SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
1
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปี การศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน อัมพฤกษ์อัมพาตไม่น่าตลก
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว .ปานชีวา ทองแก้ว เลขที่ 6 ชั้น ม.6/11
นางสาว ธนัชชา จาปัญญะ เลขที่ 14 ชั้น ม.6/11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว .ปานชีวา ทองแก้ว เลขที่ 6 ชั้น ม.6/11
นางสาว ธนัชชา จาปัญญะ เลขที่ 14 ชั้น ม.6/11
2
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อัมพฤกษ์อัมพาตไม่น่าตลก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Paralysis paralysis
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ปานชีวา ทองแก้ว และ นางสาว ธนัชชา จาปัญญะ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบันโรคนีเป็นโรคที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกวัยแล้ว
สาเหตุนี้เกิดจากอุบัติเหตุก็เป็นได้ในวัยเด็กนพ.ยรรยง
ทองเจริญในฐานะผู้อานวยการศูนย์สมองและระบบประสาท โรงพยาบาลปิยะเวท
กรุงเทพฯให้ข้อมูลถึงปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค ว่า ปัจจัยแรก คือ
เรื่องของอายุเพราะโรคนี้พบมากในผู้สูงอายุปัจจัยที่สอง คือ เรื่องของโรคประจาตัว
เช่น โรคเบาหวาน เพราะตอนนี้ร้อยละ 10
ของคนไทยส่วนใหญ่จะเป็นโรคเบาหวานตามติดมาด้วยภาวะความดันโลหิตสูงซึ่งมี
สาเหตุมาจากการชอบรับประทานอาหารที่มีรสเค็มอาหารที่มีระดับไขมันสูง
ขณะที่การสูบบุหรี่ก็เป็นปัจจัยเสี่ยงที่น่าห่วงมากอย่างไรก็ตามทั้งหมดนี้ล้วนแล้วแต่เ
ป็นปัจจัยที่สามารถแก้ไขและควบคุมได้ด้วยตัวของเราเอง และที่น่าตกใจ คือ
โรคนี้มีอัตราการตายเป็นอันดับ 3 รองจากโรคมะเร็ง และโรคหัวใจ
อีกทั้งยังเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่ทาให้ผู้ป่วยทุพพลภาพช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
เป็นอุปสรรคในการใช้ชีวิตประจาวัน
ดังนั้นโครงงานของเราจึงอยากจะเราเสนอและให้ข้อมูลเบื่อต้นกับโรคนี้
วิธีรักษาและการป้องกันเพื่อประโยชน์สืบไป
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
2.เพื่อให้มีการดูแลร่างกายและไม่ประมาทมากขึ้น
3.เพื่อความรู้ใหม่เกี่ยวกับการแพทย์ไทยในปัจจุบัน
ขอบเขตโครงงาน
1.รู้จักกับโรค
2.รู้จักวิธีรักษา
3.การรักษา
4.การป้องกัน
หลักการและทฤษฎี
โรคอัมพาต หรือบางท่านเรียกว่า อาการอัมพาต ในความหมายทั่วไปคือ
แขนและ/หรือ ขาขยับเขยื้อนไม่ได้ไม่มีแรง ใช้งานไม่ได้
3
ส่วนโรคอัมพฤกษ์หรืออาการอัมพฤกษ์ หมายถึงแขนและ/หรือขาอ่อนแรงกว่าเดิม
ยังพอใช้งานได้แต่ใช้ได้น้อยกว่าปกติเช่น อาจชา หยิบจับของหนัก
หรือหยิบจับดินสอเพื่อเขียนหนังสือตามปกติไม่ได้
ดังนั้นอัมพฤกษ์จึงมีความรุนแรงน้อยกว่าอัมพาต
โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์ที่จริงแล้วเป็ นอาการของโรคหลอดเลือดสมองที่ส่งผลให้ส
มองขาดเลือด จึงเกิดอาการแขนขาใช้งานไม่ได้หรืออ่อนแรง
ซึ่งทั้งอัมพาตและอัมพฤกษ์มีสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงและการดูแลรักษาเหมือนกัน
ต่างกันเพียงความรุนแรงของโรคดังกล่าวแล้ว ในบทนี้
จึงจะกล่าวถึงโรคหรืออาการทั้งสองไปพร้อมๆกัน
โดยขอเรียกว่าโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์
โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์ (Stroke) ทางแพทย์เรียกว่า โรคซีวีเอ (CVA,
cerebrovascu lar accident) หรือศัพท์บัญญัติจากราชบัณฑิตยสถานคือ
โรคลมปัจจุบันหรือโรคลมเหตุหลอดเลือดสมอง
และนิยามโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์ทางการแพทย์คือ
อาการผิดปกติที่เกิดจากสมองขาดเลือดเกิดขึ้นนานเกิน 24 ชั่วโมง
แต่เมื่ออาการที่ผิดปกติสามารถหายกลับเป็ นปกติได้ภายใน 24 ชั่วโมงเรียกว่า
เป็ นอาการอัมพาต หรืออัมพฤกษ์ชั่วคราว หรือคือโรค/อาการทีไอเอ(TIA,
transient ischemic attack: สมองขาดเลือดชั่วคราว)
นอกจากใช้คาว่า Stroke แล้ว
เพื่อให้สอดคล้องกับโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
(โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย) ซึ่งเป็ นโรคเกิดจากการขาดเลือดเช่นกัน
บางท่านจึงเรียกโรค/อาการนี้ว่า โรค/อาการ Brain attack หรือ โรค/อาการ
Acute ischemic cerebrovascular syndrome
โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์เป็นโรคพบบ่อยโรคหนึ่งในประเทศที่เจริญแล้ว
(แต่ปัจจุบันอัตรา เกิดโรคเริ่มทยอยลดลงเนื่องจากประชากรได้ตระหนัก
จึงมีการปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตเพื่อป้ อง กันการเกิดโรคนี้)
ส่วนในประเทศที่กาลังพัฒนาพบโรคนี้สูงขึ้นถึง 10% ในช่วง พ.ศ. 2533 - 2553
(ค.ศ. 1990 - 2010) ทั้งนี้ในปี ค.ศ. 2010 (พ.ศ.2553)
มีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคนี้ทั่วโลกประมาณ 17 ล้านคน และองค์การอนามัยโลกในปี
ค.ศ. 2012 (พ.ศ. 2555) รายงานมีผู้ป่วยทั่วโลกเสียชีวิตด้วยโรคนี้ประมาณ 6.7
ล้านคน โดยเป็ นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับ 2 รองจากโรค หัวใจ
ส่วนในประเทศไทยสถิติปีพ.ศ. 2553
โรคหลอดเลือดสมองเป็ นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอัน ดับ 3 (10%)
รองจากโรคมะเร็ง (19%) และโรคหัวใจ (12%) ตามลาดับ
โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์พบได้บ่อยในอายุตั้งแต่ 45 ปี ขึ้นไป (95%
ของผู้ป่วยทั้งหมด) โดยผู้ป่วย 2 ใน 3 มีอายุมากกว่า 65 ปี
ทั้งนี้พบในผู้ชายบ่อยกว่าในผู้หญิงประมาณ 1.5 เท่า
4
โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์มีสาเหตุเกิดจากสมองขาดเลือดทันทีภายในระยะเวลาเป็น
นาที หรือชั่วโมง ไม่ใช่ค่อยๆเป็ นค่อยๆไป ซึ่งเกิดได้จาก 2 สาเหตุสาคัญคือ
หลอดเลือดแดงสมองอุดตันซึ่งเป็ นสาเหตุพบบ่อยกว่า
และหลอดเลือดแดงสมองแตก (อ่านเพิ่มเติมในบทความเรื่อง
โรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดและชนิดเลือดออก)
หลอดเลือดแดงสมองอุดตันเช่น
จากหลอดเลือดแดงสมองตีบตันจากโรคหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis)
ซึ่งมีสาเหตุจากโรคไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน และการสูบบุ หรี่
หรือมีภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดแดงสมอง หรือภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดดาขา
หรือ ลิ่มเลือดจากโรคหัวใจเต้นรัว เอเอฟ (AF, atrial fibrillation)
หลุดลอยเข้ากระแสโลหิตและอุดตันหลอดเลือดสมอง
หลอดเลือดแดงสมองแตกที่พบได้บ่อยคือ
ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและในโรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง (Aneurysm)
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดอัมพาตอัมพฤกษ์มีอะไรบ้าง?
จากการศึกษาของโครงการศึกษาระบาดวิทยาโรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทย
พบว่า
ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองหรืออัมพาตอัมพฤกษ์ของคนไทยกลุ่มศึกษาได้แ
ก่
อายุ ตั้งแต่ 65 ปี ขึ้นไป
เพศ ผู้ชายมีโอกาสเกิดโรคสูงกว่าผู้หญิง
อาชีพ คนว่างงานหรือทางานบ้านโอกาสเกิดสูงกว่า
