SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้
เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
พระพุทธศาสนา
..............................................
(พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร.)
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ ............................................ประธานกรรมการ
(พระวิสุทธิภัทรธาดา, ดร.)
............................................กรรมการ
(พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร.)
............................................กรรมการ
(ผศ.รท.ดร. บรรจบ บรรณรุจิ)
............................................กรรมการ
(รศ.ดร. วัชระ งามจิตรเจริญ)
............................................กรรมการ
(ดร. ประพันธ์ ศุภษร)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร. ประธานกรรมการ
รศ.ดร. วัชระ งามจิตรเจริญ กรรมการ
ดร. ประพันธ์ ศุภษร กรรมการ
ข
ชื่อวิทยานิพนธ์ : การพัฒนาสังขารเพื่อการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท
ผู้วิจัย : พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร (คํากมล)
ปริญญา : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
: พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร. ป.ธ. ๙, M.A., Ph.D.
รศ. ดร. วัชระ งามจิตรเจริญ, ป.ธ. ๙, พธ.บ., M.A. (Philosophy), อ.ด.
(ปรัชญา)
ดร. ประพันธ์ ศุภษร, ป.ธ. ๗, พธ.บ., ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา),
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
วันเสร็จสมบูรณ์ : ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕
บทคัดย่อ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ข้อ คือ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องสังขารใน
พระพุทธศาสนาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องการพัฒนาสังขารในพระพุทธศาสนาเถรวาท
๓) เพื่อศึกษาวิเคราะห์กระบวนการของสังขารที่นําไปสู่การบรรลุธรรม
ผลการวิจัยพบว่า สังขารในพระพุทธศาสนามี ๓ ประเภท คือ สังขารในไตรลักษณ์
สังขารในขันธ์ ๕ และสังขารในปฏิจจสมุปบาท สังขารในไตรลักษณ์คลอบคุมสังขารทุกอย่าง เป็น
ทั้งรูปธรรมและนามธรรม สังขารในขันธ์ ๕ เป็นส่วนหนึ่งของสังขารในไตรลักษณ์ เป็นนามธรรม
อย่างเดียว ส่วนสังขารในปฏิจจสมุปบาท ก็คือสังขารในขันธ์ ๕ ที่เป็นภาคปฏิบัติการ (ได้แก่เจตนา)
ในวิทยานิพนธ์นี้เน้นศึกษาสังขารในขันธ์ ๕
กระบวนการพัฒนาสังขารที่พระพุทธองค์ทรงใช้ ในการสอน คือหลักไตรสิกขา คือ
อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญาสิกขา การพัฒนาสังขารมี ๒ ระดับ คือ ระดับโลกียะ มี
เป้ าหมายเพื่อให้ผู้เรียนดําเนินชีวิตอยู่ในโลกได้อย่างมีความสุข และระดับโลกุตตระ มีเป้ าหมาย
เพื่อให้ผู้เรียนหลุดพ้นจากการควบคุมของโลกหรือจากกิเลสทั้งหลาย ทั้ง ๒ ระดับเพื่อคน ๒ กลุ่ม
คือ เพื่อบรรพชิต และคฤหัสถ์ แต่ความเข้มข้นในภาคปฏิบัติต่างกัน เช่น บรรพชิต ห้ามเสพเมถุน
หรือห้ามมีเพศสัมพันธ์กับมนุษย์และสัตว์เดรัจฉาน ตลอดชีวิต ถ้าขืนทําลงก็ขาดจากความเป็นภิกษุ
ส่วนคฤหัสถ์มีเพศสัมพันธ์กับคู่ครองของตนได้แต่ห้ามนอกใจคู่ครองของตน สังขารมีบทบาทต่อ
การดําเนินชีวิตของมนุษย์เพราะพฤติกรรมต่างๆ ที่มนุษย์แสดงออกมาทางกาย วาจา และความคิด
ล้วนเกิดจากการปรุงแต่งของสังขาร พฤติกรรมจะดีหรือชั่วขึ้นอยู่กับการรับรู้โดยผ่านทางอายตนะ
ค
ภายในและอายตนะภายนอกมีผัสสะเป็นสื่อกลาง และผ่านมาถึงโวฏฐัพพนจิตที่ทําหน้าที่ตัดสิน
อารมณ์ ถ้าตัดสินด้วยโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยกุศลเจตสิก พฤติกรรมก็จะดีเป็นกุศล ถ้า
ตัดสินด้วยอโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยอกุศลเจตสิก พฤติกรรมก็จะชั่วเป็นอกุศล
กระบวนการทํางานของสังขารเพื่อการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนามี ๒ ระดับ คือ
ระดับฌานและระดับญาณ ทั้ง ๒ ระดับนี้ มีจิตอยู่ ๔ ดวงที่มีบทบาทสําคัญ คือ ดวงที่ ๑ เรียกว่า
บริกรรม ดวงที่ ๒ เรียกว่า อุปจาร ดวงที่ ๓ เรียกว่า โคตรภู ดวงที่ ๔ เรียกว่า อนุโลม หรือ อัปปนา
มีความหมายต่างกัน คือ บริกรรม หมายถึง จิตที่ใช้บริกรรมกรรมฐาน ระดับนั้นๆ เช่น สมถ-
กรรมฐานตามแนวปฐวีกสิณ บริกรรมว่า ปฐวี ปฐวี หรือ วิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน
สมัยใหม่ บริกรรมว่า พองหนอยุบหนอ เป็นต้น อุปจาร หมายถึง จิตที่เกิดขึ้นต่อจาก บริกรรม เป็น
จิตตั้งมั่นอยู่กับอารมณ์กรรมฐานใกล้จะถึงอัปปนา โคตรภู หมายถึง จิตที่เกิดขึ้นต่อจาก อุปจาร ถ้า
เป็นการบรรลุฌานหมายถึงจิตที่ข้ามพ้นกามาวจรภูมิ เข้าสู่รูปาวจรภูมิ ถ้าเป็นการบรรลุญาณ
หมายถึงจิตที่ข้ามพ้นความเป็นปุถุชน เข้าสู่ความเป็นอริยบุคคล ส่วนอนุโลมหรืออัปปนา เป็นจิตที่
เกิดขึ้นต่อจากโคตรภู ถ้าเป็นการบรรลุฌานเป็นจิตที่บรรลุปฐมฌาน ถ้าเป็นการบรรลุญาณหมายถึง
จิตที่เห็นไตรลักษณ์ยึดเอาสังขารทั้งหลายเป็นอารมณ์ คล้อยตามญาณทั้ง ๘ ประการเบื้องหลัง คือ
ตั้งแต่ญาณที่ ๕ อุทยัพยญาณ จนถึงญาณที่ ๑๒ คือสังขารุเปกขาญาณ และอนุโลมหรือคล้อยตาม
โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการเบื้องหน้าหรือเบื้องบน จิตที่เกิดต่อจากอนุโลม เรียกว่า มรรคจิตหรือ
มรรคญาณ เกิดขึ้นตัดกิเลสทั้งหลายตามกําลัง หมายความว่า ถ้ามีกําลังมากก็ตัดกิเลสได้มาก ถ้ามี
กําลังน้อยก็ตัดกิเลสได้น้อย ขณะมรรคจิตเกิดขึ้นองค์ธรรม ๑๔ ประการในโพธิปักขิยธรรม คือ สติ
วิริยะ ฉันทะ ปัญญา สัทธา เอกัคคตา ปี ติ กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ ตัตตรมัชฌัตตตา วิตก
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จะเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกว่า สามัคคีมรรคหรือมัคคสมังคี
ง
Thesis Title : The Development of The Saṃkhāra for The attainment in Theravāda
Buddhism
Researcher: : Phramaha Dhanindra Āditavaro (Khamkamol)
Degree : Doctor of Philosophy (Buddhist Studies)
Thesis Supervisory Committee
: Asst. Prof.Dr. Phra Suthithammanuwat, Pali IX, M.A., Ph.D.
