โลภ โกรธ หลง มาปิดบังใจ ทาให้เห็นดีเป็น ชั่ว เห็นถูกเป็นผิด มโนธรรมจะมีลักษณะแฝง ซึ่งจะต้องพัฒนาจึงจะเจริญเติบโตได้เต็มที่ ตัวอย่าง ที่เห็นได้ชัดที่พอจะเปรียบเทียบให้เห็นก็คือ เด็กที่หัดเดินตั้งไข่ แม้จะมีขาทั้งสองเหมือนผู้ใหญ่ แต่ก็ ยังเดินได้ไม่คล่อง แต่ในที่สุดก็จะเดินคล่องเหมือนผู้ใหญ่ มโนธรรมก็มีลักษณะเดียวกัน ต้องอาศัย การฝึกฝนพัฒนา เพราะฉะนั้น การที่คนต่างเผ่ามีความเห็นแตกต่างกัน ก็ไม่ใช่เพราะไม่มีความ จริงที่ถูกต้อง แต่เป็นเพราะมโนธรรมของแต่ละเผ่าแตกต่างกัน ระดับความเจริญทางสติปัญญาไม่ เท่ากัน 1.5 ประโยชน์นิยม (Utilitarianism) แนวคิดกลุ่มนี้ต้องการปฏิเสธระบบความคิดที่ ตายตัว ไม่สนใจแรงจูงใจอันเนื่องมาจากไม่สามารถมองเห็นได้ ดูแต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการ กระทาอย่างเดียว จึงเรียกแนวคิดนี้ว่า ทฤษฎีแนว อันตนิยม (Teleological Theory) เป็น แนวคิดที่อยู่ตรงกลางระหว่างแนวคิดที่เป็นอัตนิยมและอัญนิยม โดยถือว่าทุกคนเท่าเทียมกันหมด แนวคิดนี้เกิดขึ้นในปลายคริสตศตวรรษที่ 18 ถึงต้น คริสตวรรษที่ 19 โดยนักปรัชญาชาว อังกฤษ 2 คนคือ เจอเรมี่ เบนธัม ผู้เป็นอาจารย์ และจอห์น สจ๊วต มิลล์ ผู้เป็นลูกศิษย์ มิลล์ได้เขียนแนวคิดของเขาลงในงานเขียนอันมีชื่อว่า ลัทธิประโยชน์นิยม (Utilitarianism) ในปี ค.ศ.1861 ซึ่งแนวคิดของเขาเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า หลักมหสุข (The
  • 6. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 6 Greatest Happiness Principle) แนวคิดนี้สืบเนื่องมาจากการยึดความสุขเป็นเป้าหมายหลักใน ชีวิต หลักมหสุขในตอนแรกเรียกว่า ลัทธิประโยชน์นิยมแบบการกระทา (Act- Utilitarianism) โดยมีแนวคิดว่า การกระทาที่จะถือว่าถูกได้นั้น จะต้องเป็นการกระทาที่ ก่อให้เกิดความสุขแก่มหาชน ความผิดของการกระทาอยู่ที่ก่อให้เกิดความทุกข์แก่มหาชน โดยการ พิจารณามหสุขนั้นพิจารณาผลที่เกิดขึ้นจากการกระทาในแต่ละครั้ง การกระทาโดยตัวมันเองไม่ได้ ดี ชั่ว ถูก ผิด แต่ขึ้นอยู่กับว่ามันจะก่อให้เกิดประโยชน์แค่ไหน ลัทธินี้จึงสังกัดสุขนิยม เพราะถือว่า ความสุขเป็นสิ่งดีที่สุดของมนุษย์ ดีกับสุขเป็นเรื่องเดียวกัน ตัวอย่าง ตารวจจับนักเลงผู้มีอิทธิพล ได้และทราบว่า ถ้าส่งบุคคลนี้ขึ้นฟ้องศาลเขาจะต้องหลุดคดีแน่ จึงทาฆ่าทิ้งด้วยคิดว่า ถ้าถ้า ตารวจจับนักเลงผู้มีอิทธิพลได้และจากประจักษ์พยานทาให้มั่นใจได้ว่า เขาเป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลัง ความชั่วมากมาย จับมาดาเนินคดีก็หลุดรอดจากตารางไปได้ทุกครั้ง ดังนั้น การยิงทิ้งจึงเป็น วิธีการที่ดีที่สุด ถ้าตารวจทุกคนในโลกยึดหลักการนี้โลกจะเกิดความสงบอย่างแน่นอน แนวคิดนี้ เป็นแนวคิดที่มีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม ประโยชน์นิยมจะไม่สนใจแรงจูงใจหรือเจตนา ตัวอย่างเช่น การช่วยเหลือคนที่ตกน้าไม่ ว่าจะเกิดเพราะสงสารหรือหวังค่าตอบแทนมีผลเท่ากันคือดีเท่ากันเพราะช่วยเหลือชีวิตคน กลุ่มนี้ ตัดสินคนที่การกระทา การดูเจตนาดูได้ยากเพราะอยู่ข้างในใจคน การดูแรงจูงใจคือการดูอดีตของ การกระทา การดูผลคือการดูอนาคตของการกระทา หลักมหสุขบอกว่า “การกระทาที่ถูกคือการกระทาที่ก่อให้เกิดความสุขมากที่สุดแก่ มหาชนมากที่สุด” ดังนั้น ในทุกสถานการณ์และทุกสิ่งแวดล้อม เราจึงต้องเป็นนักคานวณ ตลอดเวลาว่า ในแต่ละการกระทาจะก่อให้เกิดความสุขและความทุกข์เท่าไหร่ เมื่อหักลบแล้ว ถ้า ก่อให้เกิดสุขมากกว่าทุกข์ นั้นเป็นสิ่งที่ควรทา ถ้าไม่ทาเราผิด เบนธัมเสนอแนวคิดว่า “ คนทุกคนมีค่าเท่ากับหนึ่งและไม่มีใครมีค่ามากกว่าหนึ่ง ” ส่วนมิลล์ผู้เป็นลูกศิษย์นั้นได้เสนอแนวคิดที่คล้ายกันว่า “ คนทุกคนมีสิทธิในความสุขเท่าๆ กัน ” ด้วยหลักการนี้วิธีการคานวณความสุขจึงต้องกระจายความสุขไปสู่คนทุกคน แนวคิดนี้จึงขัดแย้งกับ กลุ่มอัตนิยมที่เห็นแก่ตนและอัญนิยมที่เห็นแก่ผู้อื่นประโยชน์นิยมอยู่ตรงกลาง คือไม่ลดค่าตัวเอง น้อยกว่าผู้อื่นและก็ไม่ลดค่าผู้อื่นให้น้อยกว่าตน ในการคานวณความสุข ให้นับตนเองเป็นสมาชิกคน หนึ่งเท่าๆ กับคนอื่น อย่ามีฝักฝ่ายให้ทาตนเป็นตาชั่งที่เที่ยงตรง ตัวอย่างเช่น กาลังดูหนังสือสอบ เพื่อนเหงาชวนไปแทงสนุ๊กเกอร์ก็คานวณดูว่า ระหว่าง ไปเที่ยวกับเพื่อนกับอยู่ดูหนังสืออันไหนจะเกิดประโยชน์มากกว่ากัน การไปเที่ยวกับเพื่อน ความสุขคือการทาให้เพื่อนหายเหงา ส่วนการดูหนังสือนั้นมีประโยชน์มากกว่าเพราะทาให้เราไม่ ต้องสอบตก เหตุผลนี้ชาวประโยชน์นิยมเห็นด้วย หลักมหสุขไม่มีท่าทีเป็นศัตรูต่อศาสนาเลย ถ้าศาสนามีหลักคาสอนเพื่อประโยชน์สุขต่อ มนุษยชาติ ให้เมตตาเกื้อกูลกัน แต่ถ้าศาสนาดูถูกเหยียดหยามความสุขทางกาย หรือสอนให้คน เห็นแก่ตัวมุ่งกอบโกยความสุขเพื่อตนอย่างเดียว ท่าทีของหลักมหสุขที่มีต่อศาสนาจะเปลี่ยนเป็น ศัตรูทันที ในเรื่องของศีล 5 ก็เหมือนกัน เช่น การฆ่ามนุษย์ก็ไม่ได้เป็นความเลวในตัวของมัน แต่ขึ้นอยู่กับว่าจะเป็นประโยชน์ต่อมหาชนหรือไม่ การประหารชีวิตนักโทษที่มีความผิดรุนแรง ถ้า สังคมคิดว่าดีทาให้สังคมเป็นสุขมหสุขก็เอาด้วย แต่ถ้าสังคมคิดว่าการประหารนักโทษไม่เกิด ประโยชน์มีแต่ความสูญเสีย ควรหามาตรการอื่นมาลงโทษและควรยกโทษประหารชีวิตเสีย ถ้า ท่านมีเหตุผลที่ทาให้คนอื่นยอมรับได้ มหสุขก็พร้อมจะยืนอยู่เคียงข้างกับท่านทันที