ถิ่นที่พักอาศัย คนกรุงเทพฯเกิดโรคสูงกว่าคนภาคอื่นๆ
โรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
โรคไขมันในเลือดสูง
อนึ่ง ในประเทศที่พัฒนาแล้วปัจจัยเสี่ยงนอกจากโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน
และไขมันในเลือดสูงเช่นเดียวกับในคนไทยแล้ว ยังได้แก่ การสูบบุหรี่
โรคหลอดเลือดหัวใจ โรค หัวใจเต้นรัว เอเอฟ โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง เคยมีอาการอัม พาต อัมพฤกษ์ชั่วคราว
(สมองขาดเลือดชั่วคราว) มาแล้ว และอาจจากพันธุกรรม
เพราะพบโรคได้สูงขึ้นในคนมีประวัติครอบครัวเป็ นโรคนี้
อาการจากโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์เป็นอาการที่เกิดทันที เป็ นนาทีหรือชั่วโมง
โดยอา การขึ้นกับตาแหน่งสมองส่วนที่ขาดเลือด ซึ่งที่พบบ่อยได้แก่
แขน ขา ด้านเดียวกันอ่อนแรงทันที
แขน ขาด้านเดียวกัน ใบหน้า ชา
สับสน พูดไม่ชัด หรือพูดไม่ได้
อาจมีตาพร่า มองเห็นภาพไม่ชัด หรือเห็นภาพเพียงบางส่วน
หรือเห็นภาพได้แคบลง
5
อาจหายใจเหนื่อยหอบ ติดขัด/หายใจลาบาก
มึนงง วิงเวียน ทรงตัวไม่ได้
ปวดศีรษะรุนแรงทันที
ถ้าเกิดจากมีเลือดออกในสมอง
ความดันในสมองมักขึ้นสูงส่งผลให้เกิดคลื่นไส้อาเจียน
เมื่อมีอาการมาก อาจหมดสติ โคม่า และเสียชีวิต (ตาย) ในที่สุด
อนึ่ง อาการสาคัญที่สุดที่ช่วยการวินิจฉัยโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์ประกอบด้วย 4
อาการหลักที่เรียกว่า ฟาต (FAST) คือ
Facial weakness (ใบหน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว)
Arm weakness (แขนอ่อนแรง ไม่มีแรง)
Speech difficult (พูดไม่ชัด พูดไม่ได้) และ
Time to act (ทุกอาการเกิดพร้อมกันทันที)
ซึ่งเมื่อมีอาการดังกล่าวให้รีบไปโรงพยาบาลทันที่
โทรศัพท์เรียกรถพยาบาลฉุกเฉินเบอร์เดียวทั่วประเทศไทยคือ “โทรฯ 1669”
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติกระทรวงสาธารณสุข (สพฉ.) ฟรีตลอด 24
ชั่วโมง
แพทย์วินิจฉัยโรคอัมพาตอัมพฤกษ์ได้จาก ประวัติอาการ
การตรวจวัดความดันโลหิต จับชีพจร การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทางระบบประสาท
และวินิจฉัยสาเหตุได้จากประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ ประวัติสูบบุหรี่
การตรวจดูค่าน้าตาลและไขมันในเลือด
และการตรวจภาพสมองด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือคลื่นแม่เหล็กเอมอาร์ไอ
และอาจมีการตรวจอื่นๆเพิ่มเติม ทั้งนี้ขึ้นกับดุลพินิจของแพทย์
แนวทางการรักษาโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์คือ การรักษาสาเหตุเช่น
ผ่าตัดสมองเมื่อเกิดจากหลอดเลือดสมองแตก
ใส่สารอุดตันเข้าหลอดเลือดเมื่อเกิดจากโรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง
ให้ยาละลายลิ่มเลือดเมื่อเกิดจากลิ่มเลือดอุดตัน นอกจากนั้นคือ
ให้การรักษาเพื่อป้องกันการเกิดโรคซ้าเช่น
ให้ยาลดการแข็งตัวของเลือดเพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือด (เช่น
แอสไพริน) ให้การรักษาควบคุมโรคต่างๆที่เป็นสาเหตุเช่น
รักษาควบคุมโรคความดันโล หิตสูง โรคเบาหวาน และโรคไขมันในเลือดสูง
และการทากายภาพบาบัดฟื้นฟูกล้ามเนื้อแขน/ขาและ/หรือการฝึกพูด
ผลข้างเคียง (ผลแทรกซ้อน) จากโรคอัมพาตและโรคอัมพฤกษ์คือ
คุณภาพชีวิตลดลง ความพิการ ความจา ความคิด สติปัญญาด้อยลง
6
ปัญหาในการทางาน รายได้และค่ารักษา พยาบาล
ซึ่งทั้งหมดส่งผลต่อทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็ นอย่างยิ่ง
โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์เป็นโรครุนแรง ส่งผลให้เสียชีวิตได้