Assoc. Prof. Dr. Watchara Ngamchijjarern, Pali IX, B.A.
(Buddhist Studies), M.A. (Philosohpy), Ph.D. (Philosophy)
Dr. Prapan Supasorn, Pali VII, B.A., M.A. (Buddhist Studies), Ph.D.
(Buddhist Studies)
Date of Completion : May 20, 2012
ABTRACT
The dissertation has 3 objectives namely; (1) to study the concept of Saṃkhāra in
Theravāda Buddhism 2) to study the concept of the development of Saṃkhāra in Theravāda
Buddhism 3) to study and analyze the process of Saṃkhāra leading to the attainment.
From the research, it is found that there are 3 types of Saṃkhāra in Buddhism, i.e
Saṃkhāra in the Three Characteristics, Saṃkhāra in the Five Aggregates and Saṃkhāra in the
Dependent Origination. Saṃkhāra in the Three Characteristics covers all aspects both objects and
subjects. Saṃkhāra in the Five Aggregates is part of Saṃkhāra in the Three Characteristics with
its subject only. Saṃkhāra in the Dependent Origination is the action of Saṃkhāra in the Five
Aggregates (cetanā). This dissertation is emphasized on studying only the Saṃkhāra in the Five
Aggregates.
The process of development of Saṃkhāra that the Buddha used in his teaching is the
ThreeFold Trainings which are Adhisīla-sikkhā, Adhicitta-sikkhā and Adhipaññā-sikkhā. There
are 2 levels of development of Saṃkhāra, one is the Lokiya level that the goal for the learners is
to know how to live their lives happily in the present world, and the other is the Lokuttara level
that the goal for the learners is to get free from the world’s restraint or free from all kilesas. Those
two levels are for two different groups, i.e. the lay people and the Pabbajita, though the strictness
จ
for each level is different. For example, the Pabbajita cannot have sex with humans or animals,
but if they do, they will free from Bhikkhu. The lay people can have sex with their couples but
they are prohibited unfaithful themselves couples. Saṃkhāra plays a role for human living
because the different behaviors that express by body, speech and mind will come about
Saṃkhāra. The behavior will be good or bad depending on the perception through the sense-
organs and sense-objects by having the phassa as the medium and sending it to Voṭṭhabbana citta
to make decision on ārammaṇa. If the decision is made with Yonisomanasikāra and consists of
kusala cetasika, the behavior will be good and be kusala. If the decision is made with
Ayonisomanasikāra and consists of akusala cetasika, the behavior will be bad and be akusala.
The working process of Saṃkhāra to attainment in Buddhism has two levels which
are jhāna and ñāṇa levels. Both levels have 4 cittas which play a major role as the following; the
first up to the fourth citta are called Parikamma, Upacāra, Gottarabhū and Anuloma or Appanā,
respectively. Parikamma means citta using the parikamma meditation; for example, Samatha-
kammaṭṭhāna based on Paṭhavī-kasina will parikamma as paṭhavī, paṭhavī or Vipassanā-
kammaṭṭhāna based on modern Satipaṭṭhāna will parikamma as rising, falling, etc. Upacāra means
citta arises beyond parikamma, citta will be concentrated on ārammaṇa-kammaṭṭhāna nearly
Appanā. Gottarabhū means citta arises beyond upacāra. If citta attained to jhāṇa, it means citta is
crossing the Kāmāvacarabhūmi to Rūpā-vacarabhūmi. If citta attained to ñāṇa, it means citta is
crossing the puthujjana to ariyapuggala. Anuloma or Appanā means citta arises beyond Gottarabhū.
If citta attained to jhāna, it means it begins to attain Paṭhamajhāna onward. Saṃkhāra or dhamma
that occurs in jhāna has 5 types; i.e., Vitakka, Vicāra, Pīti, Sukha, and Ekaggatā. This dhamma
will be gradually reduced in sequence; for example, Dutiyajhāna will be Vicāra, Pīti, Sukha, and
Ekaggatā. Tatiyajhāna will be Pīti, Sukha, and Ekaggatā. Catutthajhāna will be Sukha and
Ekaggatā. If citta attained to ñāṇa, it means citta sees the Tilakkhaṇa hold ind all the Saṃkhāras to
be ārammaṇa according to the 8 ñāṇas, it begins at ñāṇa 5th
Udayabbayañãna till ñāṇa 12th
Saṃkhārupekkhāñāṇa. Anuloma will comply with Bodhipakkhiya-dhammas 37 at front or upper
level. Citta that arises from Anuloma called Magga-citta or Magga-ñāṇa which arises to kill all
kilesas based upon its power, it means if there is more power, it will kill more kilesas, but if it has
less power, then it will kill less kilesas starting at Sotāpattimagga till Arahattamagga. While
Magga-citta arises, Saṃkhāra or 14 dhammas in Bodhipakkhiya-dhamma 37; i.e., Sati, Viriya,
ฉ
Chanda, Paññā, Saddhā, Ekaggatā, Pīti, Kāyapassaddhi, Cittapassaddhi, Tatramajjhattatā, Vitakka,
Sammāvācā, Sammākammanta, Sammāājīva, will be arisen all together which called
Sāmaggīmagga or Maggasamaṅgī.
