SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 1
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
ภาวะพัฒนาของประเทศไทยที่ผ่านมา ซึ่งใช้แนวคิดของประเทศตะวันตก ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
ส่วนรวม คือ มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ แต่พึ่งพาภายนอกมากยิ่งขึ้น เช่น เทคโนโลยี การลงทุน ภาระ
หนี้สินต่างประเทศ นอกจากนั้นผลจากการพัฒนายังทาให้คนมีฐานะดีซึ่งเป็นคนส่วนน้อยดียิ่งขึ้น แต่คนส่วน
ใหญ่จนลง ทาให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาประเทศสู่ความ
ทันสมัยนี้ยังได้ส่งผลกระทบต่อการพึ่งตนเองของชุมชนในชนบทไทย ด้วยพลังอานาจของวิทยาศาสตร
เทคโนโลยีและเครือข่ายเศรษฐกิจ ได้พลิกระบบการผลิตขั้นพื้นฐานของชาวบ้านในชนบท การซื้อขายข้าว
ของเครื่องใช้ต่าง ๆ เกิดขึ้นทั่วไปในระดับหมู่บ้าน ทาให้สินค้าหัตถกรรมดั้งเดิม เริ่มลดความหมายลงและ
เกิดการเปลี่ยนแปลงการผลิตทางการเกษตรเพื่อใช้บริโภคในหมู่ประชาชน มาเป็นผลิตภัณฑการเกษตรเพื่อ
สนองความต้องการภายในประเทศและในตลาดโลกชุมชนที่เคยพึ่งตนเองได้ถูกทาลายจนล่มสลายไปอย่าง
รวดเร็ว แบบแผนการดาเนินชีวิตเปลี่ยนไป คนวัยแรงงานต่างเดินทางไปหางานทาในเมืองใหญ่ ทิ้งลูกเล็ก
ไว้กับพ่อแม่ที่แก่เฒ่า ความเรียบง่ายกลายเป็นความฟุ้งเฟ้อแบบสังคนบริโภค สถาบันครอบครัวอ่อนแอ
ก่อให้เกิดรูปธรรมของปัญหาสังคมตามมามากมาย
ในชุมชนบ้านเปร็ดใน ตาบลห้วงน้าขาว อาเภอเมือง จังหวัดตราด เป็นชุมชนหนึ่งที่เดินตามกระแส
ของการพัฒนาที่เน้นความเจริญเติบโตของประเทศ รูปแบบการผลิตที่เปลี่ยนแปลงไป จากการผลิตเพื่อยัง
ชีพ เป็นการผลิตเพื่อขาย ที่ไม่ได้มุ่งเน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเอง เป็นกระแสความเจริญที่หลั่งไหลเข้ามา
ในชุมชน ทาให้การดารงชีวิตในชุมชนที่เปลี่ยน เมื่อชุมชนเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนา ก็น่าจะเกิดปัญหา
ต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้นตามมาดังที่เกิดในชุมชนต่าง ๆ ทั่วประเทศ อย่างไรก็ดีชุมชนนี้มีความแตกต่างจาก
ชุมชนอื่น ๆ ที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจแบบก้าวหน้านี้ คือ ชุมชนบ้านเปร็ดในมีสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าชุมชนมี
ศักยภาพ เกิดการรวมพลัง ช่วยกันสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในชุมชนได้ จนสามารถเป็นที่ยอมรับจาก
สังคมภายนอกได้
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ โดยการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัฒน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ
อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน โดยต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ
ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน และจะต้อง
เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ให้มีความสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และให้มีความรอบรู้ที่
เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 2
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตัวเองอยู่ได้โดยไม่ต้องเดือดร้อน โดยต้อง
สร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดีเสียก่อน คือตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ ไม่ใช่มุ่งแต่จะทุ่มเทสร้าง
ความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่เพียงอย่างเดียว เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง
ย่อมสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าและฐานะเศรษฐกิจขั้นสูงไปตามลาดับต่อไปได้ เศรษฐกิจพอเพียง
มิได้จากัดเฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไร่ชาวนาเพียงเท่านั้นแต่เป็นเศรษฐกิจของทุกคนทุอาชีพ ทั้งมีอยู่ใน
เมืองและอยู่ในชนบท เช่น ผู้ที่เป็นเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม และบริษัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถ้า
จะต้องขยายกิจการเพราะความเจริญเติบโตจากเนื้อของงาน โดยอาศัยการขยายตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป
หรือหากจะกู้ยืมก็กระทาตามความเหมาะสม ไม่ใช่กู้มาลงทุนเกินตัวจนไม่เหลือที่มั่นให้ยืนอยู่ได้ ต้องรู้จักใช้
จ่าย ไม่ฟุ่มเฟือยเกินตัว
แนวคิดทฤษฎีใหม่ที่เน้นความพอเพียง 3 ระดับ คือ เลี้ยงตนเองได้ในระดับครอบครัว ในระดับ
ชุมชนมีการรวมพลังพัฒนาการผลิต การตลาด การพัฒนาคุณภาพชีวิตสวัสดิการสังคมและสิ่งแวดล้อม และ
ระดับที่สามคือในระดับประเทศ ที่ต้องร่วมมือเป็นพันธมิตรกับแหล่งเงินทุน แหล่งเครือข่ายข้อมูลข่าวสาร
องคกรพัฒนาเอกชน หน่วยงานรัฐ ในการทาธุรกิจที่แข่งขันได้ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตบนผลประโยชน
ที่เท่าเทียมกันของทุกฝ่าย โดยเน้นว่าการพึ่งตนเอง เน้นการเรียนรู้และการทางานร่วมกัน รู้จักช่วยเหลือ
แบ่งปันทั้งในเรื่องการให้การรับไม่ใช่มุ่งแสวงหากาไรสูงสุด มีการพึ่งพาอาศัยกันในชุมชนและระหว่างชุมชน
กับภาคธุรกิจอย่างเท่าเทียมกันด้วย สรุปได้ว่า ความพอเพียง หมายถึง ความสัมพันธระหว่างดุลยภาพทั้ง 3
ประการคือ มนุษยกับธรรมชาติ คือ ในความพอดีในการใช้ประโยชนจากธรรมชาติพร้อม ๆ กับการดูแลและ
อนุรักษธรรมชาติ มนุษยกับมนุษย (สังคม) คือ การพึ่งพาอาศัยและการไม่เบียดเบียนกันและกายกับจิต คือ
ความพึงพอใจกับคุณภาพชีวิตที่มีขอบเขต คือ ไม่เบียดเบียนมนุษยและธรรมชาติ
สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวว่า เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตัวเอง
(Relative Self-Sufficiency) อยู่ได้โดยไม่ต้องเดือดร้อน โดยต้องสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดี
เสียก่อน คือตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ ไม่ใช่มุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่
เพียงอย่างเดียว เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง ย่อมสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้า
และฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นไปตามลาดับต่อไปได้ โดยอยู่ในกรอบพอเพียงตามนัยสาคัญ 3 ประการ คือ
1. ให้ความสาคัญต่อการพึ่งตนเอง โดยมุ่งเน้นการผลิตให้พอเพียงกับความต้องการบริโภคในครัวเรือน
เป็นอันดับแรก หรือการประกอบอาชีพที่พอเพียงต่อการต้องการของตน หลักใหญ่คือ ลดค่าใช้จ่าย
เกิดความพออยู่พอกิน
2. ให้ความสาคัญกับการรวมกลุ่ม กระตุ้นให้ชาวบ้านหรือกลุ่มชาวบ้านเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ
เพื่อให้มีการพัฒนาจนเกิดความเข้มแข็ง มีเครือข่ายที่กว้างขวางมากขึ้น และเป็นไปอย่างมี
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
เสถียรภาพ โดยน้อมนาพระราชดารัส “รู้รักสามัคคี” เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวให้เกิดความเป็นปึกแผ่นใน
กลุ่มชุมชนต่าง ๆ เพื่อเป็นรากบานในความอยู่ดีกินดีในลาดับต่อไป
3. เศรษฐกิจพอเพียงตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งความเอื้ออาทรและความสงบสันติสุขกระตุ้นให้ชุมชนร่วม
แรงร่วมใจเพื่อประกอบอาชีพ เพื่อประโยชนอันมิใช่รายได้เพียงมิติเดียว แต่ต้องเห็นประโยชนอื่น ๆ
ด้วย เช่น การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสร้างภูมิปัญญาท้องถิ่นและความ
ปรองดองในชุมชน
จากที่กล่าวมาข้างต้นพอที่จะอธิบายได้ว่า การปฏิบัติตนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปัจจัย
หนึ่งที่สามารถทาให้คนในทุกชุมชน ในทุกชุมชน และในทุกสาขาอาชีพ สามารถพึ่งตนเองได้ และพัฒนา
ไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนในรูปของกลุ่มและองคกรประชาชน ซึ่งในชุมชนบ้านเปร็ดในมีพัฒนาการของ
การปรับเปลี่ยนวิถีทางการดาเนินชีวิตอยู่ตลอดเวลา และมีกระบวนการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนโดย
การรวมกลุ่มในเรื่องของการระดมทุนในชุมชน คือ กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย และการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน คือ กลุ่มอนุรักษและพัฒนาป่าชายเลน ซึ่งเป็นผลทาให้ชุมชน
ได้รับการยอมรับจากนักวิชาการและสังคมภายนอกว่ามีความเข้มแข็งในระดับหนึ่ง ทาให้เป็นประเด็นสนใจ
ที่น่าจะศึกษาว่า ในชุมชนบ้านเปร็ดในที่มีระบบเศรษฐกิจแบบผลิตเพื่อขายและมีความเข้มแข็งนั้น มีลักษณะ
ของเศรษฐกิจพอเพียงอยู่ด้วยหรือไม่ อย่างไร และมีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลกระทบต่อลักษณะเศรษฐกิจของ
ชุมชน
ผลการศึกษาเรื่อง “พลวัตชุมบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง” ผู้ศึกษาได้เก็บ
รวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณและการสังเกตวิถีการดาเนินชีวิตของเกษตรกร จานวน 39 ราย ซึ่งผล
การศึกษาสามารถจาแนกเนื้อหาออกเป็น ประวัติความเป็นมา สภาพของชุมชน และพัฒนาการทาง
เศรษฐกิจ รวมทั้งข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
ประวัติความเป็นมา
บ้านเปร็ดใน ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 2 ตาบลห้วงน้าข้าว อาเภอเมือง จังหวัดตราด มีอายุการตั้งถิ่นฐานมา
146 ปี เป็นหมู่บ้านที่มีชื่อเสียง ได้รับการยอมรับจากสังคมภายนอก ไม่ว่าในแวดวงวิชาการ หรือในระดับ
กลุ่มรากหญ้าด้วยกันเอง มีความสามารถในการพึ่งตนเองได้ บ้านเปร็ดในนั้นเป็นหมู่บ้านที่มีลักษณะ
คล้ายคลึงกับหมู่บ้านอื่น ๆ ในภาคตะวันออก คือ มีการตั้งบ้านเรือนที่อยู่อาศัยและสวนไว้ที่เดียวกัน ทาให้
บ้านเรือนแต่ละหลังอยู่ห่างกันพอสมควร ขึ้นอยู่กันจานวนการถือครองที่ดิน ว่ามีอาณาบริเวณมากน้อย
เพียงใด ซึ่งบ้านเปร็ดในนั้นเป็นชุมชนที่อยู่ใกล้กับบริเวณชายฝั่งทะเลที่เป็นป่าชายเลน มีความอุดมสมบูรณ
ในอดีต บริเวณป่าชายเลนนั้นมีสภาพเป็นโคลนตมและน้าเค็มซึ่งเหมาะสมทางนิเวศของป่าชายเลน มีพืช
พรรณไม้หลายชนิดที่เจริญงอกงามตามลักษณะภูมิศาสตรธรรมชาติ
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 4
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
สาหรับการตั้งถิ่นฐานเมื่อครั้งแรกนั้น เริ่มเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2396 โดยเริ่มแรก ทวดตุ๋ง เป็นผู้นา
สันนิษฐานว่าครั้งแรกอพยพมาจากประเทศจีน ต่อมาจึงอพยพมาที่บ้านโคกในจังหวัดตราดและอพยพมาที่
บ้านเปร็ดในนี้ ด้วยความที่สถานที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณและยังไม่มีผู้ใดมาจับจองไว้ ในปัจจุบันมี
ผู้สูงอายุ คือ นางแอ๊ด สติดี อายุ 95 ปี บอกว่าตั้งแต่จาความได้พบว่าผู้ใหญ่สั่ว (ไม่ทราบนามสกุล) กาลัง
เป็นผู้ใหญ่บ้านอยู่ ฉะนั้นจึงสรุปให้ผู้ใหญสั่วเป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรกของบ้านเปร็ดใน ช่วงแรกนั้นมีการเริ่มตั้ง
บ้านทั้งหมด 10 ครัวเรือน กระจายบ้านเรือนอยู่บริเวณซอยสุขใจ ซอยหน้าโรงเรียน
ส่วนความหมายของเปร็ดใน เป็นภาษาเขมร แปลว่า ทางออก จากเอกสารข้อมูลชุมชนที่ชาวบ้าน
เปร็ดในช่วยกันรวบรวม ได้กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า คุณยายลิ้มเป็นผู้เล่าให้ฟังโดยสันนิษฐานว่า คานี้มาจากคาว่า
“เป็ด” เพราะปู่ ย่า ตา ยาย บอกต่อกันมาว่า ก่อนนั้นเคยมีเป็ดมาอยู่ที่หนองน้าในหมู่บ้านนี้ 2 ตัว ชาวบ้าน
เรียกว่า “เป็ดเงินเป็ดทอง” ต่อมามีเณรมาจากทางเหนือมาเอาเป็ดไป หลังจากนั้นก็ไม่มีเป็ดมาให้เห็นอีกเลย
ชาวบ้านจึงเรียกว่า “เป็ดเณร” ต่อมาคงแผลงเป็น “เปร็ดใน” แต่ไม่ทราบว่าไปคล้องจองกับภาษาเขมรได้
อย่างไร
สภาพของชุมชน
1. ลักษณะทางกายภาพและที่ตั้งของหมู่บ้าน
สภาพที่ตั้ง บริเวณที่อยู่อาศัยตั้งอยู่บนพื้นที่ดอน ระดับความสูงประมาณ 41 เมตร จาก
ระดับน้าทะเล ทิศตะวันตกเป็นบริเวณที่เพาะเลี้ยงสัตวน้า (นากุ้ง และปู ปลา) รวมถึงพื้นที่นาซึ่งปัจจุบันถูก
ปล่อยทิ้งร้าง เป็นบริเวณที่ราบต่าชายฝั่งทะเล บริเวณนี้มีน้าท่วมถึงอยู่เสมอ ถัดจากนากุ้งเป็นคลอง