และเมื่อรอดชีวิตมักเกิดความพิการ ซึ่งส่งผลให้เคลื่อนไหวได้น้อย
ช่วยตัวเองได้น้อย จึงเพิ่มโอกาสเกิดการติดเชื้อรุน แรงได้สูงเช่น
ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินปัสสาวะ ดังนั้น
โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์จึงเป็ นโรคที่ส่งผลให้เกิดปัญหาทั้งทางสาธารณสุข สังคม
และครอบครัว
การพบแพทย์คือ
เมื่อมีอาการดังกล่าวควรต้องรีบไปโรงพยาบาลเป็ นการฉุกเฉินเสมอ
เพราะเมื่อได้รับการรักษาได้ทัน อาจรอดชีวิตและอาจรอดจากความพิการได้
ปฏิบัติตามแพทย์/พยาบาลแนะนา
พยายามเคลื่อนไหวร่างกายเท่าที่ทาได้เสมอ
ทากายภาพบาบัดตามคาแนะนาของแพทย์/พยาบาล/นักกายภาพบาบัดสม่าเสมอ
อย่าหมดกาลังใจ เพราะอาการต่างๆจะค่อยๆดีขึ้นช้าๆ แต่โอกาสเป็นปกติมีได้น้อย
กินยาต่างๆให้ครบถ้วน ถูกต้อง ไม่ขาดยา เพื่อป้องกันโรคเกิดเป็นซ้า
รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน (สุขบัญญัติแห่งชาติ) เพื่อลดโอกาสติดเชื้อ
และเพื่อการมีสุข ภาพจิตที่ดี
เข้าใจในธรรมชาติของโรค ยอมรับความจริง ปรับตัวให้เข้ากับสภาพ
เพื่อลดปัญหาต่อตน เองและต่อครอบครัว หาเครื่องมือ
เครื่องใช้ต่างๆเพื่อการช่วยเหลือตนเอง
จัดบ้าน ห้องพัก และห้องน้าเพื่อช่วยตัวเองให้ได้มากที่สุด เพื่อลดภาระครอบครัว
ควบคุมโรคต่างๆที่เป็ นสาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
พบแพทย์ตามนัดเสมอและรีบพบก่อนนัดเมื่ออาการต่างๆเลวลง หรือผิดไปจากเดิม
หรือ เมื่อกังวลในอาการ
รีบพบแพทย์เมื่อมีไข้สูงเพราะเป็ นอาการจากการติดเชื้อ
ซึ่งควรต้องรีบรักษาเพราะดัง กล่าวแล้วว่า มักเป็นการติดเชื้อรุนแรง
การป้ องกันโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์คือ
การป้ องกัน/หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวแล้ว ที่สาคัญคือ
ป้ องกันโรคหลอดเลือดแดงแข็งด้วยการไม่สูบบุหรี่ เลิกบุหรี่ และจากัดอาหารไขมัน
ป้ องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง และโรคเบาหวาน
โดยกินอาหารมีประโยชน์ห้าหมู่ทุกวัน ในปริมาณพอควรที่ไม่ทาให้เกิดโรคอ้วน
จากัดอาหารไขมันและอาหารแป้ ง น้าตาล อาหารเค็ม/เกลือ เพิ่มผักและผลไม้
(ไม่หวานจัด)
ออกกาลังกายสม่าเสมอตามควรกับสุขภาพทุกวัน ในคนปกติประมาณ 30
นาทีต่อวัน
ตรวจสุขภาพประจาปี เพื่อตรวจความดันโลหิต โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือด
และโรค หัวใจ เพื่อให้การรักษาควบคุมโรคแต่เนิ่นๆ
กินยาเพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือดตามแพทย์แนะนา
7
แหล่งอ้างอิง
1. CDC in Thailand
http://www.cdc.gov/globalhealth/countries/thailand/ [2015,Mach28]
2. Poungvarin, N. et al. (2011). Prevalence of stroke and stroke risk
factors in Thailands: Thai Epidemiologic Stroke (TES) Study. J Med
Assoc Thai.94, 427-436.
3. Braunwald, E., Fauci, A., Kasper, L., Hauser, S., Longo, D., and
Jameson, J. (2001). Harrison’s principles of internal medicine (15th
ed.). New York: McGraw-Hill.
4. Lambert, M. (2011).AHA/ASA guidelines on prevention of
recurrent stroke. Am Fam Physician. 83, 993-1001.
5. Stroke . http://en.wikipedia.org/wiki/Stroke[2015,March28].
6. The top 10 cause of dead
http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs310/en/[2015,March28
]
Updated 2015, March 28
วิกิโรควิกิยาสุขภาพเด็กสุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพผู้หญิงและความงามเกร็ดสุขภาพสุข
ภาพทั่วไปเพศศึกษาBLOG

