SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาเศรษฐกิจเป็นการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้เกิดการเจริญเติบโต
อย่างเหมาะสมและมีเสถียรภาพ ส่งผลให้รายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคลเพิ่มสูงขึ้น และท้ายที่สุดทาให้คุณภาพ
ชีวิตของประชาชนดีขึ้น
ดังนั้นเครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจของไทยจึงสามารถวัดได้จาก 1. การพัฒนาเศรษฐกิจจาก
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจควบคู่ไปกับ 2. ความอยู่ดีกินดีของประชาชน ดังนี้
1. ดัชนีวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแสดงถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เช่น ผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ รายได้ประชาชาติ เป็นต้น
2. ดัชนีวัดความอยู่ดีกินดีของประชาชนแสดงถึงระดับความเป็นอยู่ของประชาชน เช่น อัตรา
การอ่านออกเขียนได้ อายุเฉลี่ยของประชากร อัตราการตายของทารก อัตราส่วนของแพทย์ต่อจานวน
ประชากร เป็นต้น
ทั้งนี้ดัชนีชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นดัชนีที่จะสะท้อนภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ
ประเทศ ดังนี้
1. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP)
เป็นตัวชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่นิยมใช้มากที่สุด เพราะแสดงถึงความสามารถในการผลิต
และการบริโภคของประเทศ โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ เป็นมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย
ซึ่งผลิตขึ้นโดยใช้ทรัพยากรภายในประเทศในรอบระยะเวลา 1 ปี GDP : มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย
ที่ผลิตขึ้นโดยคนไทยและชาวต่างชาติ โดยใช้ทรัพยากรของประเทศไทย
GDP = GNP + (รายจ่ายปัจจัยการผลิตไปต่างประเทศ – รายได้จากปัจจัยการผลิตต่างประเทศ)
2. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP)
แสดงถึง ความสามารถในการผลิต การบริโภคของคนไทยทั้งประเทศ โดยผลิตภัณฑ์มวลรวม
ประชาชาติเป็นมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ซึ่งผลิตขึ้นโดยคนไทยในประเทศและคนไทยใน
ต่างประเทศ
GNP = GDP + (รายได้จากปัจจัยการผลิตต่างประเทศ – รายจ่ายปัจจัยการผลิตไปต่างประเทศ)
3. รายได้ประชาชาติ (National Income : NI) คือ มูลค่าของรายได้ที่ประชาชน คนไทยในประเทศ
และคนไทยที่ไปทางานในต่างประเทศได้รับในช่วงระยะเวลา 1 ปี ทั้งนี้รายได้ประชาชาติคานวณจากผลิตภัณฑ์
มวลรวมประชาชาติหักด้วยภาษีทางอ้อมและค่าเสื่อมราคา
NI = GNP – ค่าเสื่อมราคา – ค่าภาษีทางอ้อม – ค่าระวาง (ขนส่ง)
ใบความรู้ที่ 11.1
เรื่อง เครื่องชี้วัดเศรษฐกิจของ
ไทย
ก
4. รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล (Per Capita Income) คานวณได้จากรายได้ประชาชาติหารด้วย
จานวนประชากร ซึ่งใช้เป็นดัชนีสาหรับเปรียบเทียบระดับความอยู่ดีกินดีของประชาชนของประเทศต่าง ๆ
การวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นส่วนหนึ่งของการวัดการพัฒนาเศรษฐกิจ
อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีแนวคิดการวัดความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness :
GNH) ขึ้น เนื่องจากการพัฒนาที่ผ่านมามุ่งเน้นแต่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว จนละเลย
ความสุขซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ยังไม่มีดัชนีวัดความสุขมวลรวม
ประชาชาติที่แน่นอนหรือชัดเจนในขณะนี้ แต่ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการให้ความสาคัญกับความสุขของ
ประชาชนมากกว่าการมุ่งเน้นแต่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ประเทศที่เป็นผู้นาเสนอแนวคิดการวัดความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness
: GNH) ขึ้น คือ ประเทศภูฏาน โดยมีหลักการสาคัญ 4 ประการ คือ
1. การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน 3. การรักษาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
2. การอนุรักษ์และส่งเสริมคุณค่าทางวัฒนธรม 4. การมีธรรมาภิบาล
GNP กับ GDP แตกต่างกันอย่างไร
GNP ย่อมาจากคาว่า Gross National Product หมายถึง ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ จะนับ
มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายเฉพาะที่ใช้ทรัพยากรของคนในประเทศนั้น ๆ ในการผลิต โดยไม่สนใจว่า
คนของประเทศนั้น ๆ จะอยู่ที่ใดในโลก หรือก็คือรายได้ของคนในประเทศที่ไปทารายได้ทั้งในและต่างประเทศ
แต่ถ้า GDP ย่อมาจาก Gross Domestic Product หมายถึง ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ มูลค่า
ของสินค้าและบริการเฉพาะที่เกิดอยู่ในประเทศ ไม่ต้องคิดว่าชาติใดเป็นผู้ผลิต หรือก็คือรายได้ทั้งหมดที่เกิดขึ้น
ในประเทศทั้งจากคนในประเทศและชาวต่างชาติ
ประเทศไทยประกอบด้วย 76 จังหวัด จะมีกิจกรรมการผลิตมากมาย ที่เป็นกิจการของ
ชาวไทย ที่เป็นของต่างชาติก็มีจานวนมากในระดับหนึ่ง มูลค่าผลผลิตจากทั้งกิจการของไทยและกิจการ
ต่างชาติ ทั้งหมดที่ทาอยู่ในราชอาณาจักรไทย รวมกันในแต่ละปีก็คือ GDP ของไทย
แต่ถ้าจะนับ GNP ของไทย ก็ต้องนับเฉพาะมูลค่าการผลิตของกิจการไทย โดยนับทั้งโลก คือ นับทั้ง