ช
กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธ์เล่มนี้สําเร็จลงได้เพราะได้รับความร่วมมือและความเมตตานุเคราะห์จาก
บุคคลหลายฝ่าย ผู้วิจัยขอระบุนามไว้เพื่อแสดงความขอบคุณดังต่อไปนี้
พระสุธีธรรมานุวัตร คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ พระพิฒน์
จริยาลังการ (บุญชู เขมปุ�ฺโญ ป.ธ. ๗) เจ้าอาวาสวัดปรินายกวรวิหาร ที่อนุญาตให้ลากิจของสงฆ์
ภายในวัดทําให้ผู้วิจัยมีเวลาทํางานอย่างเต็มที่ พระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต ป.ธ. ๗) เจ้า
คณะจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นพระอาจารย์รูปแรกที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาภาษาบาลี จนเป็นพื้นฐานให้
มีโอกาสเรียนจนถึงระดับสูง รศ.ดร. วัชระ งามจิตรเจริญ ดร. ประพันธ์ ศุภษร อาจารย์ที่ปรึกษาที่
คอยตรวจแก้งานและให้คําแนะนําที่เป็นประโยชน์ ผศ.รท. ดร. บรรจบ บรรณรุจิ ผู้วิจารณ์
วิทยานิพนธ์ตอนนําเสนอวิทยานิพนธ์ต่อสาธารณะ และเป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ได้แนะนํา
แนวทางการเขียนวิทยานิพนธ์จนเป็นผลสําเร็จ รศ. ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร ช่วยตรวจแก้บทคัดย่อ
ภาษาอังกฤษ พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต เพื่อนร่วมรุ่นที่ช่วยแปลบทคัดย่อภาษาอังกฤษ คุณ
อรทัย มีแสง นิสิตปริญญาเอก รุ่นที่ ๖ ที่ช่วยแปลบทคัดย่อภาษาอังกฤษ คุณพูนสุข มาศรังสรรค์
เพื่อนร่วมรุ่นช่วยตรวจแก้บทคัดย่อภาษาอังกฤษ พระครูใบฎีกาสนั่น ทยรกฺโข ผู้อํานวยความ
สะดวกเรื่องข้อมูล เจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัยทุกท่าน และเจ้าหน้าที่ห้องสมุดทุกท่าน คุณศุภกร ถิร
โรจน์กุล คุณทักษภร สง่าชาติ ผู้ถวายความอุปถัมภ์ทุนการศึกษาและอํานวยความสะดวกทุกอย่าง
ที่จําเป็นต่อการทําวิทยานิพนธ์เช่น เรื่องยานพาหนะ ภัตตาหาร สถานที่พักทํางาน (ถวายค่าห้องพัก
ขณะที่ผู้วิจัยเข้าพักจําพรรษาอยู่ที่อาคารรับรองอาคันตุกะ ๙๒ ปี ปัญญานันทะ ที่ มจร. วังน้อย)
เป็นต้น โยมแม่สุรีย์ มณีรัตน์ ถวายทุนการศึกษาและคอยให้กําลังใจ คุณยายราตรี สง่าชาติ ผู้ดูแล
เรื่องภัตตาหารเช้า เพล ขณะที่พักทํางานอยู่ที่บ้านเขตดอนเมือง นางคําพูล ภารสถิตย์ นายพัฒนพล
คํากมล แม่ชีกมลพรรณ คํากมล แม่ชีกมลพร คํากมล พี่สาว พี่ชาย และน้องสาว เป็นผู้ให้
กําลังใจและช่วยเหลืองานตลอดมา
บุญกุศลและคุณงามความดีทั้งหลายที่เกิดจากการทําวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ข้าพเจ้าขอถวาย
เป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา และขออุทิศให้แก่โยมบิดามารดา คือโยมพ่อพิมพ์ คํากมล แม่ชี
ทองสี (ยุบลมาตย์) คํากมล ที่ล่วงลับไปแล้ว และขอมอบให้ท่านผู้มีพระคุณ ผู้มีบุญคุณทั้งหลายที่
ได้กล่าวมาในเบื้องต้นนี้ ด้วยอานุภาพแห่งบุญกุศลนี้ ขอจงเป็นพลวปัจจัย เป็นอุปนิสัยสนับสนุน
ให้ข้าพเจ้าเกิดสติปัญญาญาณ ได้บรรลุมรรคผลนิพพาน ในอนาคตกาลอันใกล้นี้เทอญ.
พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร
๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕
ซ
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ข
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ง
กิตติกรรมประกาศ ฉ
สารบัญ ช
สารบัญตาราง ญ
สารบัญภาพ ฎ
คําอธิบายสัญลักษณ์และอักษรย่อ ฏ
บทที่ ๑ บทนํา ๑
๑.๑ ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ๑
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๓
๑.๓ ปัญหาที่ต้องการทราบ ๔
๑.๔ ขอบเขตของการวิจัย ๔
๑.๕ คําจํากัดความของศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย ๔
๑.๖ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๕
๑.๗ วิธีดําเนินการวิจัย ๑๐
๑.๘ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐
บทที่ ๒ หลักคําสอนเรื่องสังขารในพระพุทธศาสนาเถรวาท ๑๒
๒.๑ ความหมายและลักษณะของสังขาร ๑๒
๒.๑.๑ ความหมายของสังขารตามสัททศาสตร์ ๑๒
๒.๑.๒ ความหมายและลักษณะของสังขารในไตรลักษณ์ ๑๔
๒.๑.๒ ความหมายและลักษณะของสังขารในขันธ์ ๕ ๑๗
๒.๑.๓ ความหมายและลักษณะของสังขารในปฏิจจสมุปบาท ๒๑
๒.๒ ประเภทของสังขาร ๒๔
๒.๒.๑ ประเภทของสังขารในไตรลักษณ์ ๒๕
๒.๒.๒ ประเภทของสังขารในขันธ์ ๕ กับเจตสิกในคัมภีร์ฝ่ายอภิธรรม ๒๘
๒.๒.๓ ประเภทของสังขารในปฏิจจสมุปบาท ๓๔
ฌ
๒.๔ บทบาทของสังขารที่มีต่อการดําเนินชีวิตของมนุษย์ ๓๕
บทที่ ๓ กระบวนการพัฒนาสังขารในพระไตรปิฎกและอรรถกถา ๔๗
๓.๑ กระบวนการพัฒนาสังขารในพระไตรปิฎกและอรรถกถา ๔๗
๓.๒ เป้าหมายของการพัฒนาสังขารในพระพุทธศาสนา ๕๒
๓.๓ ระดับขั้นการพัฒนาสังขารในพระพุทธศาสนา ๕๓
๓.๓.๑ ขั้นโลกียะ ๕๓
ก. หลักการเพื่อบรรพชิต ๕๔
ข. หลักการเพื่อคฤหัสถ์ ๕๖
๓.๓.๒ ขั้นโลกุตตระ ๕๙
๓.๔ การพัฒนาสังขารตามหลักไตรสิกขา ๕๙
๓.๔.๑ การพัฒนาสังขารตามหลักศีล ๖๐
๓.๔.๒ การพัฒนาสังขารตามหลักสมาธิ ๖๖
๓.๔.๓ การพัฒนาสังขารตามหลักปัญญา ๗๐
๓.๕ ไตรสิกขาที่เป็นกุศลกรรมบถและเป็นองค์มรรค ๗๘
๓.๖ ผลที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาสังขารตามหลักไตรสิกขา ๘๐
๓.๖.๑ ญาณ ๑๖ ๘๐
๓.๖.๒ โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ๙๐
บทที่๔วิเคราะห์กระบวนการของสังขารที่นําไปสู่การบรรลุธรรม ๙๗
๔.๑ กระบวนการทํางานของสังขารในขันธ์ ๕ ๙๗
๔.๑.๑ กระบวนการทํางานร่วมกันของสังขารฝ่ายกุศล ๙๘
๔.๑.๒ กระบวนการทํางานร่วมกันของสังขารฝ่ายอกุศล ๑๐๐
๔.๒ กระบวนการการทํางานของเจตสิกตามแนวคิดฝ่ายอภิธรรม ๑๐๒
๔.๓ กระบวนการทํางานของสังขารในการบรรลุธรรม ๑๐๕
๔.๓.๑ กระบวนการบรรลุธรรมระดับฌาน ๑๐๕
๔.๓.๒ กระบวนการบรรลุธรรมระดับญาณ ๑๐๗
๔.๓.๓ อุปมาของกระบวนการบรรลุธรรม ๑๑๕
บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ๑๑๘
๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๑๑๘
๕.๒ ข้อเสนอแนะ ๑๒๐
ญ
๕.๒.๑ ข้อเสนอแนะเพื่อนําไปใช้ประโยชน์ ๑๒๐
๕.๒.๒ ข้อเสนอแนะเพื่อการทําวิจัยครั้งต่อไป ๑๒๒
บรรณานุกรม ๑๒๓
ประวัติผู้วิจัย ๑๓๐
ฎ
สารบัญตาราง
เรื่อง หน้า
ตารางที่ ๑ : ตารางแสดงการจําแนกเจตสิก ๕๐ ตามคัมภีร์วิสุทธิมรรค ๓๒
ตารางที่ ๒ : ตารางแสดงการจําแนกเจตสิก ๕๐ ตามคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ ๓๓
ฏ
สารบัญภาพ
เรื่อง หน้า
ภาพที่ ๑ : แผนภูมิกระบวนการทํางานของเจตสิกฝ่ายอภิธรรม ๑๐๓
ฐ
คําอธิบายสัญลักษณ์และคําย่อ
๑. การใช้หมายเลขย่อ
ก. พระไตรปิฎกภาษาบาลี - ไทย
การอ้างอิงในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีของมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๐๐ และพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย ๒๕๓๙ การอ้างอิงใช้ระบบระบุ เล่ม /ข้อ /หน้า หลังคําย่อชื่อคัมภีร์ เช่น ที.ม.