More Related Content

Similar to กิจกรรมที่ 5

2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithipNewTF
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
โครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรโครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรsrp Lee
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานKpSwagger
 
2562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-1909231634522562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-190923163452ssuserc41687
 
บอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 projectบอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 projectchayanit kaewjankamol
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขCanned Pumpui
 

Similar to กิจกรรมที่ 5 (20)

2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithip
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรโครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอร
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
Kk
KkKk
Kk
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
Asdfghj
AsdfghjAsdfghj
Asdfghj
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
2562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-1909231634522562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-190923163452
 
บอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 projectบอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 project
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 

More from ธัญญลักษณ์ นาคคำ

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 

More from ธัญญลักษณ์ นาคคำ (20)

ชินกันเซน
ชินกันเซนชินกันเซน
ชินกันเซน
 
2560 project -2 (1)
2560 project -2 (1)2560 project -2 (1)
2560 project -2 (1)
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
เสร็จค่ะคอม (1)
เสร็จค่ะคอม (1)เสร็จค่ะคอม (1)
เสร็จค่ะคอม (1)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เสร็จค่ะคอม
เสร็จค่ะคอมเสร็จค่ะคอม
เสร็จค่ะคอม
 
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
 
โครงงานคอม กิจกรรม234
โครงงานคอม กิจกรรม234โครงงานคอม กิจกรรม234
โครงงานคอม กิจกรรม234
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โปรเจคคอมโอเว่น
โปรเจคคอมโอเว่นโปรเจคคอมโอเว่น
โปรเจคคอมโอเว่น
 
โครงงานโบ๊ต
โครงงานโบ๊ตโครงงานโบ๊ต
โครงงานโบ๊ต
 
โครงงานคอมวอลเลย์บอล
โครงงานคอมวอลเลย์บอลโครงงานคอมวอลเลย์บอล
โครงงานคอมวอลเลย์บอล
 
งานอันวา
งานอันวางานอันวา
งานอันวา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
my profile
my profilemy profile
my profile
 