ในประเทศไทย (เฉพาะมูลค่าผลผลิตของกิจการไทย) และนอกประเทศไทย (เช่น รายได้จากการขายบริการ
(แรงงาน) ในต่างแดน เป็นต้น)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
1. ความหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คือ การกาหนดแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ เพื่อให้ประชาชนมีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนทุกขั้นตอน
อย่างเป็นระบบ
2. ความเป็นมาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประเทศไทยได้มีการริเริ่มจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจของชาติมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 ในสมัยรัฐบาล
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ โดยในปี พ.ศ. 2504 ได้ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับแรกขึ้น
หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทาแผน คือ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ โดยปัจจุบันประเทศไทยกาลังอยู่ในช่วงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560-2564)
1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) มีสาระสาคัญ ดังนี้
เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นสาคัญ โดยเฉพาะลงทุนสร้างโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ได้แก่
ทางหลวงแผ่นดิน ประปา และเน้นการลงทุนภาคเอกชนเป็นหลัก
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514) มีสาระสาคัญ ดังนี้
เพิ่มการพัฒนาภาครัฐ พัฒนาพื้นที่ทุรกันดาร เช่น โครงการเร่งรัดพัฒนาชนบท
3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) มีสาระสาคัญ ดังนี้
เน้นการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการส่งออก รักษาระดับราคาสินค้าเกษตร
4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) มีสาระสาคัญ ดังนี้
เน้นการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศมุ่งขยายการผลิตสาขาเกษตร
5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) มีสาระสาคัญ ดังนี้
เป็นการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การเงิน เร่งระดมเงินออม ปรับปรุงโครงสร้าง
ทางเศรษฐกิจ เช่น ปรับโครงสร้างการผลิตทางด้านอุตสาหกรรม
6. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) มีสาระสาคัญ ดังนี้
เน้นการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการรักษาเสถียรภาพทางการเงิน การคลัง
7. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) มีสาระสาคัญ ดังนี้
เน้นการรักษาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้สู่ภูมิภาค การพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์บนพื้นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนพัฒนาฯ 1 - 11 แผนพัฒนาฯฉบับที่12
8. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) มีสาระสาคัญ ดังนี้
เน้นความมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยเน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและใช้เศรษฐกิจเป็น
เครื่องช่วยพัฒนาความสุขและคุณภาพชีวิตของคน เร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจจากวิกฤตเศรษฐกิจ เช่น แก้ปัญหา
การว่างงาน
9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) มีสาระสาคัญ ดังนี้
มีการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนาประเทศควบคู่ไปกับการพัฒนา
ที่เน้นคนเป็นศูนย์กลาง ยึดทางสายกลางเพื่อให้ประเทศพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจ นาไปสู่การพัฒนาที่สมดุลและ
ยั่งยืน
10. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) มีสาระสาคัญดังนี้
ประเทศยังคงเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ได้มีการเตรียมความพร้อมของคน
สู่การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก โดยนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเน้นคนเป็นศูนย์กลางมาเป็น
แนวทางการพัฒนาประเทศ
11. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) มีสาระสาคัญ ดังนี้
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11เน้นการพัฒนาให้เกิด “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขด้วยความเสมอ
ภาคเป็นธรรมและมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
12. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) มีสาระสาคัญดังนี้
มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง
มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน
การพัฒนาประเทศ
แหล่งที่มา :
สานักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2546). เศรษฐศาสตร์น่ารู้. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.fpo.go.th/S-I/Source/ECO/ECO1.htm.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). สรุปสาระสาคัญของแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 - 11. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.nesdb.go.th/download.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). สรุปสาระสาคัญของแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.nesdb.go.th/download/plan12.

