SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๕ จัดทาโดย นางสาวอัญชลี จตุรานน 
A STUDY OF THE EFFECTIVENESS OF THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER. 
โครงการวิทยานิพนธ์
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสนากรรมฐาน หมายถึง ความเข้าใจ ในวิธีการปฏิบัติ ผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ และแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติไป ฝึกด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ หมายถึง ผู้ปฏิบัติธรรมที่มีสัญชาติ อื่นๆนอกเหนือจากสัญชาติไทย 
โครงการวิทยานิพนธ์
ความวุ่นวายในโลกยุคโลกาภิวัฒน์ 
ยุคโลกาภิวัตน์อันเป็นยุค แห่งการพัฒนาและการ แข่งขันนี้ ทุกคนในทุก ประเทศล้วนแล้วแต่ต้องเร่ง พัฒนาตนเอง พัฒนาธุรกิจ และพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศชาติให้เติบโตและ แข็งแรงอย่างรวดเร็วที่สุด ผู้ ที่พัฒนาช้าจะกลายเป็นผู้ที่ เสียเปรียบได้ทันที ด้วย สาเหตุนี้คนเราจึงต้องเร่ง แข่งขันกันในทุกๆด้าน 
ซึ่งส่วนมากเป็นการพัฒนา ในด้านวัตถุ จนอาจละเลย การพัฒนาในด้านจิตใจ เมื่อ มีการแข่งขันการพัฒนาด้าน วัตถุอย่างรวดเร็วมากกว่า การพัฒนาด้านจิตใจ จึง นามาซึ่งความไม่สมดุลใน การพัฒนา เกิดผลที่ตามมา คือปัญหาทางสังคม และ ปัญหาระหว่างประเทศใน ด้านต่างๆ (อ่านต่อหน้า 5) 
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 
www.buddhabucha.net 
THE WORLD TODAY 
- 26 August 2013
BOOM!
ประเทศสหรัฐอมริกามีสถิติเหตุการณ์โศกนาฏกรรมการ กราดยิงคนหมู่มากในปี ๒๕๒๕ – ๒๕๕๕ ถึง ๔๙ ครั้ง
จิตใจที่วุ่นวาย 
นามาซึ่งปัญหามากมาย
• พุทธศาสนามีแนวคาสอนเน้นเรื่องการพัฒนาจิตใจเป็นหลัก คือ วิปัสสนา กรรมฐาน • การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตามแนวทางสติปัฏฐาน ๔ คือ การ พิจารณากาย เวทนา จิต และธรรม เป็นทางสายเอกที่มุ่งตรงไปยังนิพพาน หรือสภาวะที่ดับทุกข์ได้สิ้นเชิง นั่นคือ การเจริญสติปัฏฐาน คือการอยู่อย่าง ไม่มีความทุกข์ที่จะต้องดับ* 
• ความทุกข์และกิเลสเป็นของสากล การดับทุกข์ของพระพุทธศาสนาจึงมี หลักเป็นสากลเช่นกัน 
*พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต), พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ, พิมพ์ครั้ง ที่ ๒๔, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖), หน้า ๘๙๑.
• พื้นฐานทางวัฒนธรรม ความเชื่อ ความศรัทธา และ ภาษา แต่ละประเทศแตกต่างกัน 
• ชาวต่างชาติ อาจจะเกิดความเข้าใจในการปฏิบัติ แตกต่างกับคนไทย ซึ่งมีพื้นฐานเติบโตมาในประเทศ แห่งพุทธศาสนา
•วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) มีการอบรมวิปัสสนากรรมฐานแก่ผู้ปฏิบัติธรรมชาวไทย และชาวต่างประเทศ • มีชาวต่างประเทศเข้ารับการอบรมวิปัสสนากรรมฐานที่วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) จานวน ๔๘๔ คน (จาก ๖๐ ประเทศ) ในปี ๒๕๕๕ 
•วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) เป็นวัดวิปัสสนากรรมฐานทางภาคเหนือ เป็นสานัก ปฏิบัติธรรมประจาจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ ๒ ปัจจุบันวัดอยู่ภายใต้การดูแลของ พระครูภาวนาวิรัช (พระปลัดสุพันธ์ อาจิณฺณสีโล) เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน*
• เป็นเรื่องที่น่าเสียดายหากผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติที่เดินทางไกลมาเพื่อศึกษาการ ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานจะไม่ได้รับประสิทธิผลเต็มที่ในการเข้ารับการอบรม 
• และจะเป็นผลเสียมากยิ่งขึ้น หากผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติเข้าใจการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ไม่ถูกต้อง และนาไปเผยแพร่ต่อในประเทศของตน อัน จะเป็นการสร้างความเข้าใจผิด หรือปิดโอกาสผู้อื่นที่สนใจการปฏิบัติ
ผู้วิจัยเห็นถึงความสาคัญในการวัดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานของผู้ปฏิบัติ ธรรมชาวต่างชาติ ซึ่งจะเป็นกลุ่มที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นในเวลาอันรวดเร็ว และจะเป็นพลัง สาคัญในสืบทอดเผยแพร่การปฏิบัติธรรม 
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๑.) งานวิจัยเกี่ยวกับรายละเอียดของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ เช่น ศึกษา สภาวญาณ หรือจริตที่ใช้ในการปฏิบัติ ๒.) งานวิจัยเกี่ยวกับวิธีการสอนการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของพระ อาจารย์ ๓.) งานวิจัยเกี่ยวกับผลของปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ในด้านต่างๆ เช่น ผลของ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานกับการบริหารงาน หรือการเรียน ๔.) งานวิจัยเกี่ยวกับการประเมินแรงจูงใจ หรือความพอใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนว สติปัฏฐาน ๔
ผู้วิจัยหวังว่าผลงานวิจัยชิ้นนี้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการอบรมการปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ แก่ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติให้มีประสิทธิผล สูงสุด ส่งผลให้เกิดผู้พบหนทางแห่งความพ้นทุกข์มากขึ้น และมีผู้เกิดความศรัทธาในการ ปฏิบัติและการเผยแพร่พุทธศาสนามากขึ้น ร่วมกันรักษาและสืบทอดพระพุทธศาสนาสืบ ต่อไปโดยไม่มีข้อจากัดเรื่องชนชั้น เชื้อชาติ และภาษา เพราะผู้ปฏิบัติธรรมอย่างถูกต้อง ทุกคนจะเข้าใจในภาษาเดียวกัน คือ ภาษาธรรม