ประมาณ 10 สาย อยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน จานวน 12,000 กว่าไร่ ในเขตพื้นที่ของบ้านเปร็ดใน จากพื้นที่ป่า
ทั้งหมด 24,386.50 ไร่ ลักษณะพื้นที่ส่วนบนเป็นดินปนทราย เหมาะสมกับการปลูกพืชไร่ พืชสวน ส่วน
ด้านล่างของหมู่บ้านเป็นดินโคลน เหมาะกับการทานากุ้ง
ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดตราดมีลักษณะเป็นแบบป่าฝนเมืองร้อน โดยมีฝนตกอยู่ตลอดปีแม้เป็น
ช่วงฤดูแล้ง อุณหภูมิอยู่ในเกณฑสม่าเสมอตลอดปี กล่าวได้ว่า จังหวัดตราดมีเพียง 2 ฤดูใหญ่เท่านั้น คือ
ฤดูแรกฤดูฝน ซึ่งเป็นฤดูที่มีฝนตกชุกมากเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ฤดูที่สองฤดูแล้ง เริ่มตั้งแต่
พฤศจิกายนถึงเมษายน
2. ลักษณะบ้านเรือนที่อยู่อาศัย
ตัวบ้านส่วนใหญ่เป็นบ้านเก่าเรือนไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูงมีอายุ 30 ปีขึ้นไป ซึ่งกิจกรรมแทบทุกอย่าง
ทาบนเรือนชาน เช่น การทาครัว การซุกผ้า ฯลฯ ส่วนห้องน้ามักแยกออกไปจากตัวบ้าน นอกจากนี้ยังมี
บ้าน 2 ชั้น ที่เป็นครึ่งตึกครึ่งไม้ (คือ บ้านไม้ใต้ถุนสูง แต่ต่อมามีการต่อเติมปูนที่ใต้ถุนบ้าน เพื่อประโยชนใน
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 5
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
การใช้งาน เช่น อยู่อาศัย เก็บของ ห้องครัว ห้องน้า) แต่ถ้าเป็นบ้านปูนส่วนใหญ่เป็นชั้นเดียว และก่อสร้าง
มาในระยะไม่เกิน 10 ปีมานี้ และบ้านมุงหลังคาด้วยใบจากมีปรากฎให้เห็นอยู่บ้างในบริเวณที่ทานากุ้งและ
ปลายคลองเปร็ด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่มีอาชีพทาประมง
3. ลักษณะทางสังคม / วัฒนธรรม
เครือญาติ จากการศึกษาชุมชน พบว่า ครอบครัวใหญ่ ๆ หลายหลังคาเรือนเป็นครอบครัวที่อาศัย
อยู่รวมกัน 2-3 ครอบครัว ชาวบ้านในหมู่บ้านมีการสืบเชื้อสายชาวจีนและชาวไทย เป็นลักษณะของ
ครอบครัวขยายที่ยังมีสมาชิกอยู่รวมกัน 2-3 รุ่น ได้แก่ ปู่ย่าตายาย ลุงป้าน้าอา พ่อแม่ ลูกและหลาน
ลักษณะของครอบครัวขยายในชุมชนแห่งนี้มี 2 ลักษณะด้วยกัน คือ อาศัยอยู่รวมกับพ่อแม่ในบ้านหลัง
เดียวกัน กินอยู่ร่วมกัน และอีกลักษณะหนึ่งคือ เป็นครอบครัวใหม่ที่อาจแยกครอบครัวมาปลูกบ้านใหม่ แต่
ยังอาศัยอยู่ในที่ดินของพ่อแม่ อาจหุงหาร่วมกัน หรืออาจแยกมาหุงหากินเองก็มีบ้าง แต่ก็ยังพึ่งพาอาศัยจาก
ครอบครัวใหญ่อยู่บ้างในเรื่องของการดูแลเด็กหรือสมาชิกใหม่ในครอบครัว เพราะตนเองต้องออกไปทางาน
นอกบ้าน จึงได้มอบภาระการดูแลเด็กและการหุงหาอาหารให้กับครอบครัวของพ่อแม่ และถ้าเป็นเด็กที่พอ
ช่วยเหลือตัวเองได้แล้ว พ่อแม่ก็มักพาออกไปทางานด้วย
4. บุคคลในชุมชน
ผู้นาเริ่มจากทวดตุ๋งเป็นผู้นาในระยะเริ่มแรก ต่อมาเป็นผู้ใหญ่สั่วซึ่งผู้ใหญ่สั่วได้แต่งตั้งเป็นผู้ใหญ่บ้านคน
แรก หลังจากนั้นผู้ใหญ่มี ถือสัตยเป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 คนที่ 3 คือ กานันเสริฐ อุตราคม คนที่ 4 ผู้ใหญ่บ้าน
สอน เสี่ยงเคราะห คนที่ 5 ผู้ใหญ่บ้านสง่า ผึ้งรั้ง ส่วนคนปัจจุบันผู้ใหญ่บ้านอาพร แพทยศาสตร โดย
ผู้ใหญ่บ้านอาพร ได้รับเลือกเข้ามาเป็นผู้ใหญ่บ้านเมื่อปี พ.ศ. 2539 ชาวบ้านส่วนใหญ่เลือกด้วยเหตุผลที่
เป็นคนดี เป็นคนธรรมะธัมโม มีจิตใจที่พัฒนาหมู่บ้าน มีความคิดริเริ่มพัฒนาหมู่บ้านให้มีความเจริญทั้ง
ทางด้านวัตถุควบคู่ไปกับการพัฒนาทางด้านจิตใจ
คนในชุมชนส่วนใหญ่คือคนพื้นเพเดิมที่เกิดและพักอาศัยอยู่ในท้องถิ่นมานาน การมีหนีสิ้นนั้นส่วนใหญ่กู้
หนี้ยืมสินเพื่อการทาทุนในการประกอบอาชีพ การศึกษาของบุตรหลาน รักษาพยาบาล ลักษณะและ
ทรัพยสินส่วนใหญ่เป็น โทรทัศน ตู้เย็น เตาแก๊ส หม้อหุงข้าว พัดลม รถกระบะ ฯลฯ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะคน
ในชุมชนมีฐานะเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง รวมถึงการประกอบอาชีพที่ต้องใช้เวลาหมดเปลืองไปเกือบ
ทั้งวัน ทาให้ต้องการความสะดวกสบายหลังการทางานที่เหนื่อยจากงานแล้ว ลักษณะการประกอบอาชีพ
ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาสวนผลไม้ สวนยางพารา ทานากุ้ง เพาะเลี้ยงสัตวน้า รับจ้าง ค้าขาย และรับ
ราชการ
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 6
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
5. กิจกรรมที่มีในชุมชนและการมีส่วนร่วมในชุมชน
ในอดีตไม่มีการรวมกลุ่มที่แสดงให้เห็นชัดเจน เริ่มเห็นเมื่อ 29 ตุลาคม 2529 คือหลังจากที่ชาวนากุ้ง
เริ่มประสบกับปัญหาภาวะขาดทุน ทาให้ต้องเป็นหนี้สินกันมาก ในหมู่บ้านไม่มีการสะสมทุนอยุ่เลย นางผ่อง
ศรี อินทรสุวรรณ ซึ่งเป็นพนักงานอนามัยห้วงน้าขาว หรือ ที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “หมอผ่องศรี” ริเริ่มให้
ชาวบ้านมารวมตัวกันจัดตั้งสหกรณร้านค้าขึ้นโดยจัดให้ชาวบ้านรวมตัวกันไปศึกษาดูงานสหกรณร้านค้าและ
ตกลงวางแผนตั้งกลุ่มสหกรณ โดนมีวัตถุประสงคที่ให้ชาวบ้านมีความเป็นอยู่ดีขึ้น 3 ข้อ คือ
1) ให้สมาชิกมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ได้ซื้อสินค้าในราคาถูก และได้รับเงินปันผล
2) ทุกคนในหมู่บ้านได้ทากิจกรรมร่วมกัน ตั้งแต่เริ่มจากการเป็นผู้ขาย ทาบัญชี บริหารร้าน และเป็นผู้ซื้อ
3) ให้สมาชิกของกลุ่มมีอานาจต่อรองกับร้านค้านายทุนได้
ซึ่งสหกรณร้านค้าแห่งนี้ได้จัดตั้งขึ้นโดยความสมัครใจของชาวบ้านเปร็ดในเองและใช้ชื่อว่า “ศูนย
สาธิตกองทุนอเนกประสงคและกองทุนยา” ซึ่งแบ่งปันผลประโยชนในสัดส่วนดังนี้ คือ
1) ผู้ถือหุ้น ร้อยละ 20
2) คณะกรรมการต่าง ๆ เช่น ผู้ขาย ผู้ตรวจสอบสินค้า พนักงานจัดซื้อสินค้า พนักงานบัญชี ร้อยละ 40
3) สมาชิกผู้ถือหุ้น เมื่อซื้อของแล้วจดหมายเลขสมาชิก พอสิ้นปีได้เงินปันผล ร้อยละ 35
4) สวัสดิการของทางร้าน เช่น ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในร้าน รวมถึงการช่วยงบพัฒนาในหมู่บ้านด้วย อีกประมาณ
ร้อยละ 5
ปัจจุบันกองทุนแห่งนี้ยังคงดาเนินการอยู่ นับว่าเป็นกลุ่มองคกรที่มีอายุยืนยาวมากที่สุดในหมู่บ้าน
แห่งนี้
6. เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานราชการ/เอกชน
มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับหมู่บ้านนี้ในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ กันดังนี้ กรมป่าไม้ กรมประมง กรมการ
พัฒนาชุมชน สาธารณสุข ครู พระสุบิน ปณีโต กองทุนการลงทุนเพื่อสังคมและศูนยฝึกอบรมวนศาสตร
ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค (RECOFTC)
กองทุนการลงทุนเพื่อสังคม ให้การสนับสนุนในเรื่องของเงินทุนในส่วนของการพัฒนาและอนุรักษป่า
ชายเลน โดยให้งบประมาณมาจัดสร้างสะพานทางเดินในป่าชายเลน บ้านพักสาหรับพนักงานตรวจและเฝ้า
ระวังป่า และเรือยนตที่ใช้เป็นพาหนะในการตรวจและเฝ้าระวังผู้ลักลอบตัดไม้ในป่าชายเลน
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 7
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
พัฒานาการทางด้านเศรษฐกิจของชุมชน
ช่วงก่อน พ.ศ. 2482 (ยุคการผลิตแบบดั้งเดิม)
ช่วงตั้งถิ่นฐานครรั้งแรกในปี พ.ศ. 2393 มีครัวเรือนประมาณ 10 หลังคาเรือน บรรพบุรุษเป็นชาวจีน
ที่อพยพมาจากบ้านโคก ได้เห็นที่ดินบริเวณนี้ยังว่างอยู่จึงเข้ามาหักร้างถางพงและทานาข้าว นอกจากนั้นก็
เป้นการเก็บของป่า ล่าสัตวป่ารวมถึงการหากุ้ง หอย ปูปลาในป่าชายเลนเป็นอาหาร ช่วงต่อมาประมาณปี
พ.ศ. 2460-2482 เป็นช่วงขยายตัวของหมู่บ้าน จากการแต่งงานและมีลูกหลาน แต่การทามาหากินก็ยังคง
เป็นการทานาข้าวไร่ การทานาในสมัยนั้นใช้พันธุข้าวขาวลา ซึ่งเป้นพันธุข้าวที่มีความทนทานต่อน้าเต็มมาก
การคมนาคมในช่วงนี้ส่วนใหญ่เป็นการเดินทางโดยเท้าและโดยเกวียน ซึ่งมีอยู่ไม่กี่ครอบครัวเท่านั้น และ
เดินทางด้วยเรือโดยล่องเรือไปตามโครงข่ายคลองเปร็ด ซึ่งมีอยุ่จานวน 12 คลอง โดยสรุปในยุคดั้งเดิมของ
ชุมชน ชาวบ้านอยู่กันอย่างเอื้ออาทร ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีการแบ่งปันอาหารกัน พึ่งพาอาศัยกัน วิถีการ
ผลิตเป็นการพึ่งพิงธรรมชาติ และใช้ประโยชนจากธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า
พ.ศ. 2482-2526 (ยุคการเข้ามาของพืชเศรษฐกิจ)
ในช่วงระยะเวลานี้ ชาวบ้านส่วนใหญ่มีกิจกรรมเน้นหนักไปทางเกษตรกรรม คือมีการทานาข้าว ทา
สวนยางและทาสวนผลไม้ ซึ่งเป็นผลมาจากการรับกระแสการพัฒนาแบบใหม่ วิถีชีวิตของชาวบ้านเปร็ดใน
ยังปรับเปลี่ยนไปตารมกระแสบริโภคนิยมอีกด้วย การเดินทางเข้าตัวจังหวัดได้สะดวกสมาชิกในชุมชน
เดินทางไปซื้อสินค้าจากในตัวเมืองเข้ามาขายในชุมชน และมีรถยนตเข้ามาจาหน่ายสินค้าในชุมชน จึงเข้า
สู่วัฏจักรของการผลิตแบบกระแสหลักคือ การผลิตเพื่อขาย นาเงินมาซื้อสินค้าที่ต้องการ เมื่อไม่มีเงิน ก็เป็น
หนี้เป้นสิน เพื่อให้ตนเองเท่าเทียมกับผู้อื่น
พ.ศ. 2525-2538 (ยุคการเข้ามาของนากุ้งและความเสื่อมโทรมของทรัพยากร)
การทานากุ้งที่หมู่บ้านเปร็ดในมี 2 แบบคือการเลี้ยงกุ้งแบบดั้งเดิมและการเลี้ยงกุ้งแบบพัฒนา
ประมาณร้อยละ 60 ของครัวเรือนทั้งหมดที่ทานากุ้งแบบพัฒนา คือใช้ใบพัดตีน้าเพื่อเพิ่มออกซิเจน ใช้
สารเคมีเพิ่มมากขึ้น พอนาน ๆ น้าก็เริ่มเสีย ชาวนากุ้งสวนใหญ่นั้นต้องลงทุนประมาณบ่อละ 200,000-
300,000 บาท หากมีหลายบ่อต้องใช้เงินนับล้านบาท พอขาดทุนต้องขายที่ดินและทรัพยสินใช้หนี้ ชาวบ้าน
เริ่มเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นแล้ว จึงมีการรวมตัวจัดตั้งสหกรณร้านค้าขึ้นมา ต่อมาชาวบ้านหันมาทานากุ้งแบบ
ธรรมชาติที่ไม่ต้องใช้สารเคมี หลังจากเกิดปัญหา ชาวบ้านจึงเริ่มตระหนักและมีกระบวนการแก้ไขปัญหา
ภายในชุมชนตัวเอง
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 8
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
พ.ศ. 2538-ปัจจุบัน (ยุคการปรับตัวของชุมชนในปัจจุบัน)
ปัจจุบันรายได้หลักมาจากการประกอบอาชีพทาสวนผลไม้ชนิดสวนผสม อาชีพรองลงมาคือการทา
สวนยางพาราและการทานากุ้ง และเพาะเลี้ยงสัตวน้า นอกจากนั้นรับจ้างกรีดยาง และจับปู ปลา และค้าขาย
รวมถึงการรับจ้างทางานทุกประเภทในเวลาว่างจากการทางานหลัก
ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
1) กลุ่มอาชีพที่แสดงให้เห็นว่ามีกิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบพอเพียงอย่างเด่นชัด
1. สวนผลไม้
ในการศึกษาครั้งนี้ ทาการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ประกอบอาชีพและมีรายได้หลักจากสวน
ผลไม้จานวนทั้งสิ้น 7 รายพบว่ามีการปลูกประเภท เงาะ ทุเรียน สัปปะรด เป็นส่วนมาก นอกจากนั้นเป็น
การปลูกแซมเช่น มังคุด ลองกอง ลางสาด ระกา สละ ชมพู่ ชาวสวนผลไม้ส่วนใหญ่มีที่ดินประมาณ 5-20 ไร่
ในกระบวนการผลิตนั้น ต้องใช้เงินลงทุนประมาณ 5,000–20,000 บาท ซึ่งเป็นค่าปุ๋ย ค่ายาฆ่าแมลง
ค่าไฟฟ้า ค่าน้ามันเชื้อเพลิง เป็นต้น แรงงานที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นครอบครัว ภุมิปัญญาของชาวสวนที่เห้นได้
ชัดเจนคือกรใช้ลูกเหม้นใส่ขวดน้าพลาสติก แขวนไว้ที่กิ่งไม้โคนต้นไม้ที่ให้ผล เพื่อให้กลิ่นลูกเหม็นกระจาย
ไปทั่วจนปลายต้น เป้นการใช้กลิ่นลูกเหม็นไล่แมลง
ที่หมู่บ้านนนี้ชาวสวนไม่นิยมนาผลผลิตมาแปรรูปเพื่อขาย โดยให้เหตุผลว่าไม่มีเวลาและหาตลาด
ไม่ได้ ถ้าแปรรูปแล้วสวนใหญ่ทาไว้เพื่อบริโภคเอง และแจกจ่ายตามบ้าน
2. ประมง จับสัตวน้า
ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจานวน 4 รายที่ประกอบอาชีพประมง โดยเฉพาะการจับสัตวน้านี้ พบว่าส่วน
ใหญ่ทาประมงอย่างเดียว ทาให้มีฐานะที่ยากจน เพราะมีรายได้น้อยมาก เพียงเดือนละ 1,500–2,000 บาท
เท่านั้น ใน 1 เดือนชาวบ้านมีรายได้เพียง 15 วันเท่านั้น อาชีพนี้ต้องอาศัยปัจจัยในการผลิตในเรื่องของ
เงินทุนอยู่บ้าง คือเงินลงทุนในเรื่องของค่าเครื่องมือ เป็นการลงทุนแบบครั้งเดียว เมื่อจับสัตวน้ามาแล้ว ก็
นามาคัดแยกขนาดเพื่อนาไปขาย ตลาดที่รับซื้อแหล่งใหญ่อยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านอ่าวกูด ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ติด