More Related Content

What's hot

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 

What's hot (20)

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 

Similar to เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development planechanok
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Seminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกSeminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกVilaiwun Bunya
 
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11Ong-art Chanprasithchai
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปีอนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปีKlangpanya
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02sapay
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsapay
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี Klangpanya
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-landps-most
 

Similar to เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
Seminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกSeminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลก
 
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปีอนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
 

More from Pannatut Pakphichai

หมวกสีเขียว
หมวกสีเขียวหมวกสีเขียว
หมวกสีเขียวPannatut Pakphichai
 
หมวกสีเหลือง
หมวกสีเหลืองหมวกสีเหลือง
หมวกสีเหลืองPannatut Pakphichai
 
ใช้ประกอบนิเทศ
ใช้ประกอบนิเทศใช้ประกอบนิเทศ
ใช้ประกอบนิเทศPannatut Pakphichai
 
การแลกเปลี่ยนเงินตรารระหว่างประเทศ
การแลกเปลี่ยนเงินตรารระหว่างประเทศการแลกเปลี่ยนเงินตรารระหว่างประเทศ
การแลกเปลี่ยนเงินตรารระหว่างประเทศPannatut Pakphichai
 
คำใบ้ที่ 2 อุอิ
คำใบ้ที่ 2 อุอิคำใบ้ที่ 2 อุอิ
คำใบ้ที่ 2 อุอิPannatut Pakphichai
 
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯPannatut Pakphichai
 
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยPannatut Pakphichai
 

More from Pannatut Pakphichai (12)

หมวกสีฟ้า
หมวกสีฟ้าหมวกสีฟ้า
หมวกสีฟ้า
 
หมวกสีเขียว
หมวกสีเขียวหมวกสีเขียว
หมวกสีเขียว
 
หมวกสีดำ
หมวกสีดำหมวกสีดำ
หมวกสีดำ
 
หมวกสีเหลือง
หมวกสีเหลืองหมวกสีเหลือง
หมวกสีเหลือง
 
หมวกสีแดง
หมวกสีแดงหมวกสีแดง
หมวกสีแดง
 
หมวกสีขาว
หมวกสีขาวหมวกสีขาว
หมวกสีขาว
 
ใช้ประกอบนิเทศ
ใช้ประกอบนิเทศใช้ประกอบนิเทศ
ใช้ประกอบนิเทศ
 
การแลกเปลี่ยนเงินตรารระหว่างประเทศ
การแลกเปลี่ยนเงินตรารระหว่างประเทศการแลกเปลี่ยนเงินตรารระหว่างประเทศ
การแลกเปลี่ยนเงินตรารระหว่างประเทศ
 
คำใบ้ที่ 2 อุอิ
คำใบ้ที่ 2 อุอิคำใบ้ที่ 2 อุอิ
คำใบ้ที่ 2 อุอิ
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
 