กิจกรรมที่ 5

  • 1. 1 รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปี การศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน อัมพฤกษ์อัมพาตไม่น่าตลก ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว .ปานชีวา ทองแก้ว เลขที่ 6 ชั้น ม.6/11 นางสาว ธนัชชา จาปัญญะ เลขที่ 14 ชั้น ม.6/11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว .ปานชีวา ทองแก้ว เลขที่ 6 ชั้น ม.6/11 นางสาว ธนัชชา จาปัญญะ เลขที่ 14 ชั้น ม.6/11
  • 2. 2 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อัมพฤกษ์อัมพาตไม่น่าตลก ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Paralysis paralysis ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ปานชีวา ทองแก้ว และ นางสาว ธนัชชา จาปัญญะ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันโรคนีเป็นโรคที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกวัยแล้ว สาเหตุนี้เกิดจากอุบัติเหตุก็เป็นได้ในวัยเด็กนพ.ยรรยง ทองเจริญในฐานะผู้อานวยการศูนย์สมองและระบบประสาท โรงพยาบาลปิยะเวท กรุงเทพฯให้ข้อมูลถึงปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค ว่า ปัจจัยแรก คือ เรื่องของอายุเพราะโรคนี้พบมากในผู้สูงอายุปัจจัยที่สอง คือ เรื่องของโรคประจาตัว เช่น โรคเบาหวาน เพราะตอนนี้ร้อยละ 10 ของคนไทยส่วนใหญ่จะเป็นโรคเบาหวานตามติดมาด้วยภาวะความดันโลหิตสูงซึ่งมี สาเหตุมาจากการชอบรับประทานอาหารที่มีรสเค็มอาหารที่มีระดับไขมันสูง ขณะที่การสูบบุหรี่ก็เป็นปัจจัยเสี่ยงที่น่าห่วงมากอย่างไรก็ตามทั้งหมดนี้ล้วนแล้วแต่เ ป็นปัจจัยที่สามารถแก้ไขและควบคุมได้ด้วยตัวของเราเอง และที่น่าตกใจ คือ โรคนี้มีอัตราการตายเป็นอันดับ 3 รองจากโรคมะเร็ง และโรคหัวใจ อีกทั้งยังเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่ทาให้ผู้ป่วยทุพพลภาพช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ เป็นอุปสรรคในการใช้ชีวิตประจาวัน ดังนั้นโครงงานของเราจึงอยากจะเราเสนอและให้ข้อมูลเบื่อต้นกับโรคนี้ วิธีรักษาและการป้องกันเพื่อประโยชน์สืบไป วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรค 2.เพื่อให้มีการดูแลร่างกายและไม่ประมาทมากขึ้น 3.เพื่อความรู้ใหม่เกี่ยวกับการแพทย์ไทยในปัจจุบัน ขอบเขตโครงงาน 1.รู้จักกับโรค 2.รู้จักวิธีรักษา 3.การรักษา 4.การป้องกัน หลักการและทฤษฎี โรคอัมพาต หรือบางท่านเรียกว่า อาการอัมพาต ในความหมายทั่วไปคือ แขนและ/หรือ ขาขยับเขยื้อนไม่ได้ไม่มีแรง ใช้งานไม่ได้
  • 3. 3 ส่วนโรคอัมพฤกษ์หรืออาการอัมพฤกษ์ หมายถึงแขนและ/หรือขาอ่อนแรงกว่าเดิม ยังพอใช้งานได้แต่ใช้ได้น้อยกว่าปกติเช่น อาจชา หยิบจับของหนัก หรือหยิบจับดินสอเพื่อเขียนหนังสือตามปกติไม่ได้ ดังนั้นอัมพฤกษ์จึงมีความรุนแรงน้อยกว่าอัมพาต โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์ที่จริงแล้วเป็ นอาการของโรคหลอดเลือดสมองที่ส่งผลให้ส มองขาดเลือด จึงเกิดอาการแขนขาใช้งานไม่ได้หรืออ่อนแรง ซึ่งทั้งอัมพาตและอัมพฤกษ์มีสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงและการดูแลรักษาเหมือนกัน ต่างกันเพียงความรุนแรงของโรคดังกล่าวแล้ว ในบทนี้ จึงจะกล่าวถึงโรคหรืออาการทั้งสองไปพร้อมๆกัน โดยขอเรียกว่าโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์ โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์ (Stroke) ทางแพทย์เรียกว่า โรคซีวีเอ (CVA, cerebrovascu lar accident) หรือศัพท์บัญญัติจากราชบัณฑิตยสถานคือ โรคลมปัจจุบันหรือโรคลมเหตุหลอดเลือดสมอง และนิยามโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์ทางการแพทย์คือ อาการผิดปกติที่เกิดจากสมองขาดเลือดเกิดขึ้นนานเกิน 24 ชั่วโมง แต่เมื่ออาการที่ผิดปกติสามารถหายกลับเป็ นปกติได้ภายใน 24 ชั่วโมงเรียกว่า เป็ นอาการอัมพาต หรืออัมพฤกษ์ชั่วคราว หรือคือโรค/อาการทีไอเอ(TIA, transient ischemic