ชายฝั่งทะเลจึงมีการทาประมงกันเยอะ และไปขายที่ตลาดในตัวจังหวัด
กลุ่มที่มีผลต่อการทาอาชีพนี้ที่เห็นได้ชัดเจนคือ กลุ่มอนุรักษและพัฒนาป่าชายเลนที่เกิดขึ้นมาจาก
การรวมตัวของคนในหมุ่บ้านเพื่อให้ป่าชายเลนและสัตวที่อาศัยในป่าชายเลนคงอยู่มีผลต่อการทาอาชีพ
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 9
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
ประมงเป็นอย่างมาก วึ่งในการอนุรักษนั้นมีการจัดเรือลาดตระเวน ดูแลรักษาป่ารวมถึงชาวประมงที่ออกหา
ปลาในตอนกลางคืนก็ทาหน้าที่นี้ด้วย
3. การเพาะเลี้ยงสัตวน้า (นากุ้งและเลี้ยงปู ปลา)
ในชุมชนบ้านเปร็ดในนี้ ส่วนใหญ่มีทั้งการทานากุ้งแบบพัฒนา การทานากุ้งแบบธรรมชาติ และการ
เลี้ยงปู ปลาในบ่อ จากข้อมูลที่ได้รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่าง 12 รายแบ่งเป็น การทานากุ้งแบบธรรมชาติ 5
ราย การทานากุ้งแบบพัฒนา 2 ราย และการเลี้ยงปู ปลาในบ่อ 5 ราย
จากข้อมูลที่ศึกษามาพบว่า อาชีพทานากุ้งมีการลงทุนสูงและความเสี่ยงสูง โดยเฉพาะการทานากุ้ง
แบบพัฒนา ลงทุนบ่อหนึ่ง ไม่ต่ากว่า 100,000 บาท เริ่มจากขุดเตรียมบ่อและปล่อยน้าทะเลไหลเข้ามา ใน
ระหว่างนั้นควบคุมปัจจัยการผลิตทุกขั้นตอน วิธีนี้เลี้ยงอยู่ประมาณ 4-5 เดือน ถ้ากุ้งมีสภาพแข็งแรงและ
เจริญเติบโตดี ทาให้ได้ราคาไม่ต่ากว่า 800,000 บาท แต่ถ้ากุ้งเป็นโรค มีขนาดเล็ก ทาให้ราคาตกหรือ
ขาดทุนได้
มีปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดการได้กาไรหรือขาดทุน คือน้าที่ใช้ในคลองเพราะต้องมีการระบายน้าเข้า
ออกอยู่บ่อย ๆ เมื่อกุ้งเป็นโรค ถ้าไปรับน้าเข้ามา กุ้งก็เป็นโรคติดต่อกันจนกระทั่งลุกลามและตายกันหมดทุก
บ่อ ซึ่งมีผลสาคัญต่อรายได้
เงินทุนที่ได้มานั้น ส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้ของ ธกส. แทบทั้งสิ้น เพราะเป็นสถาบันทางการเงินที่ให้กู้ยืม
เงินในหลักแสน โดยเอาโฉนดที่ดินหรือหลักทรัพยอื่น ๆ ไปค้าประกัน ส่วนพันธุกุ้งนั้น ไปซื้อจากฟารมใน
จังหวัดจันทบุรีซึ่งมีราคาถูกและแข็งแรง ส่วนเครื่องมือที่ใช้ที่สาคัญเป็นเรื่องเครื่องให้อากาศ อาหารกุ้งนั้น
ส่วนใหญ่ใช้อาหารเม็ดซึ่งจะต้องให้อาหารตามสัดส่วนของระยะเวลาในการเลี้ยงกุ้ง
การขายมีอยู่ 3 แบบคือ นัดพ่อค้าประมาณ 10-18 รายให้มาประมูลเหมาทั้งบ่อ กับอีกวิธีหนึ่งคือ
พ่อค้ามาซื้อที่บ่อ ราคาเป็นไปตามที่ต่อรองกัน และนาไปขายที่ตลาดในตัวเมือง
ส่วนการทานากุ้งแบบธรรมชาติ จะใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ 10-70 ไร่และทาเพียง 1 บ่อ ใช้เงินลงทุนไม่
มากนัก โดยการขุดบ่อขึ้นมาทาเป็นคันดิน มีประตูระบายน้าเข้าออก จากนั้นสูบน้าเข้ามาในบ่อ ทิ้งไว้ 2-3
เดือน ชาวกุ้งแบบธรรมชาติจะขายกุ้งได้ราคาประมาณ 10,000–100,000 บาทขึ้นอยู่กับจานวนกุ้งที่มีอยู่ใน
บ่อ
การขาย มีอยู่ 2 แบบ วิธีหนึ่งคือพ่อค้ามาซื้อที่บ่อ ราคาเป็นไปตามที่ต่อรองกัน และนาไปขายที่
ตลาดในตัวเมืองจังหวัดระยองและจังหวัดสมุทรปราการ
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 10
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
การเพาะเลี้ยงสัตวน้า ส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงปลาเก๋า ปูดา ปูไข่ เนื่องจากกาลังซื้อในตลาดมี
ค่อนข้างสูง ในการลงทุนนั้น ถ้าในกรณีที่มีบ่อเลี้ยงกุ้งอยู่แล้ว ก็ให้นามาปรับปรุงคือขุดบ่อให้ลึกมากขึ้น
จากนั้นปล่อยน้าทะเลเข้ามาในบ่อ ทิ้งไว้ประมาณ 1-2 วัน จากนั้นซื้อพันธุสัตวน้ามาปล่อยลงในบ่อ คือลูก
ปลาเก๋าประมาณ 500 ตัว ลูกปูประมาณ 50-100 ตัว จากนั้นให้อาหารสด (คือปลาตัวเล็ก ๆ) เมื่อครบ 6
เดือน ก็โตเพียงพอที่นาไปขายในท้องตลาดได้แล้ว โดยที่ในการจับสัตวน้านี้ ต้องใช้อวนเป็นเครื่องมือในการ
จับ ต้องใช้แรงงานประมาณ 10-15 คน
การขายมีลักษณะคล้าย ๆ กับการขายกุ้ง คือ มีอยู่ 2 แบบ วิธีหนึ่งคือพ่อค้ามาซื้อที่บ่อ และนาไป
ขายที่ตลาดในเมือง ราคาปลาเก๋ากิโลกรัมละ 250-300 บาท ปูดากิโลกรัมละ 100-150 บาท และปูไข่
กิโลกรัมละ 250 บาท
ปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดการได้กาไรหรือขาดทุน คือ น้าเสียในบ่อ บางครั้งให้อาหารมากเกินไป ไม่มี
การระบายน้าเข้า - ออก ถ้าอากาศไม่ดี คือลมไม่พัด น้านิ่ง สัตวน้ามีอาการไม่ดี คือเริ่มอ่อนแอ และเป็นโรค
ตายภายใน 2-3 วัน สันนิษฐานว่าเป็นเพราะขาดออกซิเจน
ในหมุ่บ้านแห่งนี้ยังคงมีการช่วยเหลือ พึ่งพาอาศัยกันอยู่ โดยเห้นได้จากการช่วยแรงงานในการจับ
สัตวน้า การพึ่งพากันเรื่องของพืชผักสวนครัว อาหารการกินที่หามาได้จากการประกอบอาชีพ ก็นามา
แบ่งปันกัน สาหรับมาตรการในการป้องกันการโดนลักขโมยจากบุคคลนอกชุมชนคือคนในลุมชนต้องช่วยกัน
เฝ้าดูแลทรัพยสิน และถ้ามีคนแปลกหน้าเข้ามาต้องบอกกล่าวให้ทราบโดยทั่วกัน
2) กลุ่มอาชีพทั่วไป
1. การทาสวนยางพารา
ลักษณะบ้านเรือนของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป้นบ้านไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูง ส่วนใหญ่เป้นที่ดินของ
ตนเอง มีจานวนเนื้อที่ในการทาสวนยางพาราตั้งแต่ 5-50 ไร่ ซึ่งมีเอกสารสิทธิ์เป็นโฉนดทั้งหมด ซึ่งในการ
กรีดยางนั้น ทาได้ราว ๆ เดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤกษภาคม รวมประมาณ 10 เดือน รายได้การทาสวนยาง
ซึ่งได้จากการขายยางแผ่นหรือน้ายางดิบอยู่ที่ไร่ละประมาณ 500-2,500 บาท ส่วนรายจ่ายที่ใช้ในเรื่องของ
การผลิตได้แก่ค่าปุ๋ยและค่าแบตเตอรี่ ประมาณปีละ 1,000–2,000 บาท ดังนั้นครอบครัวที่ทาสวนยางพารา
แต่เพียงอย่างเดียว จึงค่อนข้างมีเงินเก็บ
ยางพาราเป็นพืชยืนต้นซึ่งมีลักษณะธรรมชาติเช่นเดียวกับพืชต้นอื่น ๆ คือมีความล่าช้ามากด้าน
เวลาในการผลิต ชาวสวนยางเมื่อตัดสินใจปลูกยางพาราแล้ว เขาต้องรออยุ่ 6-7 ปีเพื่อให้ต้นยางโตพร้อมให้
ผลผลิตในรูปน้ายาง การเก็บเกี่ยวผลผลิตทาได้โดยการกรีดต้นยาง ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นตามอายุของต้น
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 11
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
ยางจนกระทั่งต้นยางนั้นมีอายุสิบกว่าปีก็ให้ผลผลิตสูงสุดอยู่ระยะหนึ่ง แล้วผลผลิตลดลง ซึ่งเกษตรกรอาจ
โค่นต้นยางแก่แล้วปลูกใหม่ เนื่องจากผลผลิตที่ได้จากต้นยางแก่ไม่คุ้มกับต้นทุนในการผลิต
ในส่วนของการทายางแผ่น ประกอบด้วยอุปกรณดังนี้ เครื่องรีดยาง ซึ่งมี 2 เครื่องด้วยกันคือ เครื่อง
รีดแผ่นเรียบและเครื่องรีดแผ่นลาย สามารถรีดได้ 2 แบบคือแบบใช้มือหมุนและใช้ไฟฟ้า นอกจากนั้นต้องมี
ถาดสาหรับใส่น้ายาง มีสถานที่กลางแจ้งไว้สาหรับตากแผ่นยาง สาเหตุที่นาเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้
เนื่องจากมีการแนะนาจากกองทุน ว่าช่วยผ่อนแรง ทาให้งานเสร็จเร็ว และทาให้ยางแผ่นมีรูปลักษณที่
สวยงาม ไม่เสียราคา
การขายทาได้ 2 แบบคือ ขายเป็นน้ายางดิบ โดยเก็บน้ายางดิบไว้ในถังขนาดใหญ่ จนได้ปริมาณ
พอสมควร มีพ่อค้าคนกลางมารับซื้อถึงบ้าน แต่ได้ราคาไม่ดีเท่ากับการทายางแผ่น แบบที่สองคือยางแผ่น
ซึ่งมีพ่อค้าคนกลางเข้ามารับซื้ออีกเช่นกัน แต่ราคายางในระยะเวลา 1-2 ปีที่ผ่านมามีราคาตกต่ามาก
2. ค้าขาย
บ้านเปร็ดในนี้ มีร้านค้าทั้งหมด 7 ร้าน แต่ละร้านอยู่ระยะห่าง ๆ กัน เพื่อให้บริการกับผู้คนที่อยู่ใน
ละแวกนั้น สินค้าที่ขายส่วนใหญ่คล้ายคลึงกัน ประกอบไปด้วยเครื่องอุปโภค บริโภคประจาวันเช่น สบู่ ยาสี
ฟัน แป้ง แชมพู น้ามัน น้าตาล ผงซักฟอก นมข้นหวาน โอวัลติน กาแฟ น้าอัดลม ขนมขบเคี้ยว รวมถึง
อาหารสด ได้แก่ พืชผัก เช่น แตงกวา ผักคะน้า กะหล่าปลี ผักกาดขาว ต้นหอม พริกขี้หนู โหระพา กระ
เพรา ถั่วฝักยาว มะระ เนื้อสัตว เช่น หมุ เนื้อ ไก่ ปลา ปู กุ้ง หอย
กาหนดราคาสินค้า เจ้าของร้านเป็นผู้กาหนดราคา โดยที่สินค้าอุปโภคบริโภคมีราคาแพงกว่า
ท้องตลาด ประมาณ 1-2 บาท แต่สินค้าจานวกขนมขบเคี้ยวมีราคาเท่ากับท้องตลาด เนื่องจากมีราคาติดไว้ที่
หน้าซองแล้ว
3. รับจ้าง
อาชีพรับจ้างที่พบในชุมชนนี้ ส่วนใหญ่เป็นการรับจากกรีดยาง ซึ่งค่อนข้างเป็นงานประจา เพราะ
ต้องทาเกือบทุกวัน โดยเฉพาะในช่วงที่สามารถกรีดยางได้ อาชีพเสริมเช่น รับจ้างห่อขนมขาย เป็นช่างไม้
รับเหมาสร้างบ้าน
อาชีพรับจ้างกรีดยาง เป็นอาชีพที่นิยมทากันมากในหมุ่บ้านนี้ โดยเฉพาะคนที่มีที่ทากินน้อย และคน
ที่เพิ่งทาการเพาะปลูกในระยะเริ่มแรก ผลผลิตยังไม่มี รวมทั้งกลุ่มที่ทาประมงตับสัตวน้า ก็มักรับจ้างกรีด
ยางให้สวนของผู้อื่นที่อยุ่ในหมู่บ้านนี้ รายได้ในส่วนเฉพาะที่รับจ้างทาสวนยางตกประมาณ 5,000-10,000
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 12
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
บาท อาชีพรับจ้างกรีดยางนี้ทากันในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤษภาคม แต่ถ้าฝนเริ่มตก การกรีดยางก็
ต้องหยุดเช่นกัน
จากผลการศึกษาโดยสรุปแล้ว ชุมชนบ้านเปร็ดในมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในชุมชนอยู่ตลอดเวลา
ตั้งแต่การผลิตเพื่อบริโภคภายในครัวเรือน เปลี่ยนแปลงมาเป็นการผลิตเพื่อขายซึ่งทาให้เกิดผลกระทบอย่าง
มากมายต่อชุมชน ชาวบ้านเริ่มมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตและการใช้ทรัพยากรที่เน้นการพึ่งพา
ตนเองมากขึ้น มีจิตสานึกและพฤติกรรมด้านการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจน
ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคอีกด้วย ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวนี้เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดแบบ
เศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะหพลวัตทางเศรษฐกิจของชุมชนบ้านเปร็ดใน
การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของหมูบ้านเปร็ดในนี้จะเริ่มตั้งแต่สมัยอดีตที่ยังมีวิถีชีวิต
แบบดั้งเดิมคือ การผลิตเพื่อการบริโภคภายในครัวเรือน หลังจากนั้นเมื่อมีการเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตก
ในชุมชนต่าง ๆ แม้แต่หมู่บ้านเปร็ดใน การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทาให้ความสัมพันธภายในชุมชุนได้
เปลี่ยนไปด้วย โดยสภาพความเป็นอยู่ของชาวบ้านจะมีความสะดวกสบายมากขึ้นแต่กลับมีหนี้สินมากขึ้น
เช่นกัน วิถีชีวิตจากเดิมที่ผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน เป็นการผลิตเพื่อขาย ซึ่งจะมีการนาเข้าพืชเศรษฐกิจ
เข้ามาเช่น เงาะ ยางพารา ทุเรียน และมีการเปลี่ยนพื้นที่ภายในหมู่บ้านเป็นพื้นที่ทานากุ้งโดยไม่มีการ
ควบคุมการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและการลุกล้าเขตป่าชายเลนจากลุ่มคนในชุมชนและกลุ่มนายทุนที่
เข้ามาลงทุน ในระยะเวลาต่อมาก็มีการให้ความรู้ถึงความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และมีการ
รวมตัวกันของชาวบ้านในการฟื้นฟูชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
การจัดการทรัพยากรป่าชายเลนของชุมชนบ้านเปร็ดในมีความสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจอย่างมาก โดยจะแบ่งเป็นวิถีชีวิตดั้งเดิมแต่ก่อนจนกระทั่งถึงมีการลงทุนทานากุ้ง พืชสวน และไป
ถึงช่วงที่มีการฟื้นฟูสภาพทรัพยากร
1) วิถีชีวิตดั้งเดิม
ในการใช้ชีวิตของชาวบ้านในอดีตจะเป็นลักษณะของสังคมเกษตรกรรมที่มีการทานาข้าวเป็นหลัก
โดยจะเป็นการทานาบนที่ลุ่มเพื่อการบริโภค รวมถึงพืชผักตามบ้านอื่นๆอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยง
สัตวและจับสัตวในป่าสัตวทะเลเพื่อการบริโภคเช่นกัน
วิถีชีวิตของผู้คนในอดีต เป็นการใช้ชีวิตในรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียงค่อนข้างชัดเจนมาก โดย
ทรัพยากรทางธรรมชาติของหมูบ้านเปร็ดในนี้มีความอุดมสมบูรณ และความหลากหลายทางธรรมชาติมาก
รูปแบบการดาเนินตามวิถีชีวิตของผู้คนในหมู่บ้านจะผูกพันกันด้วยอาหาร
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 13
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
การวิเคราะหตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ชาวบ้านในอดีต จะมีการเรียนรู้จากการสังเกตและมีการ
คานึงถึงความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ โดยจะมีการกาหนดการจับสัตวน้าในช่วงเวลาที่เหมาะสม โดย
มีการเลือกขนาดของสัตวน้าเช่น ปู ปลา ในป่าชายเลน ทาให้มีหัวข้อทางด้านภูมิคุ้มกันและความ
พอประมาณ เนื่องจากทรัพยากรขณะนั้นยังอุดมสมบูรณอยู่ จึงมีการแบ่งปันกันภายในชุมชนเกิดเป็น
ความสัมพันธที่แน่นแฟ้นมากขึ้น ส่วนทางด้านเหตุผลและเงื่อนไขของความรู้นั้นอาจจะไม่ชัดเจนมากแต่
มักจะเกิดจากการสังเกต และการบอกต่อกันภายในชุมชน
2) วิถีชีวิตช่วงพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
วิถีชีวิตของชาวบ้าน มีความเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมาก เมื่อมีการพัฒนาประเทศโดยมุ่งเน้นการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ จึงมีการนาเข้าของเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทาการเกษตร เริ่มมีการปลูกพืช
เศรษฐกิจเช่น ยางพารา เงาะ ทุเรียน เป็นต้น รวมถึงเทคโนโลยีในการทาประมงอีกด้วย เนื่องจากมี
ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณจึงมีการเข้ามาของบริษัทเอกชน ส่งผลให้มีการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและ
บุกรุกพื้นที่ป่าชายเลนมากมายทาให้ทรัพยากรเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว จากนั้นมีการเข้ามาของกลุ่มนายทุน
ที่มาทานากุ้งโดยสุดท้ายไม่สาเร็จผลก็ปล่อยที่ดินทิ้งร้างไว้ก็มี
การวิเคราะหตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตแบบเดิมซึ่งเป็นรูปแบบของการ
ผลิตเพื่อบริโภคกลายเป็นแบบกระแสตะวันตกนี้ส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจภายในครอบครัวอย่างมาก ระบบ
เงินตรามีความสาคัญต่อการใช้ชีวิตอย่างมาก จึงส่งผลให้มีการขยายพื้นที่ทากิน บุกรุกพื้นที่ป่าชายเลนและ
พื้นที่ป่าไม้ โดยไม่คานึงถึงผลเสียที่จะตามมา ความคิดด้านเศรษฐกิจพอเพียงในช่วงเวลานี้จึงแทบไม่มีเลย
แม้จะมีบางส่วนที่ยังใช้ชีวิตในรูปแบบดั้งเดิมก็ตาม
3) ช่วงฟื้นฟูทรัพยากร
สภาพทรัพยากรภายในหมู่บ้านได้เสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว หลังจากมีการเข้ามาของกลุ่มนายทุนและ
บริษัทเอกชน ชาวบ้านบางส่วนได้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และมีการรวมกลุ่มเพื่อขับไล่กลุ่มนายทุนเหล่านี้
ออกไป โดยจะมีการให้ความรู้แก่ชาวบ้านถึงเรื่องสภาพของทรัพยากร จนนาไปสู่ความร่วมมือกันในการ
ช่วยกันฟื้นฟูทรัพยากรขึ้นมา โดยขั้นตอนของการให้ความรู้นั้นจะใช้เวลาค่อนข้างนาน เพราะผู้คนยังยึดติด
การใช้ชีวิตรูปแบบเก่าอยู่ แต่ในปัจจุบันนั้นกลุ่มชาวบ้านได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ และได้ฟื้นฟูต่อมาเรื่อย ๆ
จนกระทั่งสภาพทรัพยากรได้กลับมาเกือบจะสมบูรณเหมือนเดิม
การวิเคราะหตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง หนี้สินจากการดาเนินชีวิตในรูปแบบกระแสตะวันตกนั้นได้
สร้างปัญหาแก่หลายครอบครัว การให้ความรู้เรื่องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงนั้น เป็นส่วนช่วยให้วิถีการ
ดาเนินชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนแปลงไป แต่ไม่ถึงกับใช้ชีวิตแบบวิถีดั้งเดิม โดยจะมีการปรับตัวให้เข้ากับยุค
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 14
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
สมัยที่เปลี่ยนแปลงไปได้ ในแง่ของเงื่อนไขความรู้ของชาวบ้านนั้น จะมีมากกว่าในรูปแบบวิถีชีวิตดั้งเดิม
รวมถึงการมีเทคโนโลยีนามาประยุกตใช้ในการประกอบอาชีพได้ นอกจากนี้ ยังมีการส่งเสริมในเรื่องของ
คุณธรรมและการแบ่งปันภายในชุมชุนให้เกิดขึ้น การให้ความรู้เรื่องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของช่วงนี้
มักจะเกิดจากการประสบปัญหามาก่อน แต่อาศัยความร่วมมือกันภายในชุมชนช่วยกันเปลี่ยนแปลงให้
กลับมาเหมือนเดิม
การวิเคราะหพลวัดกระบวนการสะสมทุนของชุมชน
จากกิจกรรมของกลุ่มสัจจะสะสมทรัพยของบ้านเปร็ดใน จะเห็นได้ถึงการดาเนินชีวิตของชาวบ้านซึ่ง
มีลักษณะที่ใกล้เคียงกับแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง เห็นได้จากปรากฏต่างๆดังนี้
1. การช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างชาวบ้าน
2. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสร้างกิจกรรมที่ให้ผู้คนอยู่ร่วมกันได้
3. ใช้แนวคิดของวัฒนธรรม เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาและการจัดกิจกรรม
4. สร้างจริยธรรม เช่นความซื่อสัตย ความตรงต่อเวลา การอดออม การเสียสละ
5. สร้างโอกาสให้ชาวบ้านได้มีโอกาสพบปะซึ่งกันและกัน
6. เป็นการสร้างให้เกิดพลังของชุมชนขึ้น
7. มีกองทุนส่งเสริม
8. ใช้พลังของชุมชนแก้ปัญหาภายในท้องถิ่นได้ เช่น ปัญหายาเสพติด
ในอดีตวิถีชีวิตของชาวบ้านเปร็ดใน เป็นแบบความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ต่อมาเทคโนโลยีต่าง ๆ เริ่มมี
อิทธิต่อหมู่บ้าน ซึ่งทาให้วิถีชีวิตที่เรียบง่ายเริ่มเปลี่ยนแปลงทาให้เกิดปัญหาต่าง ๆ มากมายเช่น ปัญหาเรื่อง
หนี้สิน ผลจากการมีหนี้สิน ทาให้ชาวบ้านในชุมชนเริ่มมีการรวมตัวกันเพื่อจัดการกับหนี้สิน โดยใช้หลักของ
พลังทางวัฒนธรรม เริ่มจากการรวมกลุ่มเกิดเป็นเครือข่ายชาวบ้านและสังคม
ผลจากการรวมตัวกันเป็นสังคม ทาให้เริ่มมีการพบปะพูดคุยกันภายในสังคมกันมากขึ้น และมีการ
จัดกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยกันมากขึ้น จากการรวมตัวของชาวบ้านทาให้เกิดเป็นกลุ่มสัจจะสะสมทรัพยกันขึ้น
เช่น การออมทรัพยกันภายในชุมชนทาให้ผู้ที่เดือดร้อนเรื่องเงิน สามารถทาการถอนเงินไปใช้ปลดหนี้ได้
บางส่วน ทาให้เกิดเป็นแหล่งทุนที่ชุมชนสามารถกู้ยืมไปประกอบอาชีพได้บางส่วน จึงทาให้ชุมชนไม่ต้องหัน
ไปหวังพึ่งสถาบันการเงิน เปรียบเสมือนเป็นธนาคารของชุมชนนั้นเอง
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 15
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
กิจกรรมภายในชุมชนที่มีการพบปะกันทุกเดือนเป็นประจาทาให้ชาวบ้านมีการพบปะกันแลกเปลี่ยน
ปัญหา สารทุกขสุขดิบ กันซึ่งจากการพบปะกันนั้น ทาให้การกู้ยืมเงินนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะจาก
การกู้ยืมนั้นผู้ยืมต้องสัจจะที่จะต้องเอาเงินมาคืน เนื่องด้วยผู้ค้าประกันคือเพื่อนบ้าน ญาติพี่น้องของตน ซึ่ง
หากมีการโกงกันเกิดขึ้น จะมีการลงโทษประจาน ทาให้ไม่สามารถอยู่ภายในชุมชนได้
กิจกรรมที่ชุมชนได้จัดนั้นมีมากมาย เช่น กิจกรรมการออกกาลังกาย กิจกรรมการแลกเปลี่ยน
ผลผลิต จากกิจกรรมการออกกาลังกายนั้น ชาวบ้านส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือภายในชุมชน ทาให้อบายมุข
และสารเสพติดนั้นไม่พบเห็นภายในชุมชน กิจกรรมการแลกเปลี่ยนผลผลิต ซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่จะเป็นญาติ
กันทาให้มีการแลกเปลี่ยนสิ่งต่าง ๆ เช่น ปลา ปู ผัก อาหาร กับข้าว ต่าง ๆ
ในชีวิตประจาวันของทุกคนจะช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เช่นการเยี่ยมเยียนเพื่อนบ้านเมื่อทราบข่าว
การป่วย การเป็นหูเป็นตา เฝ้าบ้านให้ซึ่งกันและกัน จะเห็นได้ว่าลักษณะการอยู่อาศัย และการใช้ชีวิตความ
เป็นอยู่ยังคงเป็นไปแบบดั้งเดิมที่ให้ความสาคัญกับระบบความสัมพันธเป็นหลัก ใช้ระบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกัน
และกัน จึงทาให้ชุมชนนั้นไม่ถูกระบบสังคมภายในปัจจุบันครอบงา และสุญเสียความเป็นชุมชนดั้งเดิมแบบที่
เคยเป็นมา
จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงของชาวบ้านเปร็ดในมีอยู่ 3 ลักษณะ
1. กิจกรรมที่มีการพัฒนาการจากเศรษฐกิจแบบยังชีพ มีการแลกเปลี่ยนบางส่วนของกิจกรรมที่เน้น
พึ่งตนเอง คือ การที่ทาผลผลิตเพื่อบริโภคภายในครัวเรือน หากเหลือจะนาไปแจกจ่าย แลกเปลี่ยน
ซื้อขาย
2. กิจกรรมที่เริ่มจากเศรษฐกิจแบบทันสมัยและพัฒนาไปสู้การพึ่งพากันมากขึ้น คือกิจกรรมที่มีขนาด
ใหญ่อาจจะมีการใช้เทคโนโลยีภายนอกมาช่วยบางส่วนแต่ไม่ทั้งหมด ในขณะที่กิจกรรมขนาดเล็ก
นั้นจะทาการใช้แรงงานภายในชุมชนในการผลิตเอง
3. กิจกรรมแนวคิดในการพัฒนาไปสู่การพึ่งตนเอง คือเมื่อมีปัญหาภายในชุมชน (ปัญหาหนี้สิน) จะมี
การพัฒนาการไปสู่การพึ่งตนเองมากขึ้น
จากข้างต้นเราสามารถจาแนกกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ ได้แก่ การผลิต การบริโภค และการ
แลกเปลี่ยน
1. การผลิต ในหมู่บ้านจะมีการผลิตที่พึ่งพาระบบธรรมชาติและการอนุรักษสิ่งแวดล้อม เช่นกลุ่มประมง
และการเพราะเลี้ยงสัตวน้า จะมีข้อบังคับไม่ให้ทาการประมงเมื่อถึงฤดูวางไข่ การดูแล และเฝ้าระวัง
รักษาป่าชายเลน ลดปริมาณการใช้สารเคมีต่าง ๆ
พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 16
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
2. การบริโภค ชาวชุมชนเปร็ดในนั้นจะมีความเป็นอยู่แบบพอเพียง โดยอาศัยการอยู่อาศัยแบบเรียบ
ง่าย ประหยัดการเอาใจใส่และดูแลสุขภาพ พบว่าชาวบ้านส่วนใหญ่ใช้แต่สิ่งจาเป็นในการดาเนิน
ชีวิต และการออกกาลังกายเพื่อรักษาสุขภาพ
3. การแลกเปลี่ยน ระบบการแลกเปลี่ยนของหมู่บ้านนั้น จะมีพ่อค้าคนกลาง โดยจะมีอานาจในการ
ต่อรองราคาผู้ผลิตที่รู้เท่านั้น ชาวบ้านจะมีการหาข้อมูลราคาตลาดตาม วิทยุ โทรทัศน รวมถึง
ชาวบ้านรู้จักคาว่าพอ ไม่โลภ คือการซื้อขายที่สามารถอยู่ได้ทั้งคนขายและคนซื้อแค่พอมีกาไรทาให้
ระบบแลกเปลี่ยนภายในชุมชนไม่เปลี่ยนแปลงตามกระแสหลักเสียทีเดียว
4. การจัดสรรผลผลิต จากในชุมชนจะเห็นได้ว่าการนามาให้แก่กันและกัน เป็นเรื่องปกติของภายใน
ชุมชน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง
1. ผู้นา ผู้นาที่ดีต้องมีความซื้อสัตยสุจริต มีความเสียสละเพื่อประโยชนส่วนรวมมีความรู้ความสามารถ
ในการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชน มีความขยันและจริงจังในหน้าที่ เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ชาวบ้าน
และต้องมีบทบาทในการกระตุ้น และจูงใจภายในชุมชนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2. กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชนเกิดจากความรู้รอบตัว ภายในครอบครัว ภายใน
ชุมชนและภายนอกชุมชน การทัศนศึกษาดูงานตามสถานที่ต่าง ๆ รวมถึงการฝึกอบรมกิจกรรม
เรื่องต่าง ๆ และนาสิ่งต่าง ๆ ที่เรียนรู้มานั้นไปพัฒนานากลับมาใช้จริงในพื้นที่ของตน
3. กลุ่มองคกร และการมีส่วนร่วม ของประชาชน ในชุมชนเปร็ดในนั้นที่เห็นได้ชัดเลยคือ กลุ่มอนุรักษ
และพัฒนาป่าชายเลน และกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย โดยจะมีการออกกฏข้อบังคับขึ้นมา จะต้องใช้การ
มีส่วนร่วมของสมาชิกชุมชน นอกจากนี้ยังมีการแลกเปลี่ยนความรู้กันส่งผลให้เกิดการพึ่งตนเองได้
โดยไม่ต้องพึ่งทรัพยากรจากภายนอก
4. สังคม วัฒนธรรม ภูมิปัญญา เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในชุมชนนั้นจะมีพื้นฐาน
ความคิดการพึ่งพาตนเอง ไม่เบียดเบียนธรรมชาติและผู้อื่น ไม่ก่อความเดือดร้อนทาให้สภาพสังคม
ของชุมชนจะมีความน่าอยู่ ขณะเดียวกัน การแบ่งปันผู้อื่นทาให้มีทุนทางสังคมที่จะทาให้ชุมชนมี
ความเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้
5. เศรษฐกิจกับภาวะหนี้สิน ชาวบ้านเปร็ดในจะดาเนินชีวิตอยู่บนพื้นฐานของความมีเหตุผลในเรื่องการ
ใช้จ่ายอย่างประหยัด ปริโภคสิ่งต่าง ๆ ให้สมกับฐานะความเป็นอยู่ การเก็บออมเงิน ประกอบอาชีพ
สุจริต ในการบริโภคสิ่งจาเป็นเช่น รถจักรยานยนต ซึ่งหากต้องใช้ เพราะระยะทางห่างไกลจาก
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป

More Related Content

Similar to บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวpraphol
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านthnaporn999
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไป...
บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไป...บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไป...
บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไป...freelance
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออมzeenwine
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programguestd73ff2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมjirapom
 

Similar to บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไป...
บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไป...บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไป...
บ้านม้าป่า --เชื่อมโยงชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไป...
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami program
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
กลไกสังคม
กลไกสังคมกลไกสังคม
กลไกสังคม
 
5
55
5
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป

  • 1. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 1 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” ภาวะพัฒนาของประเทศไทยที่ผ่านมา ซึ่งใช้แนวคิดของประเทศตะวันตก ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ส่วนรวม คือ มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ แต่พึ่งพาภายนอกมากยิ่งขึ้น เช่น เทคโนโลยี การลงทุน ภาระ หนี้สินต่างประเทศ นอกจากนั้นผลจากการพัฒนายังทาให้คนมีฐานะดีซึ่งเป็นคนส่วนน้อยดียิ่งขึ้น แต่คนส่วน ใหญ่จนลง ทาให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาประเทศสู่ความ ทันสมัยนี้ยังได้ส่งผลกระทบต่อการพึ่งตนเองของชุมชนในชนบทไทย ด้วยพลังอานาจของวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและเครือข่ายเศรษฐกิจ ได้พลิกระบบการผลิตขั้นพื้นฐานของชาวบ้านในชนบท การซื้อขายข้าว ของเครื่องใช้ต่าง ๆ เกิดขึ้นทั่วไปในระดับหมู่บ้าน ทาให้สินค้าหัตถกรรมดั้งเดิม เริ่มลดความหมายลงและ เกิดการเปลี่ยนแปลงการผลิตทางการเกษตรเพื่อใช้บริโภคในหมู่ประชาชน มาเป็นผลิตภัณฑการเกษตรเพื่อ สนองความต้องการภายในประเทศและในตลาดโลกชุมชนที่เคยพึ่งตนเองได้ถูกทาลายจนล่มสลายไปอย่าง รวดเร็ว แบบแผนการดาเนินชีวิตเปลี่ยนไป คนวัยแรงงานต่างเดินทางไปหางานทาในเมืองใหญ่ ทิ้งลูกเล็ก ไว้กับพ่อแม่ที่แก่เฒ่า ความเรียบง่ายกลายเป็นความฟุ้งเฟ้อแบบสังคนบริโภค สถาบันครอบครัวอ่อนแอ ก่อให้เกิดรูปธรรมของปัญหาสังคมตามมามากมาย ในชุมชนบ้านเปร็ดใน ตาบลห้วงน้าขาว อาเภอเมือง จังหวัดตราด เป็นชุมชนหนึ่งที่เดินตามกระแส ของการพัฒนาที่เน้นความเจริญเติบโตของประเทศ รูปแบบการผลิตที่เปลี่ยนแปลงไป จากการผลิตเพื่อยัง ชีพ เป็นการผลิตเพื่อขาย ที่ไม่ได้มุ่งเน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเอง เป็นกระแสความเจริญที่หลั่งไหลเข้ามา ในชุมชน ทาให้การดารงชีวิตในชุมชนที่เปลี่ยน เมื่อชุมชนเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนา ก็น่าจะเกิดปัญหา ต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้นตามมาดังที่เกิดในชุมชนต่าง ๆ ทั่วประเทศ อย่างไรก็ดีชุมชนนี้มีความแตกต่างจาก ชุมชนอื่น ๆ ที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจแบบก้าวหน้านี้ คือ ชุมชนบ้านเปร็ดในมีสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าชุมชนมี ศักยภาพ เกิดการรวมพลัง ช่วยกันสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในชุมชนได้ จนสามารถเป็นที่ยอมรับจาก สังคมภายนอกได้ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ โดยการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัฒน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน โดยต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน และจะต้อง เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ให้มีความสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และให้มีความรอบรู้ที่ เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
  • 2. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 2 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตัวเองอยู่ได้โดยไม่ต้องเดือดร้อน โดยต้อง สร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดีเสียก่อน คือตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ ไม่ใช่มุ่งแต่จะทุ่มเทสร้าง ความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่เพียงอย่างเดียว เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง ย่อมสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าและฐานะเศรษฐกิจขั้นสูงไปตามลาดับต่อไปได้ เศรษฐกิจพอเพียง มิได้จากัดเฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไร่ชาวนาเพียงเท่านั้นแต่เป็นเศรษฐกิจของทุกคนทุอาชีพ ทั้งมีอยู่ใน เมืองและอยู่ในชนบท เช่น ผู้ที่เป็นเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม และบริษัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถ้า จะต้องขยายกิจการเพราะความเจริญเติบโตจากเนื้อของงาน โดยอาศัยการขยายตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป หรือหากจะกู้ยืมก็กระทาตามความเหมาะสม ไม่ใช่กู้มาลงทุนเกินตัวจนไม่เหลือที่มั่นให้ยืนอยู่ได้ ต้องรู้จักใช้ จ่าย ไม่ฟุ่มเฟือยเกินตัว แนวคิดทฤษฎีใหม่ที่เน้นความพอเพียง 3 ระดับ คือ เลี้ยงตนเองได้ในระดับครอบครัว ในระดับ ชุมชนมีการรวมพลังพัฒนาการผลิต การตลาด การพัฒนาคุณภาพชีวิตสวัสดิการสังคมและสิ่งแวดล้อม และ ระดับที่สามคือในระดับประเทศ ที่ต้องร่วมมือเป็นพันธมิตรกับแหล่งเงินทุน แหล่งเครือข่ายข้อมูลข่าวสาร องคกรพัฒนาเอกชน หน่วยงานรัฐ ในการทาธุรกิจที่แข่งขันได้ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตบนผลประโยชน ที่เท่าเทียมกันของทุกฝ่าย โดยเน้นว่าการพึ่งตนเอง เน้นการเรียนรู้และการทางานร่วมกัน รู้จักช่วยเหลือ แบ่งปันทั้งในเรื่องการให้การรับไม่ใช่มุ่งแสวงหากาไรสูงสุด มีการพึ่งพาอาศัยกันในชุมชนและระหว่างชุมชน กับภาคธุรกิจอย่างเท่าเทียมกันด้วย สรุปได้ว่า ความพอเพียง หมายถึง ความสัมพันธระหว่างดุลยภาพทั้ง 3 ประการคือ มนุษยกับธรรมชาติ คือ ในความพอดีในการใช้ประโยชนจากธรรมชาติพร้อม ๆ กับการดูแลและ อนุรักษธรรมชาติ มนุษยกับมนุษย (สังคม) คือ การพึ่งพาอาศัยและการไม่เบียดเบียนกันและกายกับจิต คือ ความพึงพอใจกับคุณภาพชีวิตที่มีขอบเขต คือ ไม่เบียดเบียนมนุษยและธรรมชาติ สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวว่า เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตัวเอง (Relative Self-Sufficiency) อยู่ได้โดยไม่ต้องเดือดร้อน โดยต้องสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดี เสียก่อน คือตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ ไม่ใช่มุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่ เพียงอย่างเดียว เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง ย่อมสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้า และฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นไปตามลาดับต่อไปได้ โดยอยู่ในกรอบพอเพียงตามนัยสาคัญ 3 ประการ คือ 1. ให้ความสาคัญต่อการพึ่งตนเอง โดยมุ่งเน้นการผลิตให้พอเพียงกับความต้องการบริโภคในครัวเรือน เป็นอันดับแรก หรือการประกอบอาชีพที่พอเพียงต่อการต้องการของตน หลักใหญ่คือ ลดค่าใช้จ่าย เกิดความพออยู่พอกิน 2. ให้ความสาคัญกับการรวมกลุ่ม กระตุ้นให้ชาวบ้านหรือกลุ่มชาวบ้านเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้มีการพัฒนาจนเกิดความเข้มแข็ง มีเครือข่ายที่กว้างขวางมากขึ้น และเป็นไปอย่างมี
  • 3. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” เสถียรภาพ โดยน้อมนาพระราชดารัส “รู้รักสามัคคี” เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวให้เกิดความเป็นปึกแผ่นใน กลุ่มชุมชนต่าง ๆ เพื่อเป็นรากบานในความอยู่ดีกินดีในลาดับต่อไป 3. เศรษฐกิจพอเพียงตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งความเอื้ออาทรและความสงบสันติสุขกระตุ้นให้ชุมชนร่วม แรงร่วมใจเพื่อประกอบอาชีพ เพื่อประโยชนอันมิใช่รายได้เพียงมิติเดียว แต่ต้องเห็นประโยชนอื่น ๆ ด้วย เช่น การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสร้างภูมิปัญญาท้องถิ่นและความ ปรองดองในชุมชน จากที่กล่าวมาข้างต้นพอที่จะอธิบายได้ว่า การปฏิบัติตนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปัจจัย หนึ่งที่สามารถทาให้คนในทุกชุมชน ในทุกชุมชน และในทุกสาขาอาชีพ สามารถพึ่งตนเองได้ และพัฒนา ไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนในรูปของกลุ่มและองคกรประชาชน ซึ่งในชุมชนบ้านเปร็ดในมีพัฒนาการของ การปรับเปลี่ยนวิถีทางการดาเนินชีวิตอยู่ตลอดเวลา และมีกระบวนการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนโดย การรวมกลุ่มในเรื่องของการระดมทุนในชุมชน คือ กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย และการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน คือ กลุ่มอนุรักษและพัฒนาป่าชายเลน ซึ่งเป็นผลทาให้ชุมชน ได้รับการยอมรับจากนักวิชาการและสังคมภายนอกว่ามีความเข้มแข็งในระดับหนึ่ง ทาให้เป็นประเด็นสนใจ ที่น่าจะศึกษาว่า ในชุมชนบ้านเปร็ดในที่มีระบบเศรษฐกิจแบบผลิตเพื่อขายและมีความเข้มแข็งนั้น มีลักษณะ ของเศรษฐกิจพอเพียงอยู่ด้วยหรือไม่ อย่างไร และมีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลกระทบต่อลักษณะเศรษฐกิจของ ชุมชน ผลการศึกษาเรื่อง “พลวัตชุมบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง” ผู้ศึกษาได้เก็บ รวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณและการสังเกตวิถีการดาเนินชีวิตของเกษตรกร จานวน 39 ราย ซึ่งผล การศึกษาสามารถจาแนกเนื้อหาออกเป็น ประวัติความเป็นมา สภาพของชุมชน และพัฒนาการทาง เศรษฐกิจ รวมทั้งข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ประวัติความเป็นมา บ้านเปร็ดใน ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 2 ตาบลห้วงน้าข้าว อาเภอเมือง จังหวัดตราด มีอายุการตั้งถิ่นฐานมา 146 ปี เป็นหมู่บ้านที่มีชื่อเสียง ได้รับการยอมรับจากสังคมภายนอก ไม่ว่าในแวดวงวิชาการ หรือในระดับ กลุ่มรากหญ้าด้วยกันเอง มีความสามารถในการพึ่งตนเองได้ บ้านเปร็ดในนั้นเป็นหมู่บ้านที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกับหมู่บ้านอื่น ๆ ในภาคตะวันออก คือ มีการตั้งบ้านเรือนที่อยู่อาศัยและสวนไว้ที่เดียวกัน ทาให้ บ้านเรือนแต่ละหลังอยู่ห่างกันพอสมควร ขึ้นอยู่กันจานวนการถือครองที่ดิน ว่ามีอาณาบริเวณมากน้อย เพียงใด ซึ่งบ้านเปร็ดในนั้นเป็นชุมชนที่อยู่ใกล้กับบริเวณชายฝั่งทะเลที่เป็นป่าชายเลน มีความอุดมสมบูรณ ในอดีต บริเวณป่าชายเลนนั้นมีสภาพเป็นโคลนตมและน้าเค็มซึ่งเหมาะสมทางนิเวศของป่าชายเลน มีพืช พรรณไม้หลายชนิดที่เจริญงอกงามตามลักษณะภูมิศาสตรธรรมชาติ