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
 

เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

  • 1. เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจเป็นการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้เกิดการเจริญเติบโต อย่างเหมาะสมและมีเสถียรภาพ ส่งผลให้รายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคลเพิ่มสูงขึ้น และท้ายที่สุดทาให้คุณภาพ ชีวิตของประชาชนดีขึ้น ดังนั้นเครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจของไทยจึงสามารถวัดได้จาก 1. การพัฒนาเศรษฐกิจจาก ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจควบคู่ไปกับ 2. ความอยู่ดีกินดีของประชาชน ดังนี้ 1. ดัชนีวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแสดงถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เช่น ผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ รายได้ประชาชาติ เป็นต้น 2. ดัชนีวัดความอยู่ดีกินดีของประชาชนแสดงถึงระดับความเป็นอยู่ของประชาชน เช่น อัตรา การอ่านออกเขียนได้ อายุเฉลี่ยของประชากร อัตราการตายของทารก อัตราส่วนของแพทย์ต่อจานวน ประชากร เป็นต้น ทั้งนี้ดัชนีชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นดัชนีที่จะสะท้อนภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศ ดังนี้ 1. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) เป็นตัวชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่นิยมใช้มากที่สุด เพราะแสดงถึงความสามารถในการผลิต และการบริโภคของประเทศ โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ เป็นมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ซึ่งผลิตขึ้นโดยใช้ทรัพยากรภายในประเทศในรอบระยะเวลา 1 ปี GDP : มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ที่ผลิตขึ้นโดยคนไทยและชาวต่างชาติ โดยใช้ทรัพยากรของประเทศไทย GDP = GNP + (รายจ่ายปัจจัยการผลิตไปต่างประเทศ – รายได้จากปัจจัยการผลิตต่างประเทศ) 2. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP) แสดงถึง ความสามารถในการผลิต การบริโภคของคนไทยทั้งประเทศ โดยผลิตภัณฑ์มวลรวม ประชาชาติเป็นมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ซึ่งผลิตขึ้นโดยคนไทยในประเทศและคนไทยใน ต่างประเทศ GNP = GDP + (รายได้จากปัจจัยการผลิตต่างประเทศ – รายจ่ายปัจจัยการผลิตไปต่างประเทศ) 3. รายได้ประชาชาติ (National Income : NI) คือ มูลค่าของรายได้ที่ประชาชน คนไทยในประเทศ และคนไทยที่ไปทางานในต่างประเทศได้รับในช่วงระยะเวลา 1 ปี ทั้งนี้รายได้ประชาชาติคานวณจากผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติหักด้วยภาษีทางอ้อมและค่าเสื่อมราคา NI = GNP – ค่าเสื่อมราคา – ค่าภาษีทางอ้อม – ค่าระวาง (ขนส่ง) ใบความรู้ที่ 11.1 เรื่อง เครื่องชี้วัดเศรษฐกิจของ ไทย ก
  • 2. 4. รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล (Per Capita Income) คานวณได้จากรายได้ประชาชาติหารด้วย จานวนประชากร ซึ่งใช้เป็นดัชนีสาหรับเปรียบเทียบระดับความอยู่ดีกินดีของประชาชนของประเทศต่าง ๆ การวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นส่วนหนึ่งของการวัดการพัฒนาเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีแนวคิดการวัดความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness : GNH) ขึ้น เนื่องจากการพัฒนาที่ผ่านมามุ่งเน้นแต่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว จนละเลย ความสุขซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ยังไม่มีดัชนีวัดความสุขมวลรวม ประชาชาติที่แน่นอนหรือชัดเจนในขณะนี้ แต่ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการให้ความสาคัญกับความสุขของ ประชาชนมากกว่าการมุ่งเน้นแต่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประเทศที่เป็นผู้นาเสนอแนวคิดการวัดความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness : GNH) ขึ้น คือ ประเทศภูฏาน โดยมีหลักการสาคัญ 4 ประการ คือ 1. การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน 3. การรักษาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 2. การอนุรักษ์และส่งเสริมคุณค่าทางวัฒนธรม 4. การมีธรรมาภิบาล GNP กับ GDP แตกต่างกันอย่างไร GNP ย่อมาจากคาว่า Gross National Product หมายถึง ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ จะนับ มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายเฉพาะที่ใช้ทรัพยากรของคนในประเทศนั้น ๆ ในการผลิต โดยไม่สนใจว่า คนของประเทศนั้น ๆ จะอยู่ที่ใดในโลก หรือก็คือรายได้ของคนในประเทศที่ไปทารายได้ทั้งในและต่างประเทศ แต่ถ้า GDP ย่อมาจาก Gross Domestic Product หมายถึง ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ มูลค่า ของสินค้าและบริการเฉพาะที่เกิดอยู่ในประเทศ ไม่ต้องคิดว่าชาติใดเป็นผู้ผลิต หรือก็คือรายได้ทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในประเทศทั้งจากคนในประเทศและชาวต่างชาติ ประเทศไทยประกอบด้วย 76 จังหวัด จะมีกิจกรรมการผลิตมากมาย ที่เป็นกิจการของ ชาวไทย ที่เป็นของต่างชาติก็มีจานวนมากในระดับหนึ่ง มูลค่าผลผลิตจากทั้งกิจการของไทยและกิจการ ต่างชาติ ทั้งหมดที่ทาอยู่ในราชอาณาจักรไทย รวมกันในแต่ละปีก็คือ GDP ของไทย แต่ถ้าจะนับ GNP ของไทย ก็ต้องนับเฉพาะมูลค่าการผลิตของกิจการไทย โดยนับทั้งโลก คือ นับทั้ง ในประเทศไทย (เฉพาะมูลค่าผลผลิตของกิจการไทย) และนอกประเทศไทย (เช่น รายได้จากการขายบริการ (แรงงาน) ในต่างแดน เป็นต้น)