attack: สมองขาดเลือดชั่วคราว) นอกจากใช้คาว่า Stroke แล้ว เพื่อให้สอดคล้องกับโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย) ซึ่งเป็ นโรคเกิดจากการขาดเลือดเช่นกัน บางท่านจึงเรียกโรค/อาการนี้ว่า โรค/อาการ Brain attack หรือ โรค/อาการ Acute ischemic cerebrovascular syndrome โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์เป็นโรคพบบ่อยโรคหนึ่งในประเทศที่เจริญแล้ว (แต่ปัจจุบันอัตรา เกิดโรคเริ่มทยอยลดลงเนื่องจากประชากรได้ตระหนัก จึงมีการปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตเพื่อป้ อง กันการเกิดโรคนี้) ส่วนในประเทศที่กาลังพัฒนาพบโรคนี้สูงขึ้นถึง 10% ในช่วง พ.ศ. 2533 - 2553 (ค.ศ. 1990 - 2010) ทั้งนี้ในปี ค.ศ. 2010 (พ.ศ.2553) มีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคนี้ทั่วโลกประมาณ 17 ล้านคน และองค์การอนามัยโลกในปี ค.ศ. 2012 (พ.ศ. 2555) รายงานมีผู้ป่วยทั่วโลกเสียชีวิตด้วยโรคนี้ประมาณ 6.7 ล้านคน โดยเป็ นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับ 2 รองจากโรค หัวใจ ส่วนในประเทศไทยสถิติปีพ.ศ. 2553 โรคหลอดเลือดสมองเป็ นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอัน ดับ 3 (10%) รองจากโรคมะเร็ง (19%) และโรคหัวใจ (12%) ตามลาดับ โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์พบได้บ่อยในอายุตั้งแต่ 45 ปี ขึ้นไป (95% ของผู้ป่วยทั้งหมด) โดยผู้ป่วย 2 ใน 3 มีอายุมากกว่า 65 ปี ทั้งนี้พบในผู้ชายบ่อยกว่าในผู้หญิงประมาณ 1.5 เท่า
  • 4. 4 โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์มีสาเหตุเกิดจากสมองขาดเลือดทันทีภายในระยะเวลาเป็น นาที หรือชั่วโมง ไม่ใช่ค่อยๆเป็ นค่อยๆไป ซึ่งเกิดได้จาก 2 สาเหตุสาคัญคือ หลอดเลือดแดงสมองอุดตันซึ่งเป็ นสาเหตุพบบ่อยกว่า และหลอดเลือดแดงสมองแตก (อ่านเพิ่มเติมในบทความเรื่อง โรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดและชนิดเลือดออก) หลอดเลือดแดงสมองอุดตันเช่น จากหลอดเลือดแดงสมองตีบตันจากโรคหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis) ซึ่งมีสาเหตุจากโรคไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน และการสูบบุ หรี่ หรือมีภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดแดงสมอง หรือภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดดาขา หรือ ลิ่มเลือดจากโรคหัวใจเต้นรัว เอเอฟ (AF, atrial fibrillation) หลุดลอยเข้ากระแสโลหิตและอุดตันหลอดเลือดสมอง หลอดเลือดแดงสมองแตกที่พบได้บ่อยคือ ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและในโรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง (Aneurysm) ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดอัมพาตอัมพฤกษ์มีอะไรบ้าง? จากการศึกษาของโครงการศึกษาระบาดวิทยาโรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทย พบว่า ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองหรืออัมพาตอัมพฤกษ์ของคนไทยกลุ่มศึกษาได้แ ก่ อายุ ตั้งแต่ 65 ปี ขึ้นไป เพศ ผู้ชายมีโอกาสเกิดโรคสูงกว่าผู้หญิง อาชีพ คนว่างงานหรือทางานบ้านโอกาสเกิดสูงกว่า ถิ่นที่พักอาศัย คนกรุงเทพฯเกิดโรคสูงกว่าคนภาคอื่นๆ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง อนึ่ง ในประเทศที่พัฒนาแล้วปัจจัยเสี่ยงนอกจากโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และไขมันในเลือดสูงเช่นเดียวกับในคนไทยแล้ว ยังได้แก่ การสูบบุหรี่ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรค หัวใจเต้นรัว เอเอฟ โรคหลอดเลือดแดงแข็ง โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง เคยมีอาการอัม พาต อัมพฤกษ์ชั่วคราว (สมองขาดเลือดชั่วคราว) มาแล้ว และอาจจากพันธุกรรม เพราะพบโรคได้สูงขึ้นในคนมีประวัติครอบครัวเป็ นโรคนี้ อาการจากโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์เป็นอาการที่เกิดทันที เป็ นนาทีหรือชั่วโมง โดยอา การขึ้นกับตาแหน่งสมองส่วนที่ขาดเลือด ซึ่งที่พบบ่อยได้แก่ แขน ขา ด้านเดียวกันอ่อนแรงทันที แขน ขาด้านเดียวกัน ใบหน้า ชา สับสน พูดไม่ชัด หรือพูดไม่ได้ อาจมีตาพร่า มองเห็นภาพไม่ชัด หรือเห็นภาพเพียงบางส่วน หรือเห็นภาพได้แคบลง