  • 4. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 4 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” สาหรับการตั้งถิ่นฐานเมื่อครั้งแรกนั้น เริ่มเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2396 โดยเริ่มแรก ทวดตุ๋ง เป็นผู้นา สันนิษฐานว่าครั้งแรกอพยพมาจากประเทศจีน ต่อมาจึงอพยพมาที่บ้านโคกในจังหวัดตราดและอพยพมาที่ บ้านเปร็ดในนี้ ด้วยความที่สถานที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณและยังไม่มีผู้ใดมาจับจองไว้ ในปัจจุบันมี ผู้สูงอายุ คือ นางแอ๊ด สติดี อายุ 95 ปี บอกว่าตั้งแต่จาความได้พบว่าผู้ใหญ่สั่ว (ไม่ทราบนามสกุล) กาลัง เป็นผู้ใหญ่บ้านอยู่ ฉะนั้นจึงสรุปให้ผู้ใหญสั่วเป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรกของบ้านเปร็ดใน ช่วงแรกนั้นมีการเริ่มตั้ง บ้านทั้งหมด 10 ครัวเรือน กระจายบ้านเรือนอยู่บริเวณซอยสุขใจ ซอยหน้าโรงเรียน ส่วนความหมายของเปร็ดใน เป็นภาษาเขมร แปลว่า ทางออก จากเอกสารข้อมูลชุมชนที่ชาวบ้าน เปร็ดในช่วยกันรวบรวม ได้กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า คุณยายลิ้มเป็นผู้เล่าให้ฟังโดยสันนิษฐานว่า คานี้มาจากคาว่า “เป็ด” เพราะปู่ ย่า ตา ยาย บอกต่อกันมาว่า ก่อนนั้นเคยมีเป็ดมาอยู่ที่หนองน้าในหมู่บ้านนี้ 2 ตัว ชาวบ้าน เรียกว่า “เป็ดเงินเป็ดทอง” ต่อมามีเณรมาจากทางเหนือมาเอาเป็ดไป หลังจากนั้นก็ไม่มีเป็ดมาให้เห็นอีกเลย ชาวบ้านจึงเรียกว่า “เป็ดเณร” ต่อมาคงแผลงเป็น “เปร็ดใน” แต่ไม่ทราบว่าไปคล้องจองกับภาษาเขมรได้ อย่างไร สภาพของชุมชน 1. ลักษณะทางกายภาพและที่ตั้งของหมู่บ้าน สภาพที่ตั้ง บริเวณที่อยู่อาศัยตั้งอยู่บนพื้นที่ดอน ระดับความสูงประมาณ 41 เมตร จาก ระดับน้าทะเล ทิศตะวันตกเป็นบริเวณที่เพาะเลี้ยงสัตวน้า (นากุ้ง และปู ปลา) รวมถึงพื้นที่นาซึ่งปัจจุบันถูก ปล่อยทิ้งร้าง เป็นบริเวณที่ราบต่าชายฝั่งทะเล บริเวณนี้มีน้าท่วมถึงอยู่เสมอ ถัดจากนากุ้งเป็นคลอง ประมาณ 10 สาย อยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน จานวน 12,000 กว่าไร่ ในเขตพื้นที่ของบ้านเปร็ดใน จากพื้นที่ป่า ทั้งหมด 24,386.50 ไร่ ลักษณะพื้นที่ส่วนบนเป็นดินปนทราย เหมาะสมกับการปลูกพืชไร่ พืชสวน ส่วน ด้านล่างของหมู่บ้านเป็นดินโคลน เหมาะกับการทานากุ้ง ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดตราดมีลักษณะเป็นแบบป่าฝนเมืองร้อน โดยมีฝนตกอยู่ตลอดปีแม้เป็น ช่วงฤดูแล้ง อุณหภูมิอยู่ในเกณฑสม่าเสมอตลอดปี กล่าวได้ว่า จังหวัดตราดมีเพียง 2 ฤดูใหญ่เท่านั้น คือ ฤดูแรกฤดูฝน ซึ่งเป็นฤดูที่มีฝนตกชุกมากเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ฤดูที่สองฤดูแล้ง เริ่มตั้งแต่ พฤศจิกายนถึงเมษายน 2. ลักษณะบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ตัวบ้านส่วนใหญ่เป็นบ้านเก่าเรือนไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูงมีอายุ 30 ปีขึ้นไป ซึ่งกิจกรรมแทบทุกอย่าง ทาบนเรือนชาน เช่น การทาครัว การซุกผ้า ฯลฯ ส่วนห้องน้ามักแยกออกไปจากตัวบ้าน นอกจากนี้ยังมี บ้าน 2 ชั้น ที่เป็นครึ่งตึกครึ่งไม้ (คือ บ้านไม้ใต้ถุนสูง แต่ต่อมามีการต่อเติมปูนที่ใต้ถุนบ้าน เพื่อประโยชนใน
  • 5. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 5 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” การใช้งาน เช่น อยู่อาศัย เก็บของ ห้องครัว ห้องน้า) แต่ถ้าเป็นบ้านปูนส่วนใหญ่เป็นชั้นเดียว และก่อสร้าง มาในระยะไม่เกิน 10 ปีมานี้ และบ้านมุงหลังคาด้วยใบจากมีปรากฎให้เห็นอยู่บ้างในบริเวณที่ทานากุ้งและ ปลายคลองเปร็ด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่มีอาชีพทาประมง 3. ลักษณะทางสังคม / วัฒนธรรม เครือญาติ จากการศึกษาชุมชน พบว่า ครอบครัวใหญ่ ๆ หลายหลังคาเรือนเป็นครอบครัวที่อาศัย อยู่รวมกัน 2-3 ครอบครัว ชาวบ้านในหมู่บ้านมีการสืบเชื้อสายชาวจีนและชาวไทย เป็นลักษณะของ ครอบครัวขยายที่ยังมีสมาชิกอยู่รวมกัน 2-3 รุ่น ได้แก่ ปู่ย่าตายาย ลุงป้าน้าอา พ่อแม่ ลูกและหลาน ลักษณะของครอบครัวขยายในชุมชนแห่งนี้มี 2 ลักษณะด้วยกัน คือ อาศัยอยู่รวมกับพ่อแม่ในบ้านหลัง เดียวกัน กินอยู่ร่วมกัน และอีกลักษณะหนึ่งคือ เป็นครอบครัวใหม่ที่อาจแยกครอบครัวมาปลูกบ้านใหม่ แต่ ยังอาศัยอยู่ในที่ดินของพ่อแม่ อาจหุงหาร่วมกัน หรืออาจแยกมาหุงหากินเองก็มีบ้าง แต่ก็ยังพึ่งพาอาศัยจาก ครอบครัวใหญ่อยู่บ้างในเรื่องของการดูแลเด็กหรือสมาชิกใหม่ในครอบครัว เพราะตนเองต้องออกไปทางาน นอกบ้าน จึงได้มอบภาระการดูแลเด็กและการหุงหาอาหารให้กับครอบครัวของพ่อแม่ และถ้าเป็นเด็กที่พอ ช่วยเหลือตัวเองได้แล้ว พ่อแม่ก็มักพาออกไปทางานด้วย 4. บุคคลในชุมชน ผู้นาเริ่มจากทวดตุ๋งเป็นผู้นาในระยะเริ่มแรก ต่อมาเป็นผู้ใหญ่สั่วซึ่งผู้ใหญ่สั่วได้แต่งตั้งเป็นผู้ใหญ่บ้านคน แรก หลังจากนั้นผู้ใหญ่มี ถือสัตยเป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 คนที่ 3 คือ กานันเสริฐ อุตราคม คนที่ 4 ผู้ใหญ่บ้าน สอน เสี่ยงเคราะห คนที่ 5 ผู้ใหญ่บ้านสง่า ผึ้งรั้ง ส่วนคนปัจจุบันผู้ใหญ่บ้านอาพร แพทยศาสตร โดย ผู้ใหญ่บ้านอาพร ได้รับเลือกเข้ามาเป็นผู้ใหญ่บ้านเมื่อปี พ.ศ. 2539 ชาวบ้านส่วนใหญ่เลือกด้วยเหตุผลที่ เป็นคนดี เป็นคนธรรมะธัมโม มีจิตใจที่พัฒนาหมู่บ้าน มีความคิดริเริ่มพัฒนาหมู่บ้านให้มีความเจริญทั้ง ทางด้านวัตถุควบคู่ไปกับการพัฒนาทางด้านจิตใจ คนในชุมชนส่วนใหญ่คือคนพื้นเพเดิมที่เกิดและพักอาศัยอยู่ในท้องถิ่นมานาน การมีหนีสิ้นนั้นส่วนใหญ่กู้ หนี้ยืมสินเพื่อการทาทุนในการประกอบอาชีพ การศึกษาของบุตรหลาน รักษาพยาบาล ลักษณะและ ทรัพยสินส่วนใหญ่เป็น โทรทัศน ตู้เย็น เตาแก๊ส หม้อหุงข้าว พัดลม รถกระบะ ฯลฯ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะคน ในชุมชนมีฐานะเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง รวมถึงการประกอบอาชีพที่ต้องใช้เวลาหมดเปลืองไปเกือบ ทั้งวัน ทาให้ต้องการความสะดวกสบายหลังการทางานที่เหนื่อยจากงานแล้ว ลักษณะการประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาสวนผลไม้ สวนยางพารา ทานากุ้ง เพาะเลี้ยงสัตวน้า รับจ้าง ค้าขาย และรับ ราชการ
  • 6. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 6 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” 5. กิจกรรมที่มีในชุมชนและการมีส่วนร่วมในชุมชน ในอดีตไม่มีการรวมกลุ่มที่แสดงให้เห็นชัดเจน เริ่มเห็นเมื่อ 29 ตุลาคม 2529 คือหลังจากที่ชาวนากุ้ง เริ่มประสบกับปัญหาภาวะขาดทุน ทาให้ต้องเป็นหนี้สินกันมาก ในหมู่บ้านไม่มีการสะสมทุนอยุ่เลย นางผ่อง ศรี อินทรสุวรรณ ซึ่งเป็นพนักงานอนามัยห้วงน้าขาว หรือ ที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “หมอผ่องศรี” ริเริ่มให้ ชาวบ้านมารวมตัวกันจัดตั้งสหกรณร้านค้าขึ้นโดยจัดให้ชาวบ้านรวมตัวกันไปศึกษาดูงานสหกรณร้านค้าและ ตกลงวางแผนตั้งกลุ่มสหกรณ โดนมีวัตถุประสงคที่ให้ชาวบ้านมีความเป็นอยู่ดีขึ้น 3 ข้อ คือ 1) ให้สมาชิกมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ได้ซื้อสินค้าในราคาถูก และได้รับเงินปันผล 2) ทุกคนในหมู่บ้านได้ทากิจกรรมร่วมกัน ตั้งแต่เริ่มจากการเป็นผู้ขาย ทาบัญชี บริหารร้าน และเป็นผู้ซื้อ 3) ให้สมาชิกของกลุ่มมีอานาจต่อรองกับร้านค้านายทุนได้ ซึ่งสหกรณร้านค้าแห่งนี้ได้จัดตั้งขึ้นโดยความสมัครใจของชาวบ้านเปร็ดในเองและใช้ชื่อว่า “ศูนย สาธิตกองทุนอเนกประสงคและกองทุนยา” ซึ่งแบ่งปันผลประโยชนในสัดส่วนดังนี้ คือ 1) ผู้ถือหุ้น ร้อยละ 20 2) คณะกรรมการต่าง ๆ เช่น ผู้ขาย ผู้ตรวจสอบสินค้า พนักงานจัดซื้อสินค้า พนักงานบัญชี ร้อยละ 40 3) สมาชิกผู้ถือหุ้น เมื่อซื้อของแล้วจดหมายเลขสมาชิก พอสิ้นปีได้เงินปันผล ร้อยละ 35 4) สวัสดิการของทางร้าน เช่น ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในร้าน รวมถึงการช่วยงบพัฒนาในหมู่บ้านด้วย อีกประมาณ ร้อยละ 5 ปัจจุบันกองทุนแห่งนี้ยังคงดาเนินการอยู่ นับว่าเป็นกลุ่มองคกรที่มีอายุยืนยาวมากที่สุดในหมู่บ้าน แห่งนี้ 6. เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานราชการ/เอกชน มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับหมู่บ้านนี้ในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ กันดังนี้ กรมป่าไม้ กรมประมง กรมการ พัฒนาชุมชน สาธารณสุข ครู พระสุบิน ปณีโต กองทุนการลงทุนเพื่อสังคมและศูนยฝึกอบรมวนศาสตร ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค (RECOFTC) กองทุนการลงทุนเพื่อสังคม ให้การสนับสนุนในเรื่องของเงินทุนในส่วนของการพัฒนาและอนุรักษป่า ชายเลน โดยให้งบประมาณมาจัดสร้างสะพานทางเดินในป่าชายเลน บ้านพักสาหรับพนักงานตรวจและเฝ้า ระวังป่า และเรือยนตที่ใช้เป็นพาหนะในการตรวจและเฝ้าระวังผู้ลักลอบตัดไม้ในป่าชายเลน
  • 7. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 7 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” พัฒานาการทางด้านเศรษฐกิจของชุมชน ช่วงก่อน พ.ศ. 2482 (ยุคการผลิตแบบดั้งเดิม) ช่วงตั้งถิ่นฐานครรั้งแรกในปี พ.ศ. 2393 มีครัวเรือนประมาณ 10 หลังคาเรือน บรรพบุรุษเป็นชาวจีน ที่อพยพมาจากบ้านโคก ได้เห็นที่ดินบริเวณนี้ยังว่างอยู่จึงเข้ามาหักร้างถางพงและทานาข้าว นอกจากนั้นก็ เป้นการเก็บของป่า ล่าสัตวป่ารวมถึงการหากุ้ง หอย ปูปลาในป่าชายเลนเป็นอาหาร ช่วงต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2460-2482 เป็นช่วงขยายตัวของหมู่บ้าน จากการแต่งงานและมีลูกหลาน แต่การทามาหากินก็ยังคง เป็นการทานาข้าวไร่ การทานาในสมัยนั้นใช้พันธุข้าวขาวลา ซึ่งเป้นพันธุข้าวที่มีความทนทานต่อน้าเต็มมาก การคมนาคมในช่วงนี้ส่วนใหญ่เป็นการเดินทางโดยเท้าและโดยเกวียน ซึ่งมีอยู่ไม่กี่ครอบครัวเท่านั้น และ เดินทางด้วยเรือโดยล่องเรือไปตามโครงข่ายคลองเปร็ด ซึ่งมีอยุ่จานวน 12 คลอง โดยสรุปในยุคดั้งเดิมของ ชุมชน ชาวบ้านอยู่กันอย่างเอื้ออาทร ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีการแบ่งปันอาหารกัน พึ่งพาอาศัยกัน วิถีการ ผลิตเป็นการพึ่งพิงธรรมชาติ และใช้ประโยชนจากธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า พ.ศ. 2482-2526 (ยุคการเข้ามาของพืชเศรษฐกิจ) ในช่วงระยะเวลานี้ ชาวบ้านส่วนใหญ่มีกิจกรรมเน้นหนักไปทางเกษตรกรรม คือมีการทานาข้าว ทา สวนยางและทาสวนผลไม้ ซึ่งเป็นผลมาจากการรับกระแสการพัฒนาแบบใหม่ วิถีชีวิตของชาวบ้านเปร็ดใน ยังปรับเปลี่ยนไปตารมกระแสบริโภคนิยมอีกด้วย การเดินทางเข้าตัวจังหวัดได้สะดวกสมาชิกในชุมชน เดินทางไปซื้อสินค้าจากในตัวเมืองเข้ามาขายในชุมชน และมีรถยนตเข้ามาจาหน่ายสินค้าในชุมชน จึงเข้า สู่วัฏจักรของการผลิตแบบกระแสหลักคือ การผลิตเพื่อขาย นาเงินมาซื้อสินค้าที่ต้องการ เมื่อไม่มีเงิน ก็เป็น หนี้เป้นสิน เพื่อให้ตนเองเท่าเทียมกับผู้อื่น พ.ศ. 2525-2538 (ยุคการเข้ามาของนากุ้งและความเสื่อมโทรมของทรัพยากร) การทานากุ้งที่หมู่บ้านเปร็ดในมี 2 แบบคือการเลี้ยงกุ้งแบบดั้งเดิมและการเลี้ยงกุ้งแบบพัฒนา ประมาณร้อยละ 60 ของครัวเรือนทั้งหมดที่ทานากุ้งแบบพัฒนา คือใช้ใบพัดตีน้าเพื่อเพิ่มออกซิเจน ใช้ สารเคมีเพิ่มมากขึ้น พอนาน ๆ น้าก็เริ่มเสีย ชาวนากุ้งสวนใหญ่นั้นต้องลงทุนประมาณบ่อละ 200,000- 300,000 บาท หากมีหลายบ่อต้องใช้เงินนับล้านบาท พอขาดทุนต้องขายที่ดินและทรัพยสินใช้หนี้ ชาวบ้าน เริ่มเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นแล้ว จึงมีการรวมตัวจัดตั้งสหกรณร้านค้าขึ้นมา ต่อมาชาวบ้านหันมาทานากุ้งแบบ ธรรมชาติที่ไม่ต้องใช้สารเคมี หลังจากเกิดปัญหา ชาวบ้านจึงเริ่มตระหนักและมีกระบวนการแก้ไขปัญหา ภายในชุมชนตัวเอง
  • 8. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 8 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” พ.ศ. 2538-ปัจจุบัน (ยุคการปรับตัวของชุมชนในปัจจุบัน) ปัจจุบันรายได้หลักมาจากการประกอบอาชีพทาสวนผลไม้ชนิดสวนผสม อาชีพรองลงมาคือการทา สวนยางพาราและการทานากุ้ง และเพาะเลี้ยงสัตวน้า นอกจากนั้นรับจ้างกรีดยาง และจับปู ปลา และค้าขาย รวมถึงการรับจ้างทางานทุกประเภทในเวลาว่างจากการทางานหลัก ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 1) กลุ่มอาชีพที่แสดงให้เห็นว่ามีกิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบพอเพียงอย่างเด่นชัด 1. สวนผลไม้ ในการศึกษาครั้งนี้ ทาการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ประกอบอาชีพและมีรายได้หลักจากสวน ผลไม้จานวนทั้งสิ้น 7 รายพบว่ามีการปลูกประเภท เงาะ ทุเรียน สัปปะรด เป็นส่วนมาก นอกจากนั้นเป็น การปลูกแซมเช่น มังคุด ลองกอง ลางสาด ระกา สละ ชมพู่ ชาวสวนผลไม้ส่วนใหญ่มีที่ดินประมาณ 5-20 ไร่ ในกระบวนการผลิตนั้น ต้องใช้เงินลงทุนประมาณ 5,000–20,000 บาท ซึ่งเป็นค่าปุ๋ย ค่ายาฆ่าแมลง ค่าไฟฟ้า ค่าน้ามันเชื้อเพลิง เป็นต้น แรงงานที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นครอบครัว ภุมิปัญญาของชาวสวนที่เห้นได้ ชัดเจนคือกรใช้ลูกเหม้นใส่ขวดน้าพลาสติก แขวนไว้ที่กิ่งไม้โคนต้นไม้ที่ให้ผล เพื่อให้กลิ่นลูกเหม็นกระจาย ไปทั่วจนปลายต้น เป้นการใช้กลิ่นลูกเหม็นไล่แมลง ที่หมู่บ้านนนี้ชาวสวนไม่นิยมนาผลผลิตมาแปรรูปเพื่อขาย โดยให้เหตุผลว่าไม่มีเวลาและหาตลาด ไม่ได้ ถ้าแปรรูปแล้วสวนใหญ่ทาไว้เพื่อบริโภคเอง และแจกจ่ายตามบ้าน 2. ประมง จับสัตวน้า ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจานวน 4 รายที่ประกอบอาชีพประมง โดยเฉพาะการจับสัตวน้านี้ พบว่าส่วน ใหญ่ทาประมงอย่างเดียว ทาให้มีฐานะที่ยากจน เพราะมีรายได้น้อยมาก เพียงเดือนละ 1,500–2,000 บาท เท่านั้น ใน 1 เดือนชาวบ้านมีรายได้เพียง 15 วันเท่านั้น อาชีพนี้ต้องอาศัยปัจจัยในการผลิตในเรื่องของ เงินทุนอยู่บ้าง คือเงินลงทุนในเรื่องของค่าเครื่องมือ เป็นการลงทุนแบบครั้งเดียว เมื่อจับสัตวน้ามาแล้ว ก็ นามาคัดแยกขนาดเพื่อนาไปขาย ตลาดที่รับซื้อแหล่งใหญ่อยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านอ่าวกูด ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ติด ชายฝั่งทะเลจึงมีการทาประมงกันเยอะ และไปขายที่ตลาดในตัวจังหวัด กลุ่มที่มีผลต่อการทาอาชีพนี้ที่เห็นได้ชัดเจนคือ กลุ่มอนุรักษและพัฒนาป่าชายเลนที่เกิดขึ้นมาจาก การรวมตัวของคนในหมุ่บ้านเพื่อให้ป่าชายเลนและสัตวที่อาศัยในป่าชายเลนคงอยู่มีผลต่อการทาอาชีพ