(บาลี) ๑๐/๑๖๔/๕๔, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๖๔/๑๐๙. หมายถึง ทีฆนิกาย มหาวรรค ภาษาบาลี เล่มที่ ๑๐
ข้อที่ ๑๖๔หน้า๕๔ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ๒๕๐๐ และทีฆนิกายมหาวรรค ภาษาไทยเล่มที่ ๑๐ ข้อที่
๑๖๔ หน้า ๑๐๙ ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๓๙
ข. อรรถกถาภาษาบาลี - ไทย
ส่วนอรรถกถาภาษาบาลี ใช้อ้างอิงจากฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยเทียบเคียง
กับอรรถกถาภาษาไทยฉบับของมหามกุฏราชวิทยาลัย
ในกรณีมีเลข ๒ ตอน หมายถึง เล่ม หน้า เช่น
ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๒๖๖ หมายถึง มชฺฌิมนิกาย ปป�ฺจสูทนี มูลปณฺณาสกอฏฺฐกถา
ภาษาบาลี เล่ม ๑ หน้า ๒๖๖ ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐกถา
ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๒๖๖ หมายถึง มัชฌิมนิกาย ปปัญจสูทนี มูลปัณณาสก์อรรถกถา
เล่ม ๑ หน้า ๒๖๖ ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย ๒๕๒๕
ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๔/๓๘๕ หมายถึง ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทอฏฺฐกถา ภาษาบาลี ภาค ๔ หน้า
๓๘๕ ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐกถา
ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๔/๓๘๕ หมายถึง ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา ภาค ๔ หน้า ๓๘๕
ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
ถ้ามี เลข ๓ ตอน หมายถึง ภาค เรื่อง หน้า เช่น ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๘/๑๒๘ หมายถึง
ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา ภาค ๑ เรื่องที่ ๘ หน้า ๑๒๘
ถ้ามีเลข ๔ ตอน หมายถึง เล่ม ภาค ตอน หน้า เช่น ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๒/๑/๓๒๓
หมายถึง ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา เล่ม ๑ ภาค ๑ ตอน ๑ หน้า ๓๒๓
ค. ปกรณวิเสสภาษาบาลี - ไทย
มิลินฺท. (บาลี) ๕/๑๑๐, ๑๑๐-๑๑๒ หมายถึง มิลินฺทป�ฺหปกรณ ข้อ ๕ หน้า ๑๑๐, หน้า
๑๑๐ ถึง ๑๑๒ ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ฑ
มิลินฺท.(ไทย)๕/๑๑๐,๑๑๐-๑๑๒หมายถึงมิลินทปัญหา ข้อ ๕ หน้า ๑๑๐, หน้า ๑๑๐ ถึง
๑๑๒ ฉบับแปลในมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิสุทฺธิ. (บาลี) ๓๓๓/๓๔๔ หมายถึง วิสุทฺธิมคฺคปกรณ ข้อ ๓๓๓ หน้า ๓๔๔ ฉบับมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิสุทฺธิ. (ไทย) ๓๓๓/๓๔๔ หมายถึง คัมภีร์วิสุทธิมรรค ข้อ ๓๓๓ หน้า ๓๔๔ ฉบับ
๑๐๐ ปี สมเด็จพระพุฒาจารย์(อาจ อาสภมหาเถร)
ง. อรรถกถาปกรณวิเสสภาษาบาลี - ไทย
อรรถกถาปกรณวิเสส ภาษาบาลี จะแจ้งเล่ม หน้าที่ไม่จัดเป็นลําดับเล่มจะแจ้งหน้าเช่น
สงฺคห (บาลี) ๗ หมายถึง อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิ ใน อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห
อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา หน้า ๗ ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
สงฺคห (ไทย) ๗ หมายถึง อภิธัมมัตถสังคหะหน้า ๗ ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
จ. ฎีกาปกรณวิเสสภาษาบาลี - ไทย
ฎีกาปกรณวิเสส ภาษาบาลี จะแจ้งเล่ม หน้าที่ไม่จัดเป็นลําดับเล่ม จะแจ้งหน้าเช่น
วิภาวินี (บาลี) ๑๖๒ หมายถึง อภิธมฺมตฺถวิภาวินีฏีกา ใน อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห
อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา หน้า ๑๖๒ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิภาวินี. (ไทย) ๕๗ หมายถึง อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา หน้า ๕๗ แปลโดย พระธรรม-
วโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.ธ. ๙), เอกสารประกอบการเรียนการสอน,รวบรวมโดย พระมหา
ชะลอปิยาจาโร และคณะ
ฒ
๒. การใช้อักษรย่อ
พระวินัยปิฎก
วิ.มหา. (บาลี) = วินยปิฎก มหาวิภงฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
วิ.มหา. (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวิภังค์(ภาษาไทย)
วิ.ม. (บาลี) = วินยปิฎก มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
วิ.ม. (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวรรค (ภาษาไทย)
พระสุตตันตปิฎก
ที.สี. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ฑีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ที.สี. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ฑีฆนิกาย สีลขันธวรรค (ภาษาไทย)
ที.ปา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ฑีฆนิกาย ปาฏิกวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ที.ปา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ฑีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย)
ม.มู. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏกมชฺฌิมนิกายมูลปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี)
ม.มู. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์(ภาษาไทย)
สํ.ส. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก สํยุตฺตนิกาย สคาถวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
สํ.ส. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย)
สํ.สฬา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏกสํยุตฺตนิกาย สฬายตนวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
สํ.สฬา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค (ภาษาไทย)
องฺ.ทุก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย ทุกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.ทุก. (ไทย) = สุตตันตปิฏก อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต (ภาษาไทย)
ข.ธ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ธ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท (ภาษาไทย)
อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก
องฺ.ทุก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี ทุกนิบาตอรรถกถา
(ภาษาไทย)
ขุ.ธ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทอฏฺฐกถา (ภาษาบาลี)
ขุ.ธ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา (ภาษาไทย)
ณ
อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก
อภิ.วิ.อ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎกวิภังค์สัมโมหวิโนทนีอรรถกถา(ภาษาไทย)
ปกรณวิเสส
มิลินฺท. (บาลี) = มิลินฺป�ฺหปกรณ (ภาษาบาลี)
มิลินฺท. (ไทย) = มิลินทปัญหาปกรณ์ (ภาษาไทย)
วิสุทฺธิ. (บาลี) = วิสุทฺธิมคฺคปกรณ (ภาษาบาลี)
วิสุทฺธิ. (ไทย) = วิสุทธิมรรคปกรณ์ (ภาษาไทย)
อรรถกถาปกรณวิเสส
สงฺคห (บาลี) = อภิธมฺมตฺถสงฺคห (ภาษาบาลี)
ฎีกาปกรณวิเสส
วิภาวินี (บาลี) = อภิธมฺมตฺถวิภาวินีฏีกา (ภาษาบาลี)

More Related Content

What's hot

จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีPa'rig Prig
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีPa'rig Prig
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีPa'rig Prig
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีPa'rig Prig
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีPa'rig Prig
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 133 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1Martin Trinity
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติMartin Trinity
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓Wijitta DevilTeacher
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิTeacher Sophonnawit
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์tuiye
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์PhusitSudhammo
 

What's hot (17)

Chang work 31 1-56.