๑.) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนว สติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
๒.)เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความเข้าใจในผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
๓.) เพื่อศึกษาวิเคราะห์แรงจูงใจในการนาการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนว สติปัฏฐาน ๔ ไปฝึกปฏิบัติด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติธรรม ชาวต่างชาติ 
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ขอบเขตการวิจัย 
การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ซึ่งขอบเขตในการวิจัยจะเน้นการศึกษา เอกสาร (Documentary Research) และวิจัยภาคสนาม (Field Research) ควบคู่กันไป
ขอบเขตเนื้อหาการศึกษาวิจัย - ศึกษาวิจัยถึง ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนว สติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ วิจัยความ เข้าใจในวิธีการปฏิบัติ ความเข้าใจในผลลัพธ์ของการ ปฏิบัติ และแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติไปฝึกด้วย ตนเองอย่างต่อเนื่อง 
ขอบเขต 
เนื้อหา 
ขอบเขต 
เอกสาร 
ขอบเขต 
ประชากร 
ขอบเขต พื้นที่ 
ขอบเขต 
เวลา
ขอบเขตด้านเอกสาร – พระไตรปิฎก, อรรถกถา, หนังสือเกี่ยวกับสติปัฏฐาน ๔, เอกสารของวัดร่าเปิง (ตโปทาราม) 
ขอบเขต เนื้อหา 
ขอบเขต เอกสาร 
ขอบเขต ประชากร 
ขอบเขต 
พื้นที่ 
ขอบเขต เวลา
ขอบเขตด้านประชากร • สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติที่มาปฏิบัติธรรมตั้งแต่ ๗ วันขึ้นไป ในช่วงเดือนต.ค. - ธ.ค. ๕๖ (คาดการณ์ว่าในช่วงเดือน ต.ค. – ธ.ค. ๕๖ จะมีผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติที่มาปฏิบัติธรรมตั้งแต่ ๗ วันขึ้นไป จานวนรวมประมาณ ๑๓๓ คน โดยอ้างอิงจากค่าเฉลี่ยสถิติผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ณ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) ในปี ๒๕๕๔ และ ปี ๒๕๕๕ โดยกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ Darwin Hendel ในระดับความ เชื่อมั่น ๙๕% จะได้กลุ่มตัวอย่างจานวน ๙๙ คน) • เก็บข้อมูลโดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยเข้าร่วมฝึกอบรมวิปัสสนา กรรมฐานกับกลุ่มชาวต่างชาติเป็นเวลา ๕ วัน ในช่วงเดือน พ.ย. ๕๖ (ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีจานวนโดยประมาณ ๗ – ๑๐ คน อ้างอิงจากค่าเฉลี่ยสถิติผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ณ วัด ร่าเปิง (ตโปทาราม) ในปี ๒๕๕๔ และ ปี ๒๕๕๕) 
ขอบเขต 
เนื้อหา 
ขอบเขต 
เอกสาร 
ขอบเขต 
ประชากร 
ขอบเขต พื้นที่ 
ขอบเขต 
เวลา
ขอบเขต 
เนื้อหา 
ขอบเขต 
เอกสาร 
ขอบเขต ประชากร 
ขอบเขต 
พื้นที่ 
ขอบเขต เวลา 
๔.) ขอบเขตพื้นที่การศึกษาวิจัย - สานักปฏิบัติธรรม นานาชาติ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ขอบเขตระยะเวลาในการศึกษาวิจัย - ศึกษาวิจัยด้วยการ สัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม กับกลุ่มผู้ปฏิบัติ ธรรมชาวต่างชาติที่เข้าพักปฏิบัติธรรม โดยใช้เวลาเก็บข้อมูลด้วย การสัมภาษณ์เชิงลึกในระยะเวลา ๓ เดือน ระหว่างเดือนตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๖ และเก็บข้อมูลด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม เป็นระยะเวลา ๕ วันในช่วงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ 
ขอบเขต เนื้อหา 
ขอบเขต 
เอกสาร 
ขอบเขต ประชากร 
ขอบเขต พื้นที่ 
ขอบเขต 
เวลา
๑.) ต้องการทราบถึงความเข้าใจในเรื่องวิธีการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
๒.) ต้องการทราบถึงความเข้าใจในผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติ ธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
๓.) ต้องการทราบถึงแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ไปฝึกปฏิบัติด้วยตัวเองต่ออย่างต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
ปัญหาที่ต้องการทราบ
ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติมีความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติธรรม และผลลัพธ์ของการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ รวมถึงมี แรงจูงใจในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง มากกว่าร้อยละ ๘๐% 
สมมติฐานการวิจัย
๑.) ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสนากรรมฐาน หมายถึง ความเข้าใจในวิธีการ ปฏิบัติ ผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ และแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติไปฝึกด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติ ธรรมชาวต่างชาติ 
๒.) การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน หมายถึง การฝึกหัดปฏิบัติโดยอาศัยรูปนาม ขันธ์ ๕ สาหรับเป็นปัจจัยให้เกิดการเห็นแจ้งตามความเป็นจริงของธรรมชาติ เพื่อ การบรรลุพระนิพพาน ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา 
นิยามศัพท์เฉพาะในการวิจัย
๓.) สติปัฏฐาน มาจาก สติ คือ การระลึกรู้ ปัฏฐาน คือ เข้าไปตั้งไว้ สติปัฏฐาน หมายถึงฐานที่ตั้งของสติ หรือฐานที่รองรับการกาหนด การระลึก การตามรู้ สภาวธรรม อารมณ์ ณ ปัจจุบัน เป็นการใช้สติพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นตามความ เป็นจริงมี ๔ อย่าง คือ พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม สติปัฏฐาน หมายถึง ที่ตั้งแห่ง การเจริญสติ ๔ ประการ ได้แก่ กาย เวทนา จิต และธรรมอันเป็นที่ตั้ง ที่ระลึกแห่งการ ฝึกฝน อบรมจิตให้เกิดสติรู้ตาม ๔.) การสอบอารมณ์ หมายถึง การตรวจสอบจิตของผู้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดย พระวิปัสสนาจารย์ว่ามีความถูกต้องตามหลักวิปัสสนาญาณ ๑๖ ขั้นหรือไม่ และเพื่อ ป้องกันความวิปลาส อันจะเกิดในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ๕.) ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ หมายถึง ผู้ปฏิบัติธรรมที่มีสัญชาติอื่นๆ นอกเหนือจากสัญชาติไทย 