  • 3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 1. ความหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คือ การกาหนดแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ เพื่อให้ประชาชนมีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนทุกขั้นตอน อย่างเป็นระบบ 2. ความเป็นมาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประเทศไทยได้มีการริเริ่มจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจของชาติมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 ในสมัยรัฐบาล จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ โดยในปี พ.ศ. 2504 ได้ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับแรกขึ้น หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทาแผน คือ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ โดยปัจจุบันประเทศไทยกาลังอยู่ในช่วงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) มีสาระสาคัญ ดังนี้ เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นสาคัญ โดยเฉพาะลงทุนสร้างโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดิน ประปา และเน้นการลงทุนภาคเอกชนเป็นหลัก 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514) มีสาระสาคัญ ดังนี้ เพิ่มการพัฒนาภาครัฐ พัฒนาพื้นที่ทุรกันดาร เช่น โครงการเร่งรัดพัฒนาชนบท 3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) มีสาระสาคัญ ดังนี้ เน้นการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการส่งออก รักษาระดับราคาสินค้าเกษตร 4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) มีสาระสาคัญ ดังนี้ เน้นการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศมุ่งขยายการผลิตสาขาเกษตร 5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) มีสาระสาคัญ ดังนี้ เป็นการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การเงิน เร่งระดมเงินออม ปรับปรุงโครงสร้าง ทางเศรษฐกิจ เช่น ปรับโครงสร้างการผลิตทางด้านอุตสาหกรรม 6. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) มีสาระสาคัญ ดังนี้ เน้นการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการรักษาเสถียรภาพทางการเงิน การคลัง 7. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) มีสาระสาคัญ ดังนี้ เน้นการรักษาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้สู่ภูมิภาค การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์บนพื้นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน แผนพัฒนาฯ 1 - 11 แผนพัฒนาฯฉบับที่12
  • 4. 8. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) มีสาระสาคัญ ดังนี้ เน้นความมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยเน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและใช้เศรษฐกิจเป็น เครื่องช่วยพัฒนาความสุขและคุณภาพชีวิตของคน เร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจจากวิกฤตเศรษฐกิจ เช่น แก้ปัญหา การว่างงาน 9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) มีสาระสาคัญ ดังนี้ มีการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนาประเทศควบคู่ไปกับการพัฒนา ที่เน้นคนเป็นศูนย์กลาง ยึดทางสายกลางเพื่อให้ประเทศพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจ นาไปสู่การพัฒนาที่สมดุลและ ยั่งยืน 10. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) มีสาระสาคัญดังนี้ ประเทศยังคงเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ได้มีการเตรียมความพร้อมของคน สู่การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก โดยนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเน้นคนเป็นศูนย์กลางมาเป็น แนวทางการพัฒนาประเทศ 11. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) มีสาระสาคัญ ดังนี้ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11เน้นการพัฒนาให้เกิด “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขด้วยความเสมอ ภาคเป็นธรรมและมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง” 12. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) มีสาระสาคัญดังนี้ มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ แหล่งที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2546). เศรษฐศาสตร์น่ารู้. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.fpo.go.th/S-I/Source/ECO/ECO1.htm. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). สรุปสาระสาคัญของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 - 11. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.nesdb.go.th/download. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). สรุปสาระสาคัญของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.nesdb.go.th/download/plan12.