Chang work 31 1-56.Chang work 31 1-56.
Chang work 31 1-56.
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 133 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
Astroplan17
Astroplan17Astroplan17
Astroplan17
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 

Similar to อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)

อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Sarawut Sangnarin
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13khumtan
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานPadvee Academy
 
คู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบันคู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบันpiak120
 
บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์Wichai Likitponrak
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 

Similar to อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง) (20)

อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญอักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
6.3
6.36.3
6.3
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
คู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบันคู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบัน
 
บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 
17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 

อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)

  • 1. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา .............................................. (พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร.) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ ............................................ประธานกรรมการ (พระวิสุทธิภัทรธาดา, ดร.) ............................................กรรมการ (พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร.) ............................................กรรมการ (ผศ.รท.ดร. บรรจบ บรรณรุจิ) ............................................กรรมการ (รศ.ดร. วัชระ งามจิตรเจริญ) ............................................กรรมการ (ดร. ประพันธ์ ศุภษร) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร. ประธานกรรมการ รศ.ดร. วัชระ งามจิตรเจริญ กรรมการ ดร. ประพันธ์ ศุภษร กรรมการ
  • 2. ข ชื่อวิทยานิพนธ์ : การพัฒนาสังขารเพื่อการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท ผู้วิจัย : พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร (คํากมล) ปริญญา : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พระพุทธศาสนา) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ : พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร. ป.ธ. ๙, M.A., Ph.D. รศ. ดร. วัชระ งามจิตรเจริญ, ป.ธ. ๙, พธ.บ., M.A. (Philosophy), อ.ด. (ปรัชญา) ดร. ประพันธ์ ศุภษร, ป.ธ. ๗, พธ.บ., ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา), พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) วันเสร็จสมบูรณ์ : ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕ บทคัดย่อ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ข้อ คือ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องสังขารใน พระพุทธศาสนาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องการพัฒนาสังขารในพระพุทธศาสนาเถรวาท ๓) เพื่อศึกษาวิเคราะห์กระบวนการของสังขารที่นําไปสู่การบรรลุธรรม ผลการวิจัยพบว่า สังขารในพระพุทธศาสนามี ๓ ประเภท คือ สังขารในไตรลักษณ์ สังขารในขันธ์ ๕ และสังขารในปฏิจจสมุปบาท สังขารในไตรลักษณ์คลอบคุมสังขารทุกอย่าง เป็น ทั้งรูปธรรมและนามธรรม สังขารในขันธ์ ๕ เป็นส่วนหนึ่งของสังขารในไตรลักษณ์ เป็นนามธรรม อย่างเดียว ส่วนสังขารในปฏิจจสมุปบาท ก็คือสังขารในขันธ์ ๕ ที่เป็นภาคปฏิบัติการ (ได้แก่เจตนา) ในวิทยานิพนธ์นี้เน้นศึกษาสังขารในขันธ์ ๕ กระบวนการพัฒนาสังขารที่พระพุทธองค์ทรงใช้ ในการสอน คือหลักไตรสิกขา คือ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญาสิกขา การพัฒนาสังขารมี ๒ ระดับ คือ ระดับโลกียะ มี เป้ าหมายเพื่อให้ผู้เรียนดําเนินชีวิตอยู่ในโลกได้อย่างมีความสุข และระดับโลกุตตระ มีเป้ าหมาย เพื่อให้ผู้เรียนหลุดพ้นจากการควบคุมของโลกหรือจากกิเลสทั้งหลาย ทั้ง ๒ ระดับเพื่อคน ๒ กลุ่ม คือ เพื่อบรรพชิต และคฤหัสถ์ แต่ความเข้มข้นในภาคปฏิบัติต่างกัน เช่น บรรพชิต ห้ามเสพเมถุน หรือห้ามมีเพศสัมพันธ์กับมนุษย์และสัตว์เดรัจฉาน ตลอดชีวิต ถ้าขืนทําลงก็ขาดจากความเป็นภิกษุ ส่วนคฤหัสถ์มีเพศสัมพันธ์กับคู่ครองของตนได้แต่ห้ามนอกใจคู่ครองของตน สังขารมีบทบาทต่อ การดําเนินชีวิตของมนุษย์เพราะพฤติกรรมต่างๆ ที่มนุษย์แสดงออกมาทางกาย วาจา และความคิด ล้วนเกิดจากการปรุงแต่งของสังขาร พฤติกรรมจะดีหรือชั่วขึ้นอยู่กับการรับรู้โดยผ่านทางอายตนะ
  • 3. ค ภายในและอายตนะภายนอกมีผัสสะเป็นสื่อกลาง และผ่านมาถึงโวฏฐัพพนจิตที่ทําหน้าที่ตัดสิน อารมณ์ ถ้าตัดสินด้วยโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยกุศลเจตสิก พฤติกรรมก็จะดีเป็นกุศล ถ้า ตัดสินด้วยอโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยอกุศลเจตสิก พฤติกรรมก็จะชั่วเป็นอกุศล กระบวนการทํางานของสังขารเพื่อการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนามี ๒ ระดับ คือ ระดับฌานและระดับญาณ ทั้ง ๒ ระดับนี้ มีจิตอยู่ ๔ ดวงที่มีบทบาทสําคัญ คือ ดวงที่ ๑ เรียกว่า บริกรรม ดวงที่ ๒ เรียกว่า อุปจาร ดวงที่ ๓ เรียกว่า โคตรภู ดวงที่ ๔ เรียกว่า อนุโลม หรือ อัปปนา มีความหมายต่างกัน คือ บริกรรม หมายถึง จิตที่ใช้บริกรรมกรรมฐาน ระดับนั้นๆ เช่น สมถ- กรรมฐานตามแนวปฐวีกสิณ บริกรรมว่า ปฐวี ปฐวี หรือ วิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน สมัยใหม่ บริกรรมว่า พองหนอยุบหนอ เป็นต้น อุปจาร หมายถึง จิตที่เกิดขึ้นต่อจาก บริกรรม เป็น จิตตั้งมั่นอยู่กับอารมณ์กรรมฐานใกล้จะถึงอัปปนา โคตรภู หมายถึง จิตที่เกิดขึ้นต่อจาก อุปจาร ถ้า เป็นการบรรลุฌานหมายถึงจิตที่ข้ามพ้นกามาวจรภูมิ เข้าสู่รูปาวจรภูมิ ถ้าเป็นการบรรลุญาณ หมายถึงจิตที่ข้ามพ้นความเป็นปุถุชน เข้าสู่ความเป็นอริยบุคคล ส่วนอนุโลมหรืออัปปนา เป็นจิตที่ เกิดขึ้นต่อจากโคตรภู ถ้าเป็นการบรรลุฌานเป็นจิตที่บรรลุปฐมฌาน ถ้าเป็นการบรรลุญาณหมายถึง จิตที่เห็นไตรลักษณ์ยึดเอาสังขารทั้งหลายเป็นอารมณ์ คล้อยตามญาณทั้ง ๘ ประการเบื้องหลัง คือ ตั้งแต่ญาณที่ ๕ อุทยัพยญาณ จนถึงญาณที่ ๑๒ คือสังขารุเปกขาญาณ และอนุโลมหรือคล้อยตาม โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการเบื้องหน้าหรือเบื้องบน จิตที่เกิดต่อจากอนุโลม เรียกว่า มรรคจิตหรือ มรรคญาณ เกิดขึ้นตัดกิเลสทั้งหลายตามกําลัง หมายความว่า ถ้ามีกําลังมากก็ตัดกิเลสได้มาก ถ้ามี กําลังน้อยก็ตัดกิเลสได้น้อย ขณะมรรคจิตเกิดขึ้นองค์ธรรม ๑๔ ประการในโพธิปักขิยธรรม คือ สติ วิริยะ ฉันทะ ปัญญา สัทธา เอกัคคตา ปี ติ กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ ตัตตรมัชฌัตตตา วิตก สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จะเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกว่า สามัคคีมรรคหรือมัคคสมังคี