นิยามศัพท์เฉพาะในการวิจัย
ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับ “สติปัฏฐาน” และ “วิปัสสนากรรมฐาน” จากหนังสือของ 
• พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต) 
• พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก) 
• พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) • พระเทพวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวณฺโณ ป.ธ.๙) 
• พระปัญญานันโท 
หนังสือ
งานวิจัย 
ศึกษางานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ในแง่มุมต่างๆ ดังนี้ 
• ผลการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของสานักต่างๆ 
• ปัจจัยที่เกื้อกูลต่อการปฏิบัติธรรมของชาวต่างชาติ 
• การศึกษาสภาวญาณ 
• การศึกษาแนวทางสอนวิปัสสนากรรมฐานของสานักต่างๆ
เอกสารที่ต้องทบทวนเพิ่มเติม เอกสารเกี่ยวกับ ทฤษฎีการประเมินผล ทฤษฎีแรงจูงใจ และทฤษฎีการเรียนรู้
รูปแบบการวิจัย งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยจะดาเนินการวิจัยตามขั้นตอนดังนี้ ๑.) การวิจัยเอกสาร (Document Research) เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแนว ทางการเจริญสติในพระไตรปิฎก และแนวทางการอบรมการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานของวัดร่าเปิง (ตโปทาราม) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ทาความเข้าใจถึงแนวคิดและรูปแบบการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏ ฐาน ๔ ๒.) การวิจัยภาคสนาม (Field Research) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ที่มาปฏิบัติ ธรรม ณ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 
วิธีดาเนินการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 
ใช้การสารวจด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ โดยใช้ชุดคาถาม การสัมภาษณ์เชิงลึกที่ได้การรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิจานวน ๓ ท่าน ว่า สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วมคือเข้ารับการอบรมและปฏิบัติธรรมใน หลักสูตรนานาชาติ ณ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) 
วิธีดาเนินการวิจัย
ขั้นตอนการสรุปวิเคราะห์ 
ศึกษามหาสติปัฏฐานสูตร ในพระไตรปิฎก และ เอกสารของวัดร่าเปิง (ตโปทาราม) 
ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการประเมิลผล และ ทฤษฎีการจูงใจ 
สร้างชุดคาถามเพื่อใช้ใน การสัมภาษณ์เชิงลึกกับ กลุ่มตัวอย่าง 
ทาการวิจัยภาคสนามด้วย การสัมภาษณ์เชิงลึกและ สังเกตุแบบมีส่วนร่วม 
รวบรวบข้อมูลจากการ วิจัยภาคสนาม 
นาข้อมูลมาวิเคราะห์ สรุป และเสนอแนะ 
วิธีดาเนินการวิจัย
๑.) ทาให้ทราบถึงความเข้าใจในเรื่องวิธีการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
๒.) ทาให้ทราบถึงความเข้าใจในผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติธรรมในแนวสติ ปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
๓.) ทาให้ทราบถึงแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ไปฝึกปฏิบัติ ด้วยตัวเองต่ออย่างต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
๔.) ทาให้สามารถนาข้อสรุปจากงานวิจัยชิ้นนี้ไปพัฒนาการอบรมการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ให้แก่ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติได้อย่างมีประสิทธิผล ยิ่งขึ้น 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ 
A STUDY OF THE EFFECTIVENESS OF THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER.
สารบัญชั่วคราว
บทที่ ๑ บทนา 
๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 
๑.๓ ปัญหาที่ต้องการทราบ 
๑.๔ สมมติฐานการวิจัย 
๑.๕ นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย 
๑.๖ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 
๒.๑ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนว 
สติปัฏฐาน ๔ 
๒.๒ ทฤษฎีการเรียนรู้ 
๒.๓ แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล 
๒.๔ แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ
บทที่ ๓ วิธีการดาเนินการวิจัย 
๓.๑ รูปแบบการวิจัย 
๓.๒ วิธีการสร้างเครื่องมือในการวิจัย 
๓.๓ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 
๓.๔ การกาหนดกลุ่มตัวอย่าง 
๓.๕ การเก็บรวบรวมข้อมูล 
๓.๖ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 
๓.๗ เกณฑ์การแปลความหมายข้อมูล 
บทที่ ๔ ผลการวิจัยและอภิปรายผล ๔.๑ ผลการวิจัยเรื่องความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของ ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ๔.๒ ผลการวิจัยเรื่องความเข้าใจในผลลัพธ์และ ประโยชน์ของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรม ชาวต่างชาติ ๔.๓ ผลการวิจัยเรื่องแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ไป ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องของผู้ ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ
บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัย และ ข้อเสนอแนะ 
๕.๑ สรุปผลการวิจัย 
๕.๒ อภิปรายผลการวิจัย 
๕.๓ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนารูปแบบการ อบรมการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน 
๕.๔ ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป 
ภาคผนวก 
ผนวก ก ประวัติวัดร่าเปิง (ตโปทาราม) โดยสังเขป 
ผนวก ข ผลงานเด่นของวัดร่าเปิง (ตโปทาราม) โดยสังเขป 
ผนวก ค กฎระเบียบการเข้าปฏิบัติธรรม ณ วัดร่า เปิง (ตโปทาราม) 
ผนวก ง การสอบอารมณ์ 
ผนวก จ แบบสัมภาษณ์ 
ผนวก ฉ รายนามผู้เชี่ยวชาญ 
ผนวก ช หนังสือออกในการดาเนินการวิจัย
ตอนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของผู้ให้สัมภาษณ์ 
อายุ เพศ สถานภาพสมรส เชื้อชาติ อาชีพ ประสบการณ์การปฏิบัติธรรม 
ตอนที่ ๒ ความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ 
ความเข้าใจในวิธีการเดินจงกรมว่าเดินอย่างไร เหตุใดจึงต้องมีการกาหนดระยะต่างๆ 
ความเข้าใจในวิธีการนั่งสมาธิว่านั่งอย่างไร เหตุใดจึงต้องมีการกาหนดจุดต่างๆ 
ความเข้าใจในการกาหนดอิริยาบถย่อย ว่าทาอย่างไร เหตุใดจึงต้องมีการกาหนดอิริยาบถย่อย ระหว่างวัน 
ตอนที่ ๓ ความเข้าใจในผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติ ปัฏฐาน ๔ 
ผลลัพธ์ที่ได้หลังจากการฝึกอบรมปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน เช่น ความเปลี่ยนแปลงทางด้าน ร่างกาย หรือจิตใจ 
ประโยชน์ที่ได้หลังจากการฝึกอบรมปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานต่อร่างกาย หรือจิตใจ 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับหลังจากการฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานอย่างต่อเนื่องในอนาคต 
กรอบแนวคิดชุดคาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยสังเขป
ตอนที่ ๔ แรงจูงใจในการนาการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ 
ไปฝึกปฏิบัติด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง 
หลังจากจบการฝึกอบรมการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานจากวัดแล้ว ผู้ปฏิบัติจะนาไปฝึกด้วย ตัวเองต่ออีกหรือไม่ 
หากตอบรับ ผู้ปฏิบัติมีความตั้งใจว่าจะฝึกปฏิบัติบ่อยแค่ไหน และเหตุใดจึงอยากฝึกปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง 
หากตอบปฏิเสธ เหตุใดผู้ปฏิบัติจึงไม่อยากฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่องด้วยตัวเอง 
ตอนที่ ๕ ข้อเสนอแนะ 
ผู้ปฏิบัติมีข้อเสนอแนะต่อการฝึกอบรมการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) หรือไม่ อย่างไร 
กรอบแนวคิดชุดคาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยสังเขป
การทาวัตรเช้า ทาวัตรเย็น มาทาวัตรเช้า – เย็น หรือไม่ มีการลุกออกไปก่อนทาวัตรเสร็จหรือไม่ ความตั้งใจในการปฏิบัติธรรม มีความตั้งใจปฏิบัติธรรมหรือไม่ มีการพูดคุยเล่นระหว่างปฏิบัติหรือไม่ การสอบอารมณ์ มาสอบอารมณ์ตามที่กาหนดหรือไม่ เวลาสอบอารมณ์พูดคุยเรื่องอื่นนอกเหนือจากการปฏิบัติ หรือไม่ ความสงสัยในการปฏิบัติธรรม มีความสงสัยในวิธีการปฏิบัติ หรือผลลัพธ์ของการปฏิบัติบ้างหรือไม่ มีการสอบถามถึงการปฏิบัติ ในแนวทางอื่นๆบ้างหรือไม่ มีการสอบถามเพื่อนผู้ปฏิบัติธรรมท่านอื่นบ้างหรือไม่ การปฏิบัติตนอยู่ในกฎระเบียบ ปฏิบัติตนอยู่ในกฎระเบียบหรือไม่ มีการแอบทาสิ่งที่ห้ามทาบ้างหรือไม่ มีความเข้าใจในการถือ ศีลระหว่างการปฏิบัติธรรม ๘ หรือไม่ 
กรอบการเก็บข้อมูลด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยสังเขป
การปรับตัวกับวิถีชีวิตในวัด 
มีความลาบากกับการใช้ชีวิตในวัดหรือไม่ เช่นมีความอึดอัดในการไม่ได้พูดคุย หรือลาบากในการ งดอาหารเย็น 
การพูดคุยกันระหว่างวัน 
มีการพูดคุยกันระหว่างวันหรือไม่ มาก-น้อยเพียงใด 
ลักษณะอารมณ์โดยทั่วไป 
สังเกตลักษณะอารมณ์โดยทั่วไป ว่าสดใสเบิกบาน เงียบซึม เคร่งเครียด หรือหงุดหงิด เป็นต้น 
ปฏิสัมพันธ์ต่อผู้ร่วมปฏิบัติธรรมท่านอื่นๆ 
มีปฏิสัมพันธ์ต่อผู้ร่วมปฏิบัติธรรมท่านอื่นๆอย่างไรบ้าง 
ความเคารพพระอาจารย์ 
มีความเคารพต่อพระวิปัสสนาจารย์ พระท่านอื่นๆ รวมถึงแม่ชี หรือไม่ มีความรู้สึกเข้าใจ หรือ ต่อต้าน ต่อการต้องแสดงความเคารพต่อพระและแม่ชี 
กรอบการเก็บข้อมูลด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยสังเขป
บรรณานุกรม 
• พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา ปกรณ์วิเสส เนติ ปกรณ์ คัมภีร์วิสุทธิมรรค และคัมภีร์วิมุตติมรรค 
• หนังสือเกี่ยวกับสติปัฏฐาน และวิปัสสนา กรรมฐาน ๕๗ เล่ม (ไทย ๕๕ เล่ม อังกฤษ ๒ เล่ม) • หนังสือเกี่ยวกับการประเมินโครงการ ๑ เล่ม 
• บทความในวารสาร เกี่ยวกับการกาหนดขนาด กลุ่มตัวอย่าง ๑ เล่ม 
• งานวิจัยเกี่ยวกับการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ๑๕ เล่ม (ไทย ๑๔ เล่ม อังกฤษ ๑ เล่ม) 
ต้องหาเพิ่มเติม ! หนังสือ บทความในวารสาร และ งานวิจัย เกี่ยวกับ 
• ทฤษฎีการเรียนรู้ 
• แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล 
• แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ
ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่เข้าร่วมรับฟังโครงการ วิทยานิพนธ์หัวข้อ “ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ“ และ ให้คาแนะนาเพื่อการสร้างงานวิจัยที่มีคุณภาพทางด้านวิชาการ และมีคุณประโยชน์ถวายแก่พระพุทธศาสนาสืบต่อไป 
จบการนาเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
อัญชลี จตุรานน 
๒๖ ส.ค. ๒๕๕๖