  • 9. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 9 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” ประมงเป็นอย่างมาก วึ่งในการอนุรักษนั้นมีการจัดเรือลาดตระเวน ดูแลรักษาป่ารวมถึงชาวประมงที่ออกหา ปลาในตอนกลางคืนก็ทาหน้าที่นี้ด้วย 3. การเพาะเลี้ยงสัตวน้า (นากุ้งและเลี้ยงปู ปลา) ในชุมชนบ้านเปร็ดในนี้ ส่วนใหญ่มีทั้งการทานากุ้งแบบพัฒนา การทานากุ้งแบบธรรมชาติ และการ เลี้ยงปู ปลาในบ่อ จากข้อมูลที่ได้รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่าง 12 รายแบ่งเป็น การทานากุ้งแบบธรรมชาติ 5 ราย การทานากุ้งแบบพัฒนา 2 ราย และการเลี้ยงปู ปลาในบ่อ 5 ราย จากข้อมูลที่ศึกษามาพบว่า อาชีพทานากุ้งมีการลงทุนสูงและความเสี่ยงสูง โดยเฉพาะการทานากุ้ง แบบพัฒนา ลงทุนบ่อหนึ่ง ไม่ต่ากว่า 100,000 บาท เริ่มจากขุดเตรียมบ่อและปล่อยน้าทะเลไหลเข้ามา ใน ระหว่างนั้นควบคุมปัจจัยการผลิตทุกขั้นตอน วิธีนี้เลี้ยงอยู่ประมาณ 4-5 เดือน ถ้ากุ้งมีสภาพแข็งแรงและ เจริญเติบโตดี ทาให้ได้ราคาไม่ต่ากว่า 800,000 บาท แต่ถ้ากุ้งเป็นโรค มีขนาดเล็ก ทาให้ราคาตกหรือ ขาดทุนได้ มีปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดการได้กาไรหรือขาดทุน คือน้าที่ใช้ในคลองเพราะต้องมีการระบายน้าเข้า ออกอยู่บ่อย ๆ เมื่อกุ้งเป็นโรค ถ้าไปรับน้าเข้ามา กุ้งก็เป็นโรคติดต่อกันจนกระทั่งลุกลามและตายกันหมดทุก บ่อ ซึ่งมีผลสาคัญต่อรายได้ เงินทุนที่ได้มานั้น ส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้ของ ธกส. แทบทั้งสิ้น เพราะเป็นสถาบันทางการเงินที่ให้กู้ยืม เงินในหลักแสน โดยเอาโฉนดที่ดินหรือหลักทรัพยอื่น ๆ ไปค้าประกัน ส่วนพันธุกุ้งนั้น ไปซื้อจากฟารมใน จังหวัดจันทบุรีซึ่งมีราคาถูกและแข็งแรง ส่วนเครื่องมือที่ใช้ที่สาคัญเป็นเรื่องเครื่องให้อากาศ อาหารกุ้งนั้น ส่วนใหญ่ใช้อาหารเม็ดซึ่งจะต้องให้อาหารตามสัดส่วนของระยะเวลาในการเลี้ยงกุ้ง การขายมีอยู่ 3 แบบคือ นัดพ่อค้าประมาณ 10-18 รายให้มาประมูลเหมาทั้งบ่อ กับอีกวิธีหนึ่งคือ พ่อค้ามาซื้อที่บ่อ ราคาเป็นไปตามที่ต่อรองกัน และนาไปขายที่ตลาดในตัวเมือง ส่วนการทานากุ้งแบบธรรมชาติ จะใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ 10-70 ไร่และทาเพียง 1 บ่อ ใช้เงินลงทุนไม่ มากนัก โดยการขุดบ่อขึ้นมาทาเป็นคันดิน มีประตูระบายน้าเข้าออก จากนั้นสูบน้าเข้ามาในบ่อ ทิ้งไว้ 2-3 เดือน ชาวกุ้งแบบธรรมชาติจะขายกุ้งได้ราคาประมาณ 10,000–100,000 บาทขึ้นอยู่กับจานวนกุ้งที่มีอยู่ใน บ่อ การขาย มีอยู่ 2 แบบ วิธีหนึ่งคือพ่อค้ามาซื้อที่บ่อ ราคาเป็นไปตามที่ต่อรองกัน และนาไปขายที่ ตลาดในตัวเมืองจังหวัดระยองและจังหวัดสมุทรปราการ
  • 10. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 10 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” การเพาะเลี้ยงสัตวน้า ส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงปลาเก๋า ปูดา ปูไข่ เนื่องจากกาลังซื้อในตลาดมี ค่อนข้างสูง ในการลงทุนนั้น ถ้าในกรณีที่มีบ่อเลี้ยงกุ้งอยู่แล้ว ก็ให้นามาปรับปรุงคือขุดบ่อให้ลึกมากขึ้น จากนั้นปล่อยน้าทะเลเข้ามาในบ่อ ทิ้งไว้ประมาณ 1-2 วัน จากนั้นซื้อพันธุสัตวน้ามาปล่อยลงในบ่อ คือลูก ปลาเก๋าประมาณ 500 ตัว ลูกปูประมาณ 50-100 ตัว จากนั้นให้อาหารสด (คือปลาตัวเล็ก ๆ) เมื่อครบ 6 เดือน ก็โตเพียงพอที่นาไปขายในท้องตลาดได้แล้ว โดยที่ในการจับสัตวน้านี้ ต้องใช้อวนเป็นเครื่องมือในการ จับ ต้องใช้แรงงานประมาณ 10-15 คน การขายมีลักษณะคล้าย ๆ กับการขายกุ้ง คือ มีอยู่ 2 แบบ วิธีหนึ่งคือพ่อค้ามาซื้อที่บ่อ และนาไป ขายที่ตลาดในเมือง ราคาปลาเก๋ากิโลกรัมละ 250-300 บาท ปูดากิโลกรัมละ 100-150 บาท และปูไข่ กิโลกรัมละ 250 บาท ปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดการได้กาไรหรือขาดทุน คือ น้าเสียในบ่อ บางครั้งให้อาหารมากเกินไป ไม่มี การระบายน้าเข้า - ออก ถ้าอากาศไม่ดี คือลมไม่พัด น้านิ่ง สัตวน้ามีอาการไม่ดี คือเริ่มอ่อนแอ และเป็นโรค ตายภายใน 2-3 วัน สันนิษฐานว่าเป็นเพราะขาดออกซิเจน ในหมุ่บ้านแห่งนี้ยังคงมีการช่วยเหลือ พึ่งพาอาศัยกันอยู่ โดยเห้นได้จากการช่วยแรงงานในการจับ สัตวน้า การพึ่งพากันเรื่องของพืชผักสวนครัว อาหารการกินที่หามาได้จากการประกอบอาชีพ ก็นามา แบ่งปันกัน สาหรับมาตรการในการป้องกันการโดนลักขโมยจากบุคคลนอกชุมชนคือคนในลุมชนต้องช่วยกัน เฝ้าดูแลทรัพยสิน และถ้ามีคนแปลกหน้าเข้ามาต้องบอกกล่าวให้ทราบโดยทั่วกัน 2) กลุ่มอาชีพทั่วไป 1. การทาสวนยางพารา ลักษณะบ้านเรือนของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป้นบ้านไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูง ส่วนใหญ่เป้นที่ดินของ ตนเอง มีจานวนเนื้อที่ในการทาสวนยางพาราตั้งแต่ 5-50 ไร่ ซึ่งมีเอกสารสิทธิ์เป็นโฉนดทั้งหมด ซึ่งในการ กรีดยางนั้น ทาได้ราว ๆ เดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤกษภาคม รวมประมาณ 10 เดือน รายได้การทาสวนยาง ซึ่งได้จากการขายยางแผ่นหรือน้ายางดิบอยู่ที่ไร่ละประมาณ 500-2,500 บาท ส่วนรายจ่ายที่ใช้ในเรื่องของ การผลิตได้แก่ค่าปุ๋ยและค่าแบตเตอรี่ ประมาณปีละ 1,000–2,000 บาท ดังนั้นครอบครัวที่ทาสวนยางพารา แต่เพียงอย่างเดียว จึงค่อนข้างมีเงินเก็บ ยางพาราเป็นพืชยืนต้นซึ่งมีลักษณะธรรมชาติเช่นเดียวกับพืชต้นอื่น ๆ คือมีความล่าช้ามากด้าน เวลาในการผลิต ชาวสวนยางเมื่อตัดสินใจปลูกยางพาราแล้ว เขาต้องรออยุ่ 6-7 ปีเพื่อให้ต้นยางโตพร้อมให้ ผลผลิตในรูปน้ายาง การเก็บเกี่ยวผลผลิตทาได้โดยการกรีดต้นยาง ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นตามอายุของต้น
  • 11. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 11 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” ยางจนกระทั่งต้นยางนั้นมีอายุสิบกว่าปีก็ให้ผลผลิตสูงสุดอยู่ระยะหนึ่ง แล้วผลผลิตลดลง ซึ่งเกษตรกรอาจ โค่นต้นยางแก่แล้วปลูกใหม่ เนื่องจากผลผลิตที่ได้จากต้นยางแก่ไม่คุ้มกับต้นทุนในการผลิต ในส่วนของการทายางแผ่น ประกอบด้วยอุปกรณดังนี้ เครื่องรีดยาง ซึ่งมี 2 เครื่องด้วยกันคือ เครื่อง รีดแผ่นเรียบและเครื่องรีดแผ่นลาย สามารถรีดได้ 2 แบบคือแบบใช้มือหมุนและใช้ไฟฟ้า นอกจากนั้นต้องมี ถาดสาหรับใส่น้ายาง มีสถานที่กลางแจ้งไว้สาหรับตากแผ่นยาง สาเหตุที่นาเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ เนื่องจากมีการแนะนาจากกองทุน ว่าช่วยผ่อนแรง ทาให้งานเสร็จเร็ว และทาให้ยางแผ่นมีรูปลักษณที่ สวยงาม ไม่เสียราคา การขายทาได้ 2 แบบคือ ขายเป็นน้ายางดิบ โดยเก็บน้ายางดิบไว้ในถังขนาดใหญ่ จนได้ปริมาณ พอสมควร มีพ่อค้าคนกลางมารับซื้อถึงบ้าน แต่ได้ราคาไม่ดีเท่ากับการทายางแผ่น แบบที่สองคือยางแผ่น ซึ่งมีพ่อค้าคนกลางเข้ามารับซื้ออีกเช่นกัน แต่ราคายางในระยะเวลา 1-2 ปีที่ผ่านมามีราคาตกต่ามาก 2. ค้าขาย บ้านเปร็ดในนี้ มีร้านค้าทั้งหมด 7 ร้าน แต่ละร้านอยู่ระยะห่าง ๆ กัน เพื่อให้บริการกับผู้คนที่อยู่ใน ละแวกนั้น สินค้าที่ขายส่วนใหญ่คล้ายคลึงกัน ประกอบไปด้วยเครื่องอุปโภค บริโภคประจาวันเช่น สบู่ ยาสี ฟัน แป้ง แชมพู น้ามัน น้าตาล ผงซักฟอก นมข้นหวาน โอวัลติน กาแฟ น้าอัดลม ขนมขบเคี้ยว รวมถึง อาหารสด ได้แก่ พืชผัก เช่น แตงกวา ผักคะน้า กะหล่าปลี ผักกาดขาว ต้นหอม พริกขี้หนู โหระพา กระ เพรา ถั่วฝักยาว มะระ เนื้อสัตว เช่น หมุ เนื้อ ไก่ ปลา ปู กุ้ง หอย กาหนดราคาสินค้า เจ้าของร้านเป็นผู้กาหนดราคา โดยที่สินค้าอุปโภคบริโภคมีราคาแพงกว่า ท้องตลาด ประมาณ 1-2 บาท แต่สินค้าจานวกขนมขบเคี้ยวมีราคาเท่ากับท้องตลาด เนื่องจากมีราคาติดไว้ที่ หน้าซองแล้ว 3. รับจ้าง อาชีพรับจ้างที่พบในชุมชนนี้ ส่วนใหญ่เป็นการรับจากกรีดยาง ซึ่งค่อนข้างเป็นงานประจา เพราะ ต้องทาเกือบทุกวัน โดยเฉพาะในช่วงที่สามารถกรีดยางได้ อาชีพเสริมเช่น รับจ้างห่อขนมขาย เป็นช่างไม้ รับเหมาสร้างบ้าน อาชีพรับจ้างกรีดยาง เป็นอาชีพที่นิยมทากันมากในหมุ่บ้านนี้ โดยเฉพาะคนที่มีที่ทากินน้อย และคน ที่เพิ่งทาการเพาะปลูกในระยะเริ่มแรก ผลผลิตยังไม่มี รวมทั้งกลุ่มที่ทาประมงตับสัตวน้า ก็มักรับจ้างกรีด ยางให้สวนของผู้อื่นที่อยุ่ในหมู่บ้านนี้ รายได้ในส่วนเฉพาะที่รับจ้างทาสวนยางตกประมาณ 5,000-10,000
  • 12. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 12 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” บาท อาชีพรับจ้างกรีดยางนี้ทากันในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤษภาคม แต่ถ้าฝนเริ่มตก การกรีดยางก็ ต้องหยุดเช่นกัน จากผลการศึกษาโดยสรุปแล้ว ชุมชนบ้านเปร็ดในมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในชุมชนอยู่ตลอดเวลา ตั้งแต่การผลิตเพื่อบริโภคภายในครัวเรือน เปลี่ยนแปลงมาเป็นการผลิตเพื่อขายซึ่งทาให้เกิดผลกระทบอย่าง มากมายต่อชุมชน ชาวบ้านเริ่มมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตและการใช้ทรัพยากรที่เน้นการพึ่งพา ตนเองมากขึ้น มีจิตสานึกและพฤติกรรมด้านการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจน ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคอีกด้วย ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวนี้เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดแบบ เศรษฐกิจพอเพียง การวิเคราะหพลวัตทางเศรษฐกิจของชุมชนบ้านเปร็ดใน การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของหมูบ้านเปร็ดในนี้จะเริ่มตั้งแต่สมัยอดีตที่ยังมีวิถีชีวิต แบบดั้งเดิมคือ การผลิตเพื่อการบริโภคภายในครัวเรือน หลังจากนั้นเมื่อมีการเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตก ในชุมชนต่าง ๆ แม้แต่หมู่บ้านเปร็ดใน การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทาให้ความสัมพันธภายในชุมชุนได้ เปลี่ยนไปด้วย โดยสภาพความเป็นอยู่ของชาวบ้านจะมีความสะดวกสบายมากขึ้นแต่กลับมีหนี้สินมากขึ้น เช่นกัน วิถีชีวิตจากเดิมที่ผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน เป็นการผลิตเพื่อขาย ซึ่งจะมีการนาเข้าพืชเศรษฐกิจ เข้ามาเช่น เงาะ ยางพารา ทุเรียน และมีการเปลี่ยนพื้นที่ภายในหมู่บ้านเป็นพื้นที่ทานากุ้งโดยไม่มีการ ควบคุมการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและการลุกล้าเขตป่าชายเลนจากลุ่มคนในชุมชนและกลุ่มนายทุนที่ เข้ามาลงทุน ในระยะเวลาต่อมาก็มีการให้ความรู้ถึงความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และมีการ รวมตัวกันของชาวบ้านในการฟื้นฟูชุมชนให้มีความเข้มแข็ง การจัดการทรัพยากรป่าชายเลนของชุมชนบ้านเปร็ดในมีความสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจอย่างมาก โดยจะแบ่งเป็นวิถีชีวิตดั้งเดิมแต่ก่อนจนกระทั่งถึงมีการลงทุนทานากุ้ง พืชสวน และไป ถึงช่วงที่มีการฟื้นฟูสภาพทรัพยากร 1) วิถีชีวิตดั้งเดิม ในการใช้ชีวิตของชาวบ้านในอดีตจะเป็นลักษณะของสังคมเกษตรกรรมที่มีการทานาข้าวเป็นหลัก โดยจะเป็นการทานาบนที่ลุ่มเพื่อการบริโภค รวมถึงพืชผักตามบ้านอื่นๆอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยง สัตวและจับสัตวในป่าสัตวทะเลเพื่อการบริโภคเช่นกัน วิถีชีวิตของผู้คนในอดีต เป็นการใช้ชีวิตในรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียงค่อนข้างชัดเจนมาก โดย ทรัพยากรทางธรรมชาติของหมูบ้านเปร็ดในนี้มีความอุดมสมบูรณ และความหลากหลายทางธรรมชาติมาก รูปแบบการดาเนินตามวิถีชีวิตของผู้คนในหมู่บ้านจะผูกพันกันด้วยอาหาร