  • 4. ง Thesis Title : The Development of The Saṃkhāra for The attainment in Theravāda Buddhism Researcher: : Phramaha Dhanindra Āditavaro (Khamkamol) Degree : Doctor of Philosophy (Buddhist Studies) Thesis Supervisory Committee : Asst. Prof.Dr. Phra Suthithammanuwat, Pali IX, M.A., Ph.D. Assoc. Prof. Dr. Watchara Ngamchijjarern, Pali IX, B.A. (Buddhist Studies), M.A. (Philosohpy), Ph.D. (Philosophy) Dr. Prapan Supasorn, Pali VII, B.A., M.A. (Buddhist Studies), Ph.D. (Buddhist Studies) Date of Completion : May 20, 2012 ABTRACT The dissertation has 3 objectives namely; (1) to study the concept of Saṃkhāra in Theravāda Buddhism 2) to study the concept of the development of Saṃkhāra in Theravāda Buddhism 3) to study and analyze the process of Saṃkhāra leading to the attainment. From the research, it is found that there are 3 types of Saṃkhāra in Buddhism, i.e Saṃkhāra in the Three Characteristics, Saṃkhāra in the Five Aggregates and Saṃkhāra in the Dependent Origination. Saṃkhāra in the Three Characteristics covers all aspects both objects and subjects. Saṃkhāra in the Five Aggregates is part of Saṃkhāra in the Three Characteristics with its subject only. Saṃkhāra in the Dependent Origination is the action of Saṃkhāra in the Five Aggregates (cetanā). This dissertation is emphasized on studying only the Saṃkhāra in the Five Aggregates. The process of development of Saṃkhāra that the Buddha used in his teaching is the ThreeFold Trainings which are Adhisīla-sikkhā, Adhicitta-sikkhā and Adhipaññā-sikkhā. There are 2 levels of development of Saṃkhāra, one is the Lokiya level that the goal for the learners is to know how to live their lives happily in the present world, and the other is the Lokuttara level that the goal for the learners is to get free from the world’s restraint or free from all kilesas. Those two levels are for two different groups, i.e. the lay people and the Pabbajita, though the strictness
  • 5. จ for each level is different. For example, the Pabbajita cannot have sex with humans or animals, but if they do, they will free from Bhikkhu. The lay people can have sex with their couples but they are prohibited unfaithful themselves couples. Saṃkhāra plays a role for human living because the different behaviors that express by body, speech and mind will come about Saṃkhāra. The behavior will be good or bad depending on the perception through the sense- organs and sense-objects by having the phassa as the medium and sending it to Voṭṭhabbana citta to make decision on ārammaṇa. If the decision is made with Yonisomanasikāra and consists of kusala cetasika, the behavior will be good and be kusala. If the decision is made with Ayonisomanasikāra and consists of akusala cetasika, the behavior will be bad and be akusala. The working process of Saṃkhāra to attainment in Buddhism has two levels which are jhāna and ñāṇa levels. Both levels have 4 cittas which play a major role as the following; the first up to the fourth citta are called Parikamma, Upacāra, Gottarabhū and Anuloma or Appanā, respectively. Parikamma means citta using the parikamma meditation; for example, Samatha- kammaṭṭhāna based on Paṭhavī-kasina will parikamma as paṭhavī, paṭhavī or Vipassanā- kammaṭṭhāna based on modern Satipaṭṭhāna will parikamma as rising, falling, etc. Upacāra means citta arises beyond parikamma, citta will be concentrated on ārammaṇa-kammaṭṭhāna nearly Appanā. Gottarabhū means citta arises beyond upacāra. If citta attained to jhāṇa, it means citta is crossing the Kāmāvacarabhūmi to Rūpā-vacarabhūmi. If citta attained to ñāṇa, it means citta is crossing the puthujjana to ariyapuggala. Anuloma or Appanā means citta arises beyond Gottarabhū. If citta attained to jhāna, it means it begins to attain Paṭhamajhāna onward. Saṃkhāra or dhamma that occurs in jhāna has 5 types; i.e., Vitakka, Vicāra, Pīti, Sukha, and Ekaggatā. This dhamma will be gradually reduced in sequence; for example, Dutiyajhāna will be Vicāra, Pīti, Sukha, and Ekaggatā. Tatiyajhāna will be Pīti, Sukha, and Ekaggatā. Catutthajhāna will be Sukha and Ekaggatā. If citta attained to ñāṇa, it means citta sees the Tilakkhaṇa hold ind all the Saṃkhāras to be ārammaṇa according to the 8 ñāṇas, it begins at ñāṇa 5th Udayabbayañãna till ñāṇa 12th Saṃkhārupekkhāñāṇa. Anuloma will comply with Bodhipakkhiya-dhammas 37 at front or upper level. Citta that arises from Anuloma called Magga-citta or Magga-ñāṇa which arises to kill all kilesas based upon its power, it means if there is more power, it will kill more kilesas, but if it has less power, then it will kill less kilesas starting at Sotāpattimagga till Arahattamagga. While Magga-citta arises, Saṃkhāra or 14 dhammas in Bodhipakkhiya-dhamma 37; i.e., Sati, Viriya,
  • 6. ฉ Chanda, Paññā, Saddhā, Ekaggatā, Pīti, Kāyapassaddhi, Cittapassaddhi, Tatramajjhattatā, Vitakka, Sammāvācā, Sammākammanta, Sammāājīva, will be arisen all together which called Sāmaggīmagga or Maggasamaṅgī.