More Related Content

What's hot

การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
Thesis hindrances and enlightenment process
Thesis hindrances and enlightenment processThesis hindrances and enlightenment process
Thesis hindrances and enlightenment processNatpreeyaWichittapha
 
หลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูหลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูarpokasin
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3tassanee chaicharoen
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3ฟองเพียร ใจติ๊บ
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 

What's hot (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
Thesis hindrances and enlightenment process
Thesis hindrances and enlightenment processThesis hindrances and enlightenment process
Thesis hindrances and enlightenment process
 
หลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูหลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครู
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 

Viewers also liked

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์Jutatip Ni
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์
เค้าโครงวิทยานิพนธ์เค้าโครงวิทยานิพนธ์
เค้าโครงวิทยานิพนธ์Phimphisa Muayjan
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาKUSMP
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Viewers also liked (8)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์
เค้าโครงวิทยานิพนธ์เค้าโครงวิทยานิพนธ์
เค้าโครงวิทยานิพนธ์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 

Similar to โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ

สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2BTNHO
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 

Similar to โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ (20)

สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
ชุดการสอน
ชุดการสอนชุดการสอน
ชุดการสอน
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
1
11
1
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
4 mat
4 mat4 mat
4 mat
 

More from Anchalee BuddhaBucha

ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียAnchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 

More from Anchalee BuddhaBucha (8)

ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ

  • 1. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๕ จัดทาโดย นางสาวอัญชลี จตุรานน A STUDY OF THE EFFECTIVENESS OF THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER. โครงการวิทยานิพนธ์
  • 2. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสนากรรมฐาน หมายถึง ความเข้าใจ ในวิธีการปฏิบัติ ผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ และแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติไป ฝึกด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ หมายถึง ผู้ปฏิบัติธรรมที่มีสัญชาติ อื่นๆนอกเหนือจากสัญชาติไทย โครงการวิทยานิพนธ์
  • 3. ความวุ่นวายในโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ยุคโลกาภิวัตน์อันเป็นยุค แห่งการพัฒนาและการ แข่งขันนี้ ทุกคนในทุก ประเทศล้วนแล้วแต่ต้องเร่ง พัฒนาตนเอง พัฒนาธุรกิจ และพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศชาติให้เติบโตและ แข็งแรงอย่างรวดเร็วที่สุด ผู้ ที่พัฒนาช้าจะกลายเป็นผู้ที่ เสียเปรียบได้ทันที ด้วย สาเหตุนี้คนเราจึงต้องเร่ง แข่งขันกันในทุกๆด้าน ซึ่งส่วนมากเป็นการพัฒนา ในด้านวัตถุ จนอาจละเลย การพัฒนาในด้านจิตใจ เมื่อ มีการแข่งขันการพัฒนาด้าน วัตถุอย่างรวดเร็วมากกว่า การพัฒนาด้านจิตใจ จึง นามาซึ่งความไม่สมดุลใน การพัฒนา เกิดผลที่ตามมา คือปัญหาทางสังคม และ ปัญหาระหว่างประเทศใน ด้านต่างๆ (อ่านต่อหน้า 5) ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา www.buddhabucha.net THE WORLD TODAY - 26 August 2013
  • 7. • พุทธศาสนามีแนวคาสอนเน้นเรื่องการพัฒนาจิตใจเป็นหลัก คือ วิปัสสนา กรรมฐาน • การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตามแนวทางสติปัฏฐาน ๔ คือ การ พิจารณากาย เวทนา จิต และธรรม เป็นทางสายเอกที่มุ่งตรงไปยังนิพพาน หรือสภาวะที่ดับทุกข์ได้สิ้นเชิง นั่นคือ การเจริญสติปัฏฐาน คือการอยู่อย่าง ไม่มีความทุกข์ที่จะต้องดับ* • ความทุกข์และกิเลสเป็นของสากล การดับทุกข์ของพระพุทธศาสนาจึงมี หลักเป็นสากลเช่นกัน *พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต), พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ, พิมพ์ครั้ง ที่ ๒๔, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖), หน้า ๘๙๑.
  • 8. • พื้นฐานทางวัฒนธรรม ความเชื่อ ความศรัทธา และ ภาษา แต่ละประเทศแตกต่างกัน • ชาวต่างชาติ อาจจะเกิดความเข้าใจในการปฏิบัติ แตกต่างกับคนไทย ซึ่งมีพื้นฐานเติบโตมาในประเทศ แห่งพุทธศาสนา
  • 9. •วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) มีการอบรมวิปัสสนากรรมฐานแก่ผู้ปฏิบัติธรรมชาวไทย และชาวต่างประเทศ • มีชาวต่างประเทศเข้ารับการอบรมวิปัสสนากรรมฐานที่วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) จานวน ๔๘๔ คน (จาก ๖๐ ประเทศ) ในปี ๒๕๕๕ •วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) เป็นวัดวิปัสสนากรรมฐานทางภาคเหนือ เป็นสานัก ปฏิบัติธรรมประจาจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ ๒ ปัจจุบันวัดอยู่ภายใต้การดูแลของ พระครูภาวนาวิรัช (พระปลัดสุพันธ์ อาจิณฺณสีโล) เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน*
  • 10. • เป็นเรื่องที่น่าเสียดายหากผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติที่เดินทางไกลมาเพื่อศึกษาการ ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานจะไม่ได้รับประสิทธิผลเต็มที่ในการเข้ารับการอบรม • และจะเป็นผลเสียมากยิ่งขึ้น หากผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติเข้าใจการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ไม่ถูกต้อง และนาไปเผยแพร่ต่อในประเทศของตน อัน จะเป็นการสร้างความเข้าใจผิด หรือปิดโอกาสผู้อื่นที่สนใจการปฏิบัติ
  • 11. ผู้วิจัยเห็นถึงความสาคัญในการวัดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานของผู้ปฏิบัติ ธรรมชาวต่างชาติ ซึ่งจะเป็นกลุ่มที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นในเวลาอันรวดเร็ว และจะเป็นพลัง สาคัญในสืบทอดเผยแพร่การปฏิบัติธรรม งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๑.) งานวิจัยเกี่ยวกับรายละเอียดของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ เช่น ศึกษา สภาวญาณ หรือจริตที่ใช้ในการปฏิบัติ ๒.) งานวิจัยเกี่ยวกับวิธีการสอนการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของพระ อาจารย์ ๓.) งานวิจัยเกี่ยวกับผลของปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ในด้านต่างๆ เช่น ผลของ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานกับการบริหารงาน หรือการเรียน ๔.) งานวิจัยเกี่ยวกับการประเมินแรงจูงใจ หรือความพอใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนว สติปัฏฐาน ๔
  • 12. ผู้วิจัยหวังว่าผลงานวิจัยชิ้นนี้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการอบรมการปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ แก่ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติให้มีประสิทธิผล สูงสุด ส่งผลให้เกิดผู้พบหนทางแห่งความพ้นทุกข์มากขึ้น และมีผู้เกิดความศรัทธาในการ ปฏิบัติและการเผยแพร่พุทธศาสนามากขึ้น ร่วมกันรักษาและสืบทอดพระพุทธศาสนาสืบ ต่อไปโดยไม่มีข้อจากัดเรื่องชนชั้น เชื้อชาติ และภาษา เพราะผู้ปฏิบัติธรรมอย่างถูกต้อง ทุกคนจะเข้าใจในภาษาเดียวกัน คือ ภาษาธรรม
  • 13. ๑.) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนว สติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ๒.)เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความเข้าใจในผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ๓.) เพื่อศึกษาวิเคราะห์แรงจูงใจในการนาการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนว สติปัฏฐาน ๔ ไปฝึกปฏิบัติด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติธรรม ชาวต่างชาติ วัตถุประสงค์ของการวิจัย
  • 15. ขอบเขตเนื้อหาการศึกษาวิจัย - ศึกษาวิจัยถึง ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนว สติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ วิจัยความ เข้าใจในวิธีการปฏิบัติ ความเข้าใจในผลลัพธ์ของการ ปฏิบัติ และแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติไปฝึกด้วย ตนเองอย่างต่อเนื่อง ขอบเขต เนื้อหา ขอบเขต เอกสาร ขอบเขต ประชากร ขอบเขต พื้นที่ ขอบเขต เวลา
  • 16. ขอบเขตด้านเอกสาร – พระไตรปิฎก, อรรถกถา, หนังสือเกี่ยวกับสติปัฏฐาน ๔, เอกสารของวัดร่าเปิง (ตโปทาราม) ขอบเขต เนื้อหา ขอบเขต เอกสาร ขอบเขต ประชากร ขอบเขต พื้นที่ ขอบเขต เวลา