  • 7. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 7 การตัดสินคุณค่าทางจริยธรรมพิจารณาจาก 5 ลัทธิ ได้แก่ 1.ปฏิบัตินิยมถือว่าสิ่งที่ดีมี คุณค่าต้องถูกนาไปปฏิบัติดูก่อนหรือทดลองดูก่อนนาไปใช้จริง การยอมรับในคุณค่าของสิ่งต่างต้อง ลงมือปฏิบัติก่อนสิ่งนั้นจึงจะมีคุณค่า 2. บริสุทธิ์นิยม กลุ่มนี้ถือว่า การตัดสินพฤติกรรมของมนุษย์ ผิดหรือถูกให้ดูที่เจตนาเป็นสาคัญ การกระทาที่เจตนาดีถือว่าถูกต้อง แต่ถ้าทาด้วยเจตนาที่ไม่ดีถือ ว่าผิด 3.สัมบูรณ์นิยม กลุ่มนี้ถือว่า การกระทาอะไรก็ตามจะมีลักษณะที่บ่งบอกดีชั่วในตัวของมัน เอง มีสูตรเหมือนคณิตศาสตร์ ใช้มโนธรรมเป็นเครื่องมือในการตัดสินว่าอะไรถูกหรือผิด (หิริและ โอตตัปปะ) ซึ่งมีอยู่ในทุกคนไม่มีใครบอกเราก็รู้สึกได้ 4. ประโยชน์นิยม กลุ่มนี้ถือว่า การกระทาก็ แล้วแต่ดีหรือไม่ดีให้พิจารณาว่ามีประโยชน์หรือไม่และมีประโยชน์แก่คนหมู่มากหรือไม่ มีประโยชน์ ยาวนานหรือไม่ ดูที่ผลเกิดขึ้นว่ามีประโยชน์หรือไม่ กลุ่มนี้ตรงข้ามกับบริสุทธิ์นิยม เพราะบริสุทธิ์ นิยมไม่ได้ดูที่ผลแต่ดูที่เจตนาเวลานามาตัดสินพฤติกรรมทางจริยธรรม 2. เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมโดยรวม เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรมทั้ง 5 กลุ่มดังกล่าวจะอยู่ จะอยู่ในกรอบของแนวคิด เกี่ยวกับการตัดสินคุณค่าทางจริยธรรม 3 กลุ่มใหญ่ คือ 1. อัตวิสัยนิยม (Subjectivism) นักปราชญ์กลุ่มหนึ่งเห็นว่า การตัดสินคุณค่าใน เชิง คุณภาพนั้นเป็นเรื่องเฉพาะตัว จึงไม่มีกฎเกณฑ์ใด ๆ มาตัดสินได้ เพราะไม่สามารถแสดงค่าเป็นเชิง ปริมาณได้ เช่น ขนาด น้าหนัก ปริมาตร ฯลฯ เห็นได้ง่าย ๆ จากการที่คนเราเลือกชื่นชมศิลปะ ต่าง ๆ รูปภาพรูปหนึ่งอาจสวยมากสาหรับคนหนึ่ง แต่สาหรับอีกคนหนึ่งเห็นว่าภาพนี้ดูไม่ได้เลยก็ได้ แนวคิดแบบอัตวิสัยนิยมได้แก่ แนวความคิดของพวกโซฟิสท์ (Sophist) ซึ่งเห็นว่ามนุษย์เป็น เครื่องวัดสรรพสิ่ง พวกประสบการณ์นิยม (Empiricism) เห็นว่าการตัดสินคุณค่าเป็นเรื่องของ รสนิยม (taste) ซึ่งเป็นผลจากการสะสมประสบการณ์ของแต่ละคน เป็นต้น ตัวอย่างที่ชัดเจน คือ คือการตัดสินคุณค่าเกี่ยวกับการไพเราะของเพลง ซึ่งจะเห็นได้ว่าการตัดสินเป็นไปตามยุคสมัย การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ตลอดจนพื้นภูมิความหลังของแต่ละบุคคล การไพเราะที่เปลี่ยนไปตาม ยุคสมัย เช่น ในช่วงหนึ่งเพลงสุนทราภรณ์เป็นเพลงที่ได้รับความนิยมสูงสุด แต่ปัจจุบัน เพลงสุนท ราภรเป็นเพลงที่นิยมฟังกันเฉพาะคนบางกลุ่ม ซึ่งส่วนมากเป็นผู้สูงอายุ ความไพเราะขึ้นอยู่กับการ โฆษณา ได้แก่ การออกอากาศทางวิทยุ หรือโทรทัศน์ให้บ่อย คนฟังจะเกิดความคุ้นเคยและรู้สึก ไพเราะไปเอง เช่น เพลงของนักร้องหลาย ๆคนในปัจจุบัน ส่วนพื้นภูมิความหลังของแต่ละบุคคล ได้แก่ ความชอบประเภทของเพลง เช่น ผู้เติบโตจากสังคมชนบทอาจซาบซึ้งเนื้อเพลงท่วงทานอง เพลงลูกทุ่ง ในขณะที่ผู้เติบโตในเมืองใหญ่ ไม่เคยสัมผัสบรรยากาศธรรมชาติมาก่อน ก็ย่อมไม่ สามารถเข้าใจหรือเข้าถึงสภาพดังกล่าว 2. ปรวิสัยนิยม (Objectivism) ปรัชญากลุ่มนี้เห็นว่า การตัดสินคุณค่าต้องมีกฎเกณฑ์ มีแบบแผนอันแน่นอนตายตัว ซึ่งแบบแผนดังกล่าวอาจมีที่มาได้หลายทางตามแต่แนวคิดของลัทธิ นิยมนั้นๆ เช่น ค้านท์ (Immanuel Kant) นักปรัชญาชาวเยอรันที่เห็นว่าแบบแผนดังกล่าวคือ ความสานึกในหน้าที่ (Sense of Duty) อันเป็นสมบัติโดยธรรมชาติของมนุษย์ทุกคน หรืออย่าง มิลล์ (John Stewart Mill) นักปรัชญาชาวอังกฤษ ที่เห็นว่าหลักเกณฑ์ที่จะตัดสินคุณค่าคือ ผลประโยชน์ของคนส่วนมาก ส่วนเพลโต (Plato) นักปรัชญากรีกโบราณเห็นว่าแบบแผนหรือ กฎเกณฑ์ดังกล่าวคือ แบบ (Form) แห่งความสมบูรณ์ในโลกแห่งอุดมคติ (Idea) เป็นต้น ตัวอย่างการอ้างถึงการตัดสินคุณค่าที่ต้องมีกฎเกณฑ์ เช่น โรงเรียนมัยธมแห่งหนึ่งเป็นเจ้าภาพใน
  • 8. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 8 การจักการประกวดวาดภาพสาหรับนักเรียนมัธยมศึกษา ของจังหวัดนครราชสีมา และต้องให้เกิด ความยุติธรรมและเป็นกลางที่สุด จึงติดต่ออาจารย์จากสถาบันราชภัฎนครราชสีมาไปเป็นกรรมการ ตัดสินการประกวดวาดภาพดังกล่าว นักศึกษาคิดว่าคนที่มาเชิญอาจารย์ไปตัดสินในครั้งนี้จะเลือก เชิญอาจารย์จากภาควิชาใด ในสถาบันราชภัฎนครราชสีมา นักศึกษาส่วนมากตอบว่าเชิญอาจารย์ จากภาควิชาศิลปะ คงมีจานวนน้อยที่บอกว่าเชิญอาจารย์จากภาควิชาพลศึกษา เกษตรศาสตร์ หรือ คอมพิวเตอร์ ไปเป็นกรรมการตัดสินภาพวาดปรากฏการณ์นี้แสดงว่า โดยสามัญสานึกแล้ว การ เชิญกรรมการตัดสินประกวดวาดภาพ ควรเชิญอาจารย์ทางด้านศิลปะ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความ เชี่ยวชาญ หรือความชานาญด้านวาดภาพมากกว่าอาจารย์จากภาควิชาอื่น ซึ่งแสดงว่า