  • 13. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 13 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” การวิเคราะหตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ชาวบ้านในอดีต จะมีการเรียนรู้จากการสังเกตและมีการ คานึงถึงความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ โดยจะมีการกาหนดการจับสัตวน้าในช่วงเวลาที่เหมาะสม โดย มีการเลือกขนาดของสัตวน้าเช่น ปู ปลา ในป่าชายเลน ทาให้มีหัวข้อทางด้านภูมิคุ้มกันและความ พอประมาณ เนื่องจากทรัพยากรขณะนั้นยังอุดมสมบูรณอยู่ จึงมีการแบ่งปันกันภายในชุมชนเกิดเป็น ความสัมพันธที่แน่นแฟ้นมากขึ้น ส่วนทางด้านเหตุผลและเงื่อนไขของความรู้นั้นอาจจะไม่ชัดเจนมากแต่ มักจะเกิดจากการสังเกต และการบอกต่อกันภายในชุมชน 2) วิถีชีวิตช่วงพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ วิถีชีวิตของชาวบ้าน มีความเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมาก เมื่อมีการพัฒนาประเทศโดยมุ่งเน้นการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ จึงมีการนาเข้าของเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทาการเกษตร เริ่มมีการปลูกพืช เศรษฐกิจเช่น ยางพารา เงาะ ทุเรียน เป็นต้น รวมถึงเทคโนโลยีในการทาประมงอีกด้วย เนื่องจากมี ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณจึงมีการเข้ามาของบริษัทเอกชน ส่งผลให้มีการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและ บุกรุกพื้นที่ป่าชายเลนมากมายทาให้ทรัพยากรเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว จากนั้นมีการเข้ามาของกลุ่มนายทุน ที่มาทานากุ้งโดยสุดท้ายไม่สาเร็จผลก็ปล่อยที่ดินทิ้งร้างไว้ก็มี การวิเคราะหตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตแบบเดิมซึ่งเป็นรูปแบบของการ ผลิตเพื่อบริโภคกลายเป็นแบบกระแสตะวันตกนี้ส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจภายในครอบครัวอย่างมาก ระบบ เงินตรามีความสาคัญต่อการใช้ชีวิตอย่างมาก จึงส่งผลให้มีการขยายพื้นที่ทากิน บุกรุกพื้นที่ป่าชายเลนและ พื้นที่ป่าไม้ โดยไม่คานึงถึงผลเสียที่จะตามมา ความคิดด้านเศรษฐกิจพอเพียงในช่วงเวลานี้จึงแทบไม่มีเลย แม้จะมีบางส่วนที่ยังใช้ชีวิตในรูปแบบดั้งเดิมก็ตาม 3) ช่วงฟื้นฟูทรัพยากร สภาพทรัพยากรภายในหมู่บ้านได้เสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว หลังจากมีการเข้ามาของกลุ่มนายทุนและ บริษัทเอกชน ชาวบ้านบางส่วนได้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และมีการรวมกลุ่มเพื่อขับไล่กลุ่มนายทุนเหล่านี้ ออกไป โดยจะมีการให้ความรู้แก่ชาวบ้านถึงเรื่องสภาพของทรัพยากร จนนาไปสู่ความร่วมมือกันในการ ช่วยกันฟื้นฟูทรัพยากรขึ้นมา โดยขั้นตอนของการให้ความรู้นั้นจะใช้เวลาค่อนข้างนาน เพราะผู้คนยังยึดติด การใช้ชีวิตรูปแบบเก่าอยู่ แต่ในปัจจุบันนั้นกลุ่มชาวบ้านได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ และได้ฟื้นฟูต่อมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งสภาพทรัพยากรได้กลับมาเกือบจะสมบูรณเหมือนเดิม การวิเคราะหตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง หนี้สินจากการดาเนินชีวิตในรูปแบบกระแสตะวันตกนั้นได้ สร้างปัญหาแก่หลายครอบครัว การให้ความรู้เรื่องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงนั้น เป็นส่วนช่วยให้วิถีการ ดาเนินชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนแปลงไป แต่ไม่ถึงกับใช้ชีวิตแบบวิถีดั้งเดิม โดยจะมีการปรับตัวให้เข้ากับยุค
  • 14. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 14 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” สมัยที่เปลี่ยนแปลงไปได้ ในแง่ของเงื่อนไขความรู้ของชาวบ้านนั้น จะมีมากกว่าในรูปแบบวิถีชีวิตดั้งเดิม รวมถึงการมีเทคโนโลยีนามาประยุกตใช้ในการประกอบอาชีพได้ นอกจากนี้ ยังมีการส่งเสริมในเรื่องของ คุณธรรมและการแบ่งปันภายในชุมชุนให้เกิดขึ้น การให้ความรู้เรื่องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของช่วงนี้ มักจะเกิดจากการประสบปัญหามาก่อน แต่อาศัยความร่วมมือกันภายในชุมชนช่วยกันเปลี่ยนแปลงให้ กลับมาเหมือนเดิม การวิเคราะหพลวัดกระบวนการสะสมทุนของชุมชน จากกิจกรรมของกลุ่มสัจจะสะสมทรัพยของบ้านเปร็ดใน จะเห็นได้ถึงการดาเนินชีวิตของชาวบ้านซึ่ง มีลักษณะที่ใกล้เคียงกับแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง เห็นได้จากปรากฏต่างๆดังนี้ 1. การช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างชาวบ้าน 2. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสร้างกิจกรรมที่ให้ผู้คนอยู่ร่วมกันได้ 3. ใช้แนวคิดของวัฒนธรรม เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาและการจัดกิจกรรม 4. สร้างจริยธรรม เช่นความซื่อสัตย ความตรงต่อเวลา การอดออม การเสียสละ 5. สร้างโอกาสให้ชาวบ้านได้มีโอกาสพบปะซึ่งกันและกัน 6. เป็นการสร้างให้เกิดพลังของชุมชนขึ้น 7. มีกองทุนส่งเสริม 8. ใช้พลังของชุมชนแก้ปัญหาภายในท้องถิ่นได้ เช่น ปัญหายาเสพติด ในอดีตวิถีชีวิตของชาวบ้านเปร็ดใน เป็นแบบความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ต่อมาเทคโนโลยีต่าง ๆ เริ่มมี อิทธิต่อหมู่บ้าน ซึ่งทาให้วิถีชีวิตที่เรียบง่ายเริ่มเปลี่ยนแปลงทาให้เกิดปัญหาต่าง ๆ มากมายเช่น ปัญหาเรื่อง หนี้สิน ผลจากการมีหนี้สิน ทาให้ชาวบ้านในชุมชนเริ่มมีการรวมตัวกันเพื่อจัดการกับหนี้สิน โดยใช้หลักของ พลังทางวัฒนธรรม เริ่มจากการรวมกลุ่มเกิดเป็นเครือข่ายชาวบ้านและสังคม ผลจากการรวมตัวกันเป็นสังคม ทาให้เริ่มมีการพบปะพูดคุยกันภายในสังคมกันมากขึ้น และมีการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยกันมากขึ้น จากการรวมตัวของชาวบ้านทาให้เกิดเป็นกลุ่มสัจจะสะสมทรัพยกันขึ้น เช่น การออมทรัพยกันภายในชุมชนทาให้ผู้ที่เดือดร้อนเรื่องเงิน สามารถทาการถอนเงินไปใช้ปลดหนี้ได้ บางส่วน ทาให้เกิดเป็นแหล่งทุนที่ชุมชนสามารถกู้ยืมไปประกอบอาชีพได้บางส่วน จึงทาให้ชุมชนไม่ต้องหัน ไปหวังพึ่งสถาบันการเงิน เปรียบเสมือนเป็นธนาคารของชุมชนนั้นเอง
  • 15. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 15 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” กิจกรรมภายในชุมชนที่มีการพบปะกันทุกเดือนเป็นประจาทาให้ชาวบ้านมีการพบปะกันแลกเปลี่ยน ปัญหา สารทุกขสุขดิบ กันซึ่งจากการพบปะกันนั้น ทาให้การกู้ยืมเงินนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะจาก การกู้ยืมนั้นผู้ยืมต้องสัจจะที่จะต้องเอาเงินมาคืน เนื่องด้วยผู้ค้าประกันคือเพื่อนบ้าน ญาติพี่น้องของตน ซึ่ง หากมีการโกงกันเกิดขึ้น จะมีการลงโทษประจาน ทาให้ไม่สามารถอยู่ภายในชุมชนได้ กิจกรรมที่ชุมชนได้จัดนั้นมีมากมาย เช่น กิจกรรมการออกกาลังกาย กิจกรรมการแลกเปลี่ยน ผลผลิต จากกิจกรรมการออกกาลังกายนั้น ชาวบ้านส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือภายในชุมชน ทาให้อบายมุข และสารเสพติดนั้นไม่พบเห็นภายในชุมชน กิจกรรมการแลกเปลี่ยนผลผลิต ซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่จะเป็นญาติ กันทาให้มีการแลกเปลี่ยนสิ่งต่าง ๆ เช่น ปลา ปู ผัก อาหาร กับข้าว ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันของทุกคนจะช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เช่นการเยี่ยมเยียนเพื่อนบ้านเมื่อทราบข่าว การป่วย การเป็นหูเป็นตา เฝ้าบ้านให้ซึ่งกันและกัน จะเห็นได้ว่าลักษณะการอยู่อาศัย และการใช้ชีวิตความ เป็นอยู่ยังคงเป็นไปแบบดั้งเดิมที่ให้ความสาคัญกับระบบความสัมพันธเป็นหลัก ใช้ระบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกัน และกัน จึงทาให้ชุมชนนั้นไม่ถูกระบบสังคมภายในปัจจุบันครอบงา และสุญเสียความเป็นชุมชนดั้งเดิมแบบที่ เคยเป็นมา จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงของชาวบ้านเปร็ดในมีอยู่ 3 ลักษณะ 1. กิจกรรมที่มีการพัฒนาการจากเศรษฐกิจแบบยังชีพ มีการแลกเปลี่ยนบางส่วนของกิจกรรมที่เน้น พึ่งตนเอง คือ การที่ทาผลผลิตเพื่อบริโภคภายในครัวเรือน หากเหลือจะนาไปแจกจ่าย แลกเปลี่ยน ซื้อขาย 2. กิจกรรมที่เริ่มจากเศรษฐกิจแบบทันสมัยและพัฒนาไปสู้การพึ่งพากันมากขึ้น คือกิจกรรมที่มีขนาด ใหญ่อาจจะมีการใช้เทคโนโลยีภายนอกมาช่วยบางส่วนแต่ไม่ทั้งหมด ในขณะที่กิจกรรมขนาดเล็ก นั้นจะทาการใช้แรงงานภายในชุมชนในการผลิตเอง 3. กิจกรรมแนวคิดในการพัฒนาไปสู่การพึ่งตนเอง คือเมื่อมีปัญหาภายในชุมชน (ปัญหาหนี้สิน) จะมี การพัฒนาการไปสู่การพึ่งตนเองมากขึ้น จากข้างต้นเราสามารถจาแนกกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ ได้แก่ การผลิต การบริโภค และการ แลกเปลี่ยน 1. การผลิต ในหมู่บ้านจะมีการผลิตที่พึ่งพาระบบธรรมชาติและการอนุรักษสิ่งแวดล้อม เช่นกลุ่มประมง และการเพราะเลี้ยงสัตวน้า จะมีข้อบังคับไม่ให้ทาการประมงเมื่อถึงฤดูวางไข่ การดูแล และเฝ้าระวัง รักษาป่าชายเลน ลดปริมาณการใช้สารเคมีต่าง ๆ
  • 16. พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง 16 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” 2. การบริโภค ชาวชุมชนเปร็ดในนั้นจะมีความเป็นอยู่แบบพอเพียง โดยอาศัยการอยู่อาศัยแบบเรียบ ง่าย ประหยัดการเอาใจใส่และดูแลสุขภาพ พบว่าชาวบ้านส่วนใหญ่ใช้แต่สิ่งจาเป็นในการดาเนิน ชีวิต และการออกกาลังกายเพื่อรักษาสุขภาพ 3. การแลกเปลี่ยน ระบบการแลกเปลี่ยนของหมู่บ้านนั้น จะมีพ่อค้าคนกลาง โดยจะมีอานาจในการ ต่อรองราคาผู้ผลิตที่รู้เท่านั้น ชาวบ้านจะมีการหาข้อมูลราคาตลาดตาม วิทยุ โทรทัศน รวมถึง ชาวบ้านรู้จักคาว่าพอ ไม่โลภ คือการซื้อขายที่สามารถอยู่ได้ทั้งคนขายและคนซื้อแค่พอมีกาไรทาให้ ระบบแลกเปลี่ยนภายในชุมชนไม่เปลี่ยนแปลงตามกระแสหลักเสียทีเดียว 4. การจัดสรรผลผลิต จากในชุมชนจะเห็นได้ว่าการนามาให้แก่กันและกัน เป็นเรื่องปกติของภายใน ชุมชน ปัจจัยที่ส่งผลต่อลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้นา ผู้นาที่ดีต้องมีความซื้อสัตยสุจริต มีความเสียสละเพื่อประโยชนส่วนรวมมีความรู้ความสามารถ ในการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชน มีความขยันและจริงจังในหน้าที่ เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ชาวบ้าน และต้องมีบทบาทในการกระตุ้น และจูงใจภายในชุมชนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชนเกิดจากความรู้รอบตัว ภายในครอบครัว ภายใน ชุมชนและภายนอกชุมชน การทัศนศึกษาดูงานตามสถานที่ต่าง ๆ รวมถึงการฝึกอบรมกิจกรรม เรื่องต่าง ๆ และนาสิ่งต่าง ๆ ที่เรียนรู้มานั้นไปพัฒนานากลับมาใช้จริงในพื้นที่ของตน 3. กลุ่มองคกร และการมีส่วนร่วม ของประชาชน ในชุมชนเปร็ดในนั้นที่เห็นได้ชัดเลยคือ กลุ่มอนุรักษ และพัฒนาป่าชายเลน และกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย โดยจะมีการออกกฏข้อบังคับขึ้นมา จะต้องใช้การ มีส่วนร่วมของสมาชิกชุมชน นอกจากนี้ยังมีการแลกเปลี่ยนความรู้กันส่งผลให้เกิดการพึ่งตนเองได้ โดยไม่ต้องพึ่งทรัพยากรจากภายนอก 4. สังคม วัฒนธรรม ภูมิปัญญา เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในชุมชนนั้นจะมีพื้นฐาน ความคิดการพึ่งพาตนเอง ไม่เบียดเบียนธรรมชาติและผู้อื่น ไม่ก่อความเดือดร้อนทาให้สภาพสังคม ของชุมชนจะมีความน่าอยู่ ขณะเดียวกัน การแบ่งปันผู้อื่นทาให้มีทุนทางสังคมที่จะทาให้ชุมชนมี ความเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้ 5. เศรษฐกิจกับภาวะหนี้สิน ชาวบ้านเปร็ดในจะดาเนินชีวิตอยู่บนพื้นฐานของความมีเหตุผลในเรื่องการ ใช้จ่ายอย่างประหยัด ปริโภคสิ่งต่าง ๆ ให้สมกับฐานะความเป็นอยู่ การเก็บออมเงิน ประกอบอาชีพ สุจริต ในการบริโภคสิ่งจาเป็นเช่น รถจักรยานยนต ซึ่งหากต้องใช้ เพราะระยะทางห่างไกลจาก