  • 17. ขอบเขตด้านประชากร • สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติที่มาปฏิบัติธรรมตั้งแต่ ๗ วันขึ้นไป ในช่วงเดือนต.ค. - ธ.ค. ๕๖ (คาดการณ์ว่าในช่วงเดือน ต.ค. – ธ.ค. ๕๖ จะมีผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติที่มาปฏิบัติธรรมตั้งแต่ ๗ วันขึ้นไป จานวนรวมประมาณ ๑๓๓ คน โดยอ้างอิงจากค่าเฉลี่ยสถิติผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ณ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) ในปี ๒๕๕๔ และ ปี ๒๕๕๕ โดยกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ Darwin Hendel ในระดับความ เชื่อมั่น ๙๕% จะได้กลุ่มตัวอย่างจานวน ๙๙ คน) • เก็บข้อมูลโดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยเข้าร่วมฝึกอบรมวิปัสสนา กรรมฐานกับกลุ่มชาวต่างชาติเป็นเวลา ๕ วัน ในช่วงเดือน พ.ย. ๕๖ (ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีจานวนโดยประมาณ ๗ – ๑๐ คน อ้างอิงจากค่าเฉลี่ยสถิติผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ณ วัด ร่าเปิง (ตโปทาราม) ในปี ๒๕๕๔ และ ปี ๒๕๕๕) ขอบเขต เนื้อหา ขอบเขต เอกสาร ขอบเขต ประชากร ขอบเขต พื้นที่ ขอบเขต เวลา
  • 18. ขอบเขต เนื้อหา ขอบเขต เอกสาร ขอบเขต ประชากร ขอบเขต พื้นที่ ขอบเขต เวลา ๔.) ขอบเขตพื้นที่การศึกษาวิจัย - สานักปฏิบัติธรรม นานาชาติ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
  • 19. ขอบเขตระยะเวลาในการศึกษาวิจัย - ศึกษาวิจัยด้วยการ สัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม กับกลุ่มผู้ปฏิบัติ ธรรมชาวต่างชาติที่เข้าพักปฏิบัติธรรม โดยใช้เวลาเก็บข้อมูลด้วย การสัมภาษณ์เชิงลึกในระยะเวลา ๓ เดือน ระหว่างเดือนตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๖ และเก็บข้อมูลด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม เป็นระยะเวลา ๕ วันในช่วงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ ขอบเขต เนื้อหา ขอบเขต เอกสาร ขอบเขต ประชากร ขอบเขต พื้นที่ ขอบเขต เวลา
  • 20. ๑.) ต้องการทราบถึงความเข้าใจในเรื่องวิธีการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ๒.) ต้องการทราบถึงความเข้าใจในผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติ ธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ๓.) ต้องการทราบถึงแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ไปฝึกปฏิบัติด้วยตัวเองต่ออย่างต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ปัญหาที่ต้องการทราบ
  • 21. ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติมีความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติธรรม และผลลัพธ์ของการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ รวมถึงมี แรงจูงใจในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง มากกว่าร้อยละ ๘๐% สมมติฐานการวิจัย
  • 22. ๑.) ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสนากรรมฐาน หมายถึง ความเข้าใจในวิธีการ ปฏิบัติ ผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ และแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติไปฝึกด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติ ธรรมชาวต่างชาติ ๒.) การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน หมายถึง การฝึกหัดปฏิบัติโดยอาศัยรูปนาม ขันธ์ ๕ สาหรับเป็นปัจจัยให้เกิดการเห็นแจ้งตามความเป็นจริงของธรรมชาติ เพื่อ การบรรลุพระนิพพาน ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา นิยามศัพท์เฉพาะในการวิจัย
  • 23. ๓.) สติปัฏฐาน มาจาก สติ คือ การระลึกรู้ ปัฏฐาน คือ เข้าไปตั้งไว้ สติปัฏฐาน หมายถึงฐานที่ตั้งของสติ หรือฐานที่รองรับการกาหนด การระลึก การตามรู้ สภาวธรรม อารมณ์ ณ ปัจจุบัน เป็นการใช้สติพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นตามความ เป็นจริงมี ๔ อย่าง คือ พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม สติปัฏฐาน หมายถึง ที่ตั้งแห่ง การเจริญสติ ๔ ประการ ได้แก่ กาย เวทนา จิต และธรรมอันเป็นที่ตั้ง ที่ระลึกแห่งการ ฝึกฝน อบรมจิตให้เกิดสติรู้ตาม ๔.) การสอบอารมณ์ หมายถึง การตรวจสอบจิตของผู้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดย พระวิปัสสนาจารย์ว่ามีความถูกต้องตามหลักวิปัสสนาญาณ ๑๖ ขั้นหรือไม่ และเพื่อ ป้องกันความวิปลาส อันจะเกิดในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ๕.) ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ หมายถึง ผู้ปฏิบัติธรรมที่มีสัญชาติอื่นๆ นอกเหนือจากสัญชาติไทย นิยามศัพท์เฉพาะในการวิจัย
  • 25. ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับ “สติปัฏฐาน” และ “วิปัสสนากรรมฐาน” จากหนังสือของ • พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต) • พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก) • พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) • พระเทพวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวณฺโณ ป.ธ.๙) • พระปัญญานันโท หนังสือ
  • 26. งานวิจัย ศึกษางานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ในแง่มุมต่างๆ ดังนี้ • ผลการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของสานักต่างๆ • ปัจจัยที่เกื้อกูลต่อการปฏิบัติธรรมของชาวต่างชาติ • การศึกษาสภาวญาณ • การศึกษาแนวทางสอนวิปัสสนากรรมฐานของสานักต่างๆ
  • 28. รูปแบบการวิจัย งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยจะดาเนินการวิจัยตามขั้นตอนดังนี้ ๑.) การวิจัยเอกสาร (Document Research) เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแนว ทางการเจริญสติในพระไตรปิฎก และแนวทางการอบรมการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานของวัดร่าเปิง (ตโปทาราม) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ทาความเข้าใจถึงแนวคิดและรูปแบบการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏ ฐาน ๔ ๒.) การวิจัยภาคสนาม (Field Research) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ที่มาปฏิบัติ ธรรม ณ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ วิธีดาเนินการวิจัย
  • 29. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ใช้การสารวจด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ โดยใช้ชุดคาถาม การสัมภาษณ์เชิงลึกที่ได้การรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิจานวน ๓ ท่าน ว่า สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วมคือเข้ารับการอบรมและปฏิบัติธรรมใน หลักสูตรนานาชาติ ณ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) วิธีดาเนินการวิจัย
  • 30. ขั้นตอนการสรุปวิเคราะห์ ศึกษามหาสติปัฏฐานสูตร ในพระไตรปิฎก และ เอกสารของวัดร่าเปิง (ตโปทาราม) ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการประเมิลผล และ ทฤษฎีการจูงใจ สร้างชุดคาถามเพื่อใช้ใน การสัมภาษณ์เชิงลึกกับ กลุ่มตัวอย่าง ทาการวิจัยภาคสนามด้วย การสัมภาษณ์เชิงลึกและ สังเกตุแบบมีส่วนร่วม รวบรวบข้อมูลจากการ วิจัยภาคสนาม นาข้อมูลมาวิเคราะห์ สรุป และเสนอแนะ วิธีดาเนินการวิจัย
  • 31. ๑.) ทาให้ทราบถึงความเข้าใจในเรื่องวิธีการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ๒.) ทาให้ทราบถึงความเข้าใจในผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติธรรมในแนวสติ ปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ๓.) ทาให้ทราบถึงแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติธรรมในแนวสติปัฏฐาน ๔ ไปฝึกปฏิบัติ ด้วยตัวเองต่ออย่างต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ๔.) ทาให้สามารถนาข้อสรุปจากงานวิจัยชิ้นนี้ไปพัฒนาการอบรมการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ให้แก่ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติได้อย่างมีประสิทธิผล ยิ่งขึ้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