  • 7. ช กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์เล่มนี้สําเร็จลงได้เพราะได้รับความร่วมมือและความเมตตานุเคราะห์จาก บุคคลหลายฝ่าย ผู้วิจัยขอระบุนามไว้เพื่อแสดงความขอบคุณดังต่อไปนี้ พระสุธีธรรมานุวัตร คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ พระพิฒน์ จริยาลังการ (บุญชู เขมปุ�ฺโญ ป.ธ. ๗) เจ้าอาวาสวัดปรินายกวรวิหาร ที่อนุญาตให้ลากิจของสงฆ์ ภายในวัดทําให้ผู้วิจัยมีเวลาทํางานอย่างเต็มที่ พระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต ป.ธ. ๗) เจ้า คณะจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นพระอาจารย์รูปแรกที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาภาษาบาลี จนเป็นพื้นฐานให้ มีโอกาสเรียนจนถึงระดับสูง รศ.ดร. วัชระ งามจิตรเจริญ ดร. ประพันธ์ ศุภษร อาจารย์ที่ปรึกษาที่ คอยตรวจแก้งานและให้คําแนะนําที่เป็นประโยชน์ ผศ.รท. ดร. บรรจบ บรรณรุจิ ผู้วิจารณ์ วิทยานิพนธ์ตอนนําเสนอวิทยานิพนธ์ต่อสาธารณะ และเป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ได้แนะนํา แนวทางการเขียนวิทยานิพนธ์จนเป็นผลสําเร็จ รศ. ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร ช่วยตรวจแก้บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต เพื่อนร่วมรุ่นที่ช่วยแปลบทคัดย่อภาษาอังกฤษ คุณ อรทัย มีแสง นิสิตปริญญาเอก รุ่นที่ ๖ ที่ช่วยแปลบทคัดย่อภาษาอังกฤษ คุณพูนสุข มาศรังสรรค์ เพื่อนร่วมรุ่นช่วยตรวจแก้บทคัดย่อภาษาอังกฤษ พระครูใบฎีกาสนั่น ทยรกฺโข ผู้อํานวยความ สะดวกเรื่องข้อมูล เจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัยทุกท่าน และเจ้าหน้าที่ห้องสมุดทุกท่าน คุณศุภกร ถิร โรจน์กุล คุณทักษภร สง่าชาติ ผู้ถวายความอุปถัมภ์ทุนการศึกษาและอํานวยความสะดวกทุกอย่าง ที่จําเป็นต่อการทําวิทยานิพนธ์เช่น เรื่องยานพาหนะ ภัตตาหาร สถานที่พักทํางาน (ถวายค่าห้องพัก ขณะที่ผู้วิจัยเข้าพักจําพรรษาอยู่ที่อาคารรับรองอาคันตุกะ ๙๒ ปี ปัญญานันทะ ที่ มจร. วังน้อย) เป็นต้น โยมแม่สุรีย์ มณีรัตน์ ถวายทุนการศึกษาและคอยให้กําลังใจ คุณยายราตรี สง่าชาติ ผู้ดูแล เรื่องภัตตาหารเช้า เพล ขณะที่พักทํางานอยู่ที่บ้านเขตดอนเมือง นางคําพูล ภารสถิตย์ นายพัฒนพล คํากมล แม่ชีกมลพรรณ คํากมล แม่ชีกมลพร คํากมล พี่สาว พี่ชาย และน้องสาว เป็นผู้ให้ กําลังใจและช่วยเหลืองานตลอดมา บุญกุศลและคุณงามความดีทั้งหลายที่เกิดจากการทําวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ข้าพเจ้าขอถวาย เป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา และขออุทิศให้แก่โยมบิดามารดา คือโยมพ่อพิมพ์ คํากมล แม่ชี ทองสี (ยุบลมาตย์) คํากมล ที่ล่วงลับไปแล้ว และขอมอบให้ท่านผู้มีพระคุณ ผู้มีบุญคุณทั้งหลายที่ ได้กล่าวมาในเบื้องต้นนี้ ด้วยอานุภาพแห่งบุญกุศลนี้ ขอจงเป็นพลวปัจจัย เป็นอุปนิสัยสนับสนุน ให้ข้าพเจ้าเกิดสติปัญญาญาณ ได้บรรลุมรรคผลนิพพาน ในอนาคตกาลอันใกล้นี้เทอญ. พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕
  • 8. ซ สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อภาษาไทย ข บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ง กิตติกรรมประกาศ ฉ สารบัญ ช สารบัญตาราง ญ สารบัญภาพ ฎ คําอธิบายสัญลักษณ์และอักษรย่อ ฏ บทที่ ๑ บทนํา ๑ ๑.๑ ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ๑ ๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๓ ๑.๓ ปัญหาที่ต้องการทราบ ๔ ๑.๔ ขอบเขตของการวิจัย ๔ ๑.๕ คําจํากัดความของศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย ๔ ๑.๖ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๕ ๑.๗ วิธีดําเนินการวิจัย ๑๐ ๑.๘ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐ บทที่ ๒ หลักคําสอนเรื่องสังขารในพระพุทธศาสนาเถรวาท ๑๒ ๒.๑ ความหมายและลักษณะของสังขาร ๑๒ ๒.๑.๑ ความหมายของสังขารตามสัททศาสตร์ ๑๒ ๒.๑.๒ ความหมายและลักษณะของสังขารในไตรลักษณ์ ๑๔ ๒.๑.๒ ความหมายและลักษณะของสังขารในขันธ์ ๕ ๑๗ ๒.๑.๓ ความหมายและลักษณะของสังขารในปฏิจจสมุปบาท ๒๑ ๒.๒ ประเภทของสังขาร ๒๔ ๒.๒.๑ ประเภทของสังขารในไตรลักษณ์ ๒๕ ๒.๒.๒ ประเภทของสังขารในขันธ์ ๕ กับเจตสิกในคัมภีร์ฝ่ายอภิธรรม ๒๘ ๒.๒.๓ ประเภทของสังขารในปฏิจจสมุปบาท ๓๔
  • 9. ฌ ๒.๔ บทบาทของสังขารที่มีต่อการดําเนินชีวิตของมนุษย์ ๓๕ บทที่ ๓ กระบวนการพัฒนาสังขารในพระไตรปิฎกและอรรถกถา ๔๗ ๓.๑ กระบวนการพัฒนาสังขารในพระไตรปิฎกและอรรถกถา ๔๗ ๓.๒ เป้าหมายของการพัฒนาสังขารในพระพุทธศาสนา ๕๒ ๓.๓ ระดับขั้นการพัฒนาสังขารในพระพุทธศาสนา ๕๓ ๓.๓.๑ ขั้นโลกียะ ๕๓ ก. หลักการเพื่อบรรพชิต ๕๔ ข. หลักการเพื่อคฤหัสถ์ ๕๖ ๓.๓.๒ ขั้นโลกุตตระ ๕๙ ๓.๔ การพัฒนาสังขารตามหลักไตรสิกขา ๕๙ ๓.๔.๑ การพัฒนาสังขารตามหลักศีล ๖๐ ๓.๔.๒ การพัฒนาสังขารตามหลักสมาธิ ๖๖ ๓.๔.๓ การพัฒนาสังขารตามหลักปัญญา ๗๐ ๓.๕ ไตรสิกขาที่เป็นกุศลกรรมบถและเป็นองค์มรรค ๗๘ ๓.๖ ผลที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาสังขารตามหลักไตรสิกขา ๘๐ ๓.๖.๑ ญาณ ๑๖ ๘๐ ๓.๖.๒ โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ๙๐ บทที่๔วิเคราะห์กระบวนการของสังขารที่นําไปสู่การบรรลุธรรม ๙๗ ๔.๑ กระบวนการทํางานของสังขารในขันธ์ ๕ ๙๗ ๔.๑.๑ กระบวนการทํางานร่วมกันของสังขารฝ่ายกุศล ๙๘ ๔.๑.๒ กระบวนการทํางานร่วมกันของสังขารฝ่ายอกุศล ๑๐๐ ๔.๒ กระบวนการการทํางานของเจตสิกตามแนวคิดฝ่ายอภิธรรม ๑๐๒ ๔.๓ กระบวนการทํางานของสังขารในการบรรลุธรรม ๑๐๕ ๔.๓.๑ กระบวนการบรรลุธรรมระดับฌาน ๑๐๕ ๔.๓.๒ กระบวนการบรรลุธรรมระดับญาณ ๑๐๗ ๔.๓.๓ อุปมาของกระบวนการบรรลุธรรม ๑๑๕ บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ๑๑๘ ๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๑๑๘ ๕.๒ ข้อเสนอแนะ ๑๒๐
  • 10. ญ ๕.๒.๑ ข้อเสนอแนะเพื่อนําไปใช้ประโยชน์ ๑๒๐ ๕.๒.๒ ข้อเสนอแนะเพื่อการทําวิจัยครั้งต่อไป ๑๒๒ บรรณานุกรม ๑๒๓ ประวัติผู้วิจัย ๑๓๐
  • 11. ฎ สารบัญตาราง เรื่อง หน้า ตารางที่ ๑ : ตารางแสดงการจําแนกเจตสิก ๕๐ ตามคัมภีร์วิสุทธิมรรค ๓๒ ตารางที่ ๒ : ตารางแสดงการจําแนกเจตสิก ๕๐ ตามคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ ๓๓
  • 12. ฏ สารบัญภาพ เรื่อง หน้า ภาพที่ ๑ : แผนภูมิกระบวนการทํางานของเจตสิกฝ่ายอภิธรรม ๑๐๓