การตัดสิน ความงาม หรือการตัดสินผลงานศิลปะนั้น ก็ต้องมีทฤษฎีทางศิลปะบางประการ ซึ่งอาจารย์ศิลปะรู้ มากกว่าคนอื่น นั่นก็แสดงว่าการตัดสินต้องมีกฎเกณฑ์บางอย่าง ตามแนวความคิดแบบปรวิสัยนิยม 3. สัมพัทธนิยม (Relativism) นักปรัชญาอีกกลุ่มหนึ่งพยายามวิเคราะห์การโต้แย้งของ ปรัชญาทั้งสองฝ่าย แล้วสังเคราะห์ความสัมพันธ์เข้าด้วยกัน จนสรุปได้ว่า การตัดสินคุณค่าต้อง ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนสาคัญ คือ (1) รสนิยมและความรู้ความสามารถของ ผู้ตัดสิน (2) วัตถุหรืออารมณ์ของการตัดสิน (ทั้งที่เป็นรูปธรรมเช่นความดีและที่เป็นนามธรรม เช่น ความงาม) (3) สถานการณ์ซึ่งมีการตัดสินเกิดขึ้น และสถานการณ์นี้เองเป็นตัวแปรที่ทาให้การ ตัดสินไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอนตายตัว เราจึงเห็นว่าพวกสัมพัทธนิยมมีลักษณะใกล้เคียงกับอัตวิสัย นิยม มากกว่าพวกปรวิสัยนิยม อย่างไรก็ตาม สัมพัทธนิยมแตกต่างจากอัตวิสัยนิยม เพราะสัมพัทธ นิยมให้ความสาคัญกับสถานการณ์ และมีความเชื่อว่าหากการตัดสินเกิดขึ้นในสถานการที่มีเงื่อนไข คล้ายกันโดยคนตัดสินที่มีรสนิยมคล้ายกันการตัดสินอาจสรุปคล้ายกันก็ได้ (ทองพูล บุณยมาลิก, 2535 : 124) 3.พฤติกรรมที่ไม่สามารถนามาใช้ในการตัดสินเชิงจริยศาสตร์ แม้ว่าจริยศาสตร์จะเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการตัตสินคุณค่าพฤติกรรมของมนุษย์ว่าอะไรถูก อะไรไม่ถูก อะไรควร และอะไรไม่ควร แต่ไม่ใช่ว่าทั้งหมดนั้นจะนามาตัดสินในเชิงพฤติกรรมของ มนุษย์ได้ ถึงสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. การกระทาของคนรู้เท่าไม่ถึงการณ์ คือ คนที่ไม่มีเจตนาดีแต่ความเข้าใจผิดหรือไม่มี ความรู้ หยิบยาพิษให้เพื่อนดื่มกินเข้าใจว่าเป็นยาแก้ปวดท้องถือว่าจะจัดตัดว่าเขาไม่ดีไม่ได้แต่เป็น การกระทาเพราะความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จึงตัดสินพฤติกรรมไม่ได้ 2. การกระทาของบ้าหรือสติไม่ปกติ คือ พฤติกรรมของคนบ้า คนบ้าย่อมไม่รู้ว่าอะไร ถูกอะไรผิด อะไรควรทา อะไรควรพูด อะไรไม่ควรทา อะไรไม่ควรพูดเป็นต้น เพราะเขาเป็นคนบ้า จึงนามาตัดสินว่าพฤติกรรมในเชิงจริยศาสตร์ไม่ได้ 3. การกระทาของคนหลับละเมอ คนหลับและละเมอ คือ เป็นการกระทาด้วยเจตนาไม่ แต่เป็นการกระทาที่ไม่รู้ตัว ก็ไม่สามารถนามาตัดสินพฤติกรรมในเชิงจริยศาสตร์ได้ 4. การกระทาของคนที่ถูกบังคับ การกระทาเพราะถูกบัง ก็ไม่สามารถนามาตัดสินใน เชิงจริยธรรมได้เพราะเข้าไม่เป็นอิสระ ไม่มีเจตนา การกระทาที่ไม่มีเจตนามุ่งผลโดยตัวเขาเอง ก็ไม่ สามารถนามาตัดสินในเชิงจริยศาสตร์ได้ สรุป การตัดสินไม่ว่าจะเป็นการตัดสินในทัศนะของกลุ่มนักปรัชญาลัทธิต่างๆ ทั้ง 5 ลัทธิ นั้นก็ตาม เมื่อย่อลงแล้วก็อยู่ในกลุ่มของการตัดสินโดยยึดตนเองเป็นที่ตั้ง ยึดเกณฑ์หลักที่ตายตัว