  • 32. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ A STUDY OF THE EFFECTIVENESS OF THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER.
  • 34. บทที่ ๑ บทนา ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๑.๓ ปัญหาที่ต้องการทราบ ๑.๔ สมมติฐานการวิจัย ๑.๕ นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย ๑.๖ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๒.๑ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนว สติปัฏฐาน ๔ ๒.๒ ทฤษฎีการเรียนรู้ ๒.๓ แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล ๒.๔ แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ
  • 35. บทที่ ๓ วิธีการดาเนินการวิจัย ๓.๑ รูปแบบการวิจัย ๓.๒ วิธีการสร้างเครื่องมือในการวิจัย ๓.๓ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ๓.๔ การกาหนดกลุ่มตัวอย่าง ๓.๕ การเก็บรวบรวมข้อมูล ๓.๖ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ๓.๗ เกณฑ์การแปลความหมายข้อมูล บทที่ ๔ ผลการวิจัยและอภิปรายผล ๔.๑ ผลการวิจัยเรื่องความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของ ผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ๔.๒ ผลการวิจัยเรื่องความเข้าใจในผลลัพธ์และ ประโยชน์ของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรม ชาวต่างชาติ ๔.๓ ผลการวิจัยเรื่องแรงจูงใจในการนาการปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ไป ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องของผู้ ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ
  • 36. บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัย และ ข้อเสนอแนะ ๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๕.๒ อภิปรายผลการวิจัย ๕.๓ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนารูปแบบการ อบรมการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ๕.๔ ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป ภาคผนวก ผนวก ก ประวัติวัดร่าเปิง (ตโปทาราม) โดยสังเขป ผนวก ข ผลงานเด่นของวัดร่าเปิง (ตโปทาราม) โดยสังเขป ผนวก ค กฎระเบียบการเข้าปฏิบัติธรรม ณ วัดร่า เปิง (ตโปทาราม) ผนวก ง การสอบอารมณ์ ผนวก จ แบบสัมภาษณ์ ผนวก ฉ รายนามผู้เชี่ยวชาญ ผนวก ช หนังสือออกในการดาเนินการวิจัย
  • 37. ตอนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของผู้ให้สัมภาษณ์ อายุ เพศ สถานภาพสมรส เชื้อชาติ อาชีพ ประสบการณ์การปฏิบัติธรรม ตอนที่ ๒ ความเข้าใจในวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ความเข้าใจในวิธีการเดินจงกรมว่าเดินอย่างไร เหตุใดจึงต้องมีการกาหนดระยะต่างๆ ความเข้าใจในวิธีการนั่งสมาธิว่านั่งอย่างไร เหตุใดจึงต้องมีการกาหนดจุดต่างๆ ความเข้าใจในการกาหนดอิริยาบถย่อย ว่าทาอย่างไร เหตุใดจึงต้องมีการกาหนดอิริยาบถย่อย ระหว่างวัน ตอนที่ ๓ ความเข้าใจในผลลัพธ์และประโยชน์ของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติ ปัฏฐาน ๔ ผลลัพธ์ที่ได้หลังจากการฝึกอบรมปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน เช่น ความเปลี่ยนแปลงทางด้าน ร่างกาย หรือจิตใจ ประโยชน์ที่ได้หลังจากการฝึกอบรมปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานต่อร่างกาย หรือจิตใจ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับหลังจากการฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานอย่างต่อเนื่องในอนาคต กรอบแนวคิดชุดคาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยสังเขป
  • 38. ตอนที่ ๔ แรงจูงใจในการนาการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ไปฝึกปฏิบัติด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง หลังจากจบการฝึกอบรมการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานจากวัดแล้ว ผู้ปฏิบัติจะนาไปฝึกด้วย ตัวเองต่ออีกหรือไม่ หากตอบรับ ผู้ปฏิบัติมีความตั้งใจว่าจะฝึกปฏิบัติบ่อยแค่ไหน และเหตุใดจึงอยากฝึกปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง หากตอบปฏิเสธ เหตุใดผู้ปฏิบัติจึงไม่อยากฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่องด้วยตัวเอง ตอนที่ ๕ ข้อเสนอแนะ ผู้ปฏิบัติมีข้อเสนอแนะต่อการฝึกอบรมการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) หรือไม่ อย่างไร กรอบแนวคิดชุดคาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยสังเขป
  • 39. การทาวัตรเช้า ทาวัตรเย็น มาทาวัตรเช้า – เย็น หรือไม่ มีการลุกออกไปก่อนทาวัตรเสร็จหรือไม่ ความตั้งใจในการปฏิบัติธรรม มีความตั้งใจปฏิบัติธรรมหรือไม่ มีการพูดคุยเล่นระหว่างปฏิบัติหรือไม่ การสอบอารมณ์ มาสอบอารมณ์ตามที่กาหนดหรือไม่ เวลาสอบอารมณ์พูดคุยเรื่องอื่นนอกเหนือจากการปฏิบัติ หรือไม่ ความสงสัยในการปฏิบัติธรรม มีความสงสัยในวิธีการปฏิบัติ หรือผลลัพธ์ของการปฏิบัติบ้างหรือไม่ มีการสอบถามถึงการปฏิบัติ ในแนวทางอื่นๆบ้างหรือไม่ มีการสอบถามเพื่อนผู้ปฏิบัติธรรมท่านอื่นบ้างหรือไม่ การปฏิบัติตนอยู่ในกฎระเบียบ ปฏิบัติตนอยู่ในกฎระเบียบหรือไม่ มีการแอบทาสิ่งที่ห้ามทาบ้างหรือไม่ มีความเข้าใจในการถือ ศีลระหว่างการปฏิบัติธรรม ๘ หรือไม่ กรอบการเก็บข้อมูลด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยสังเขป
  • 40. การปรับตัวกับวิถีชีวิตในวัด มีความลาบากกับการใช้ชีวิตในวัดหรือไม่ เช่นมีความอึดอัดในการไม่ได้พูดคุย หรือลาบากในการ งดอาหารเย็น การพูดคุยกันระหว่างวัน มีการพูดคุยกันระหว่างวันหรือไม่ มาก-น้อยเพียงใด ลักษณะอารมณ์โดยทั่วไป สังเกตลักษณะอารมณ์โดยทั่วไป ว่าสดใสเบิกบาน เงียบซึม เคร่งเครียด หรือหงุดหงิด เป็นต้น ปฏิสัมพันธ์ต่อผู้ร่วมปฏิบัติธรรมท่านอื่นๆ มีปฏิสัมพันธ์ต่อผู้ร่วมปฏิบัติธรรมท่านอื่นๆอย่างไรบ้าง ความเคารพพระอาจารย์ มีความเคารพต่อพระวิปัสสนาจารย์ พระท่านอื่นๆ รวมถึงแม่ชี หรือไม่ มีความรู้สึกเข้าใจ หรือ ต่อต้าน ต่อการต้องแสดงความเคารพต่อพระและแม่ชี กรอบการเก็บข้อมูลด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยสังเขป
  • 41. บรรณานุกรม • พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา ปกรณ์วิเสส เนติ ปกรณ์ คัมภีร์วิสุทธิมรรค และคัมภีร์วิมุตติมรรค • หนังสือเกี่ยวกับสติปัฏฐาน และวิปัสสนา กรรมฐาน ๕๗ เล่ม (ไทย ๕๕ เล่ม อังกฤษ ๒ เล่ม) • หนังสือเกี่ยวกับการประเมินโครงการ ๑ เล่ม • บทความในวารสาร เกี่ยวกับการกาหนดขนาด กลุ่มตัวอย่าง ๑ เล่ม • งานวิจัยเกี่ยวกับการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ๑๕ เล่ม (ไทย ๑๔ เล่ม อังกฤษ ๑ เล่ม) ต้องหาเพิ่มเติม ! หนังสือ บทความในวารสาร และ งานวิจัย เกี่ยวกับ • ทฤษฎีการเรียนรู้ • แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล • แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ
  • 42. ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่เข้าร่วมรับฟังโครงการ วิทยานิพนธ์หัวข้อ “ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ“ และ ให้คาแนะนาเพื่อการสร้างงานวิจัยที่มีคุณภาพทางด้านวิชาการ และมีคุณประโยชน์ถวายแก่พระพุทธศาสนาสืบต่อไป จบการนาเสนอโครงการวิทยานิพนธ์