  • 13. ฐ คําอธิบายสัญลักษณ์และคําย่อ ๑. การใช้หมายเลขย่อ ก. พระไตรปิฎกภาษาบาลี - ไทย การอ้างอิงในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีของมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๐๐ และพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย ๒๕๓๙ การอ้างอิงใช้ระบบระบุ เล่ม /ข้อ /หน้า หลังคําย่อชื่อคัมภีร์ เช่น ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๖๔/๕๔, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๖๔/๑๐๙. หมายถึง ทีฆนิกาย มหาวรรค ภาษาบาลี เล่มที่ ๑๐ ข้อที่ ๑๖๔หน้า๕๔ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ๒๕๐๐ และทีฆนิกายมหาวรรค ภาษาไทยเล่มที่ ๑๐ ข้อที่ ๑๖๔ หน้า ๑๐๙ ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๓๙ ข. อรรถกถาภาษาบาลี - ไทย ส่วนอรรถกถาภาษาบาลี ใช้อ้างอิงจากฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยเทียบเคียง กับอรรถกถาภาษาไทยฉบับของมหามกุฏราชวิทยาลัย ในกรณีมีเลข ๒ ตอน หมายถึง เล่ม หน้า เช่น ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๒๖๖ หมายถึง มชฺฌิมนิกาย ปป�ฺจสูทนี มูลปณฺณาสกอฏฺฐกถา ภาษาบาลี เล่ม ๑ หน้า ๒๖๖ ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐกถา ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๒๖๖ หมายถึง มัชฌิมนิกาย ปปัญจสูทนี มูลปัณณาสก์อรรถกถา เล่ม ๑ หน้า ๒๖๖ ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย ๒๕๒๕ ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๔/๓๘๕ หมายถึง ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทอฏฺฐกถา ภาษาบาลี ภาค ๔ หน้า ๓๘๕ ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐกถา ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๔/๓๘๕ หมายถึง ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา ภาค ๔ หน้า ๓๘๕ ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย ถ้ามี เลข ๓ ตอน หมายถึง ภาค เรื่อง หน้า เช่น ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๘/๑๒๘ หมายถึง ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา ภาค ๑ เรื่องที่ ๘ หน้า ๑๒๘ ถ้ามีเลข ๔ ตอน หมายถึง เล่ม ภาค ตอน หน้า เช่น ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๒/๑/๓๒๓ หมายถึง ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา เล่ม ๑ ภาค ๑ ตอน ๑ หน้า ๓๒๓ ค. ปกรณวิเสสภาษาบาลี - ไทย มิลินฺท. (บาลี) ๕/๑๑๐, ๑๑๐-๑๑๒ หมายถึง มิลินฺทป�ฺหปกรณ ข้อ ๕ หน้า ๑๑๐, หน้า ๑๑๐ ถึง ๑๑๒ ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • 14. ฑ มิลินฺท.(ไทย)๕/๑๑๐,๑๑๐-๑๑๒หมายถึงมิลินทปัญหา ข้อ ๕ หน้า ๑๑๐, หน้า ๑๑๐ ถึง ๑๑๒ ฉบับแปลในมหามกุฏราชวิทยาลัย วิสุทฺธิ. (บาลี) ๓๓๓/๓๔๔ หมายถึง วิสุทฺธิมคฺคปกรณ ข้อ ๓๓๓ หน้า ๓๔๔ ฉบับมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิสุทฺธิ. (ไทย) ๓๓๓/๓๔๔ หมายถึง คัมภีร์วิสุทธิมรรค ข้อ ๓๓๓ หน้า ๓๔๔ ฉบับ ๑๐๐ ปี สมเด็จพระพุฒาจารย์(อาจ อาสภมหาเถร) ง. อรรถกถาปกรณวิเสสภาษาบาลี - ไทย อรรถกถาปกรณวิเสส ภาษาบาลี จะแจ้งเล่ม หน้าที่ไม่จัดเป็นลําดับเล่มจะแจ้งหน้าเช่น สงฺคห (บาลี) ๗ หมายถึง อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิ ใน อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา หน้า ๗ ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย สงฺคห (ไทย) ๗ หมายถึง อภิธัมมัตถสังคหะหน้า ๗ ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย จ. ฎีกาปกรณวิเสสภาษาบาลี - ไทย ฎีกาปกรณวิเสส ภาษาบาลี จะแจ้งเล่ม หน้าที่ไม่จัดเป็นลําดับเล่ม จะแจ้งหน้าเช่น วิภาวินี (บาลี) ๑๖๒ หมายถึง อภิธมฺมตฺถวิภาวินีฏีกา ใน อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา หน้า ๑๖๒ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย วิภาวินี. (ไทย) ๕๗ หมายถึง อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา หน้า ๕๗ แปลโดย พระธรรม- วโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.ธ. ๙), เอกสารประกอบการเรียนการสอน,รวบรวมโดย พระมหา ชะลอปิยาจาโร และคณะ
  • 15. ฒ ๒. การใช้อักษรย่อ พระวินัยปิฎก วิ.มหา. (บาลี) = วินยปิฎก มหาวิภงฺคปาลิ (ภาษาบาลี) วิ.มหา. (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวิภังค์(ภาษาไทย) วิ.ม. (บาลี) = วินยปิฎก มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) วิ.ม. (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวรรค (ภาษาไทย) พระสุตตันตปิฎก ที.สี. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ฑีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) ที.สี. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ฑีฆนิกาย สีลขันธวรรค (ภาษาไทย) ที.ปา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ฑีฆนิกาย ปาฏิกวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) ที.ปา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ฑีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย) ม.มู. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏกมชฺฌิมนิกายมูลปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี) ม.มู. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์(ภาษาไทย) สํ.ส. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก สํยุตฺตนิกาย สคาถวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) สํ.ส. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย) สํ.สฬา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏกสํยุตฺตนิกาย สฬายตนวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) สํ.สฬา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค (ภาษาไทย) องฺ.ทุก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย ทุกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี) องฺ.ทุก. (ไทย) = สุตตันตปิฏก อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต (ภาษาไทย) ข.ธ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.ธ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท (ภาษาไทย) อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก องฺ.ทุก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี ทุกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย) ขุ.ธ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทอฏฺฐกถา (ภาษาบาลี) ขุ.ธ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา (ภาษาไทย)
  • 16. ณ อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก อภิ.วิ.อ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎกวิภังค์สัมโมหวิโนทนีอรรถกถา(ภาษาไทย) ปกรณวิเสส มิลินฺท. (บาลี) = มิลินฺป�ฺหปกรณ (ภาษาบาลี) มิลินฺท. (ไทย) = มิลินทปัญหาปกรณ์ (ภาษาไทย) วิสุทฺธิ. (บาลี) = วิสุทฺธิมคฺคปกรณ (ภาษาบาลี) วิสุทฺธิ. (ไทย) = วิสุทธิมรรคปกรณ์ (ภาษาไทย) อรรถกถาปกรณวิเสส สงฺคห (บาลี) = อภิธมฺมตฺถสงฺคห (ภาษาบาลี) ฎีกาปกรณวิเสส วิภาวินี (บาลี) = อภิธมฺมตฺถวิภาวินีฏีกา (ภาษาบาลี)