  • 9. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 9 และยึดสภาพแวดล้อมเป็นตัวกาหนดเท่านั้น แต่พฤติกรรมของบุคลที่จะนาเองทฤษฎีทางจริย ศาสตร์ไปตัดสินไม่ได้ก็มี อย่างกล่าวแล้วข้างต้น นอกจากนั้นจริยศาสตร์ยังมีพื้นฐานทางจิตวิทยา ของจริยศาสตร์ การกระทาต่าง ๆเราไม่อาจพิจารณาตัดสินในทางศีลธรรมได้ในทุกกรณีไป เช่น การทาของเด็กไร้เดียงสา คนบ้า คนเสียสติ เป็นต้น ดังนั้น การพิจารณาตัดสินทางจริยธรรมจึง จาเป็นต้องคานึงถึงความพร้อมหรือสภาพจิตใจของผู้กระทาการในขณะนั้น ๆด้วย ซึ่งมีประเด็น สาคัญควรพิจารณาดังนี้ 1. เจตนา (Will) หรือความจูงใจ คือการกระทาโดยเจตนา และเจตนาในที่นี้เกิดจาก ความต้องการ ความอยากและความปรารถนา 2. แรงจูงใจ (Motive) คือแรงจูงใจหรือสิ่งจูงใจให้บุคคลกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มิลล์กล่าว ว่า แรงจูงใจคือความรู้สึกที่ทาให้บุคคลจงใจทา แมคแคนซี่ กล่าวว่า แรงจูงใจในการกระทาที่ แท้จริง คือ ความรู้เห็นในจุดหมายคือ ความคิดเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน กรีน กล่าวว่า แรงจูงใจคือจุดมุ่งหมายซึ่งชักนาไปสู่การกระทาให้เป็นจริง 3. นิสัย (Habit) คือผลของการกระทาซ้า ๆในเรื่องใดเรื่องหนึ่งด้วยความสมัครใจหรือ ตั้งใจ เมื่อการกระทาใดกลายเป็นนิสัยแล้ว ก็เป็นการกระทาโดยไม่ต้องพยายามหรือตั้งใจ 4. อุปนิสัย (Character) คือความโน้มเอียงทางจิตใจอย่างถาวรของจิตใจ เป็นผล สืบเนื่องจากนิสัยและความจูงใจ 5. สถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อม (Circumstances) คือเหตุการณ์หรือสิ่งแวดล้อมซึ่งมี อิทธิพลต่อการกระทาของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นบุคคล สังคม เหตุการณ์ ธรรมชาติเป็นต้น(ศรัณย์ วงศ์ คาจันทร์,2526:152-155) แต่อย่างไรก็ตามแรงจูงใจดังกล่าวข้างต้นนี้ สามารถจะที่ใช้สาหรับตัดสินพฤติกรรมของ มนุษย์ย่อมอยู่ในขอบข่ายแรงจูงใจที่ชักนาไปสู่การกระทาของมนุษย์ ดังนั้นจริยศาสตร์ก็สามารถตัด พฤติกรรมของบุคคลผู้อยู่ภาวะปกติได้(คนที่มีความสมบูรณ์ด้วยความรู้เหตุผล เจตคติที่สมบูรณ์ สมบูรณ์ทางด้านสติปัญญาย่อมอยู่ในขอบข่ายที่จะนามาตัดสินได้)