  • 5. 5 อาจหายใจเหนื่อยหอบ ติดขัด/หายใจลาบาก มึนงง วิงเวียน ทรงตัวไม่ได้ ปวดศีรษะรุนแรงทันที ถ้าเกิดจากมีเลือดออกในสมอง ความดันในสมองมักขึ้นสูงส่งผลให้เกิดคลื่นไส้อาเจียน เมื่อมีอาการมาก อาจหมดสติ โคม่า และเสียชีวิต (ตาย) ในที่สุด อนึ่ง อาการสาคัญที่สุดที่ช่วยการวินิจฉัยโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์ประกอบด้วย 4 อาการหลักที่เรียกว่า ฟาต (FAST) คือ Facial weakness (ใบหน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว) Arm weakness (แขนอ่อนแรง ไม่มีแรง) Speech difficult (พูดไม่ชัด พูดไม่ได้) และ Time to act (ทุกอาการเกิดพร้อมกันทันที) ซึ่งเมื่อมีอาการดังกล่าวให้รีบไปโรงพยาบาลทันที่ โทรศัพท์เรียกรถพยาบาลฉุกเฉินเบอร์เดียวทั่วประเทศไทยคือ “โทรฯ 1669” สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติกระทรวงสาธารณสุข (สพฉ.) ฟรีตลอด 24 ชั่วโมง แพทย์วินิจฉัยโรคอัมพาตอัมพฤกษ์ได้จาก ประวัติอาการ การตรวจวัดความดันโลหิต จับชีพจร การตรวจร่างกาย การตรวจร่างกายทางระบบประสาท และวินิจฉัยสาเหตุได้จากประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ ประวัติสูบบุหรี่ การตรวจดูค่าน้าตาลและไขมันในเลือด และการตรวจภาพสมองด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือคลื่นแม่เหล็กเอมอาร์ไอ และอาจมีการตรวจอื่นๆเพิ่มเติม ทั้งนี้ขึ้นกับดุลพินิจของแพทย์ แนวทางการรักษาโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์คือ การรักษาสาเหตุเช่น ผ่าตัดสมองเมื่อเกิดจากหลอดเลือดสมองแตก ใส่สารอุดตันเข้าหลอดเลือดเมื่อเกิดจากโรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง ให้ยาละลายลิ่มเลือดเมื่อเกิดจากลิ่มเลือดอุดตัน นอกจากนั้นคือ ให้การรักษาเพื่อป้องกันการเกิดโรคซ้าเช่น ให้ยาลดการแข็งตัวของเลือดเพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือด (เช่น แอสไพริน) ให้การรักษาควบคุมโรคต่างๆที่เป็นสาเหตุเช่น รักษาควบคุมโรคความดันโล หิตสูง โรคเบาหวาน และโรคไขมันในเลือดสูง และการทากายภาพบาบัดฟื้นฟูกล้ามเนื้อแขน/ขาและ/หรือการฝึกพูด ผลข้างเคียง (ผลแทรกซ้อน) จากโรคอัมพาตและโรคอัมพฤกษ์คือ คุณภาพชีวิตลดลง ความพิการ ความจา ความคิด สติปัญญาด้อยลง
  • 6. 6 ปัญหาในการทางาน รายได้และค่ารักษา พยาบาล ซึ่งทั้งหมดส่งผลต่อทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็ นอย่างยิ่ง โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์เป็นโรครุนแรง ส่งผลให้เสียชีวิตได้ และเมื่อรอดชีวิตมักเกิดความพิการ ซึ่งส่งผลให้เคลื่อนไหวได้น้อย ช่วยตัวเองได้น้อย จึงเพิ่มโอกาสเกิดการติดเชื้อรุน แรงได้สูงเช่น ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินปัสสาวะ ดังนั้น โรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์จึงเป็ นโรคที่ส่งผลให้เกิดปัญหาทั้งทางสาธารณสุข สังคม และครอบครัว การพบแพทย์คือ เมื่อมีอาการดังกล่าวควรต้องรีบไปโรงพยาบาลเป็ นการฉุกเฉินเสมอ เพราะเมื่อได้รับการรักษาได้ทัน อาจรอดชีวิตและอาจรอดจากความพิการได้ ปฏิบัติตามแพทย์/พยาบาลแนะนา พยายามเคลื่อนไหวร่างกายเท่าที่ทาได้เสมอ ทากายภาพบาบัดตามคาแนะนาของแพทย์/พยาบาล/นักกายภาพบาบัดสม่าเสมอ อย่าหมดกาลังใจ เพราะอาการต่างๆจะค่อยๆดีขึ้นช้าๆ แต่โอกาสเป็นปกติมีได้น้อย กินยาต่างๆให้ครบถ้วน ถูกต้อง ไม่ขาดยา เพื่อป้องกันโรคเกิดเป็นซ้า รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน (สุขบัญญัติแห่งชาติ) เพื่อลดโอกาสติดเชื้อ และเพื่อการมีสุข ภาพจิตที่ดี เข้าใจในธรรมชาติของโรค ยอมรับความจริง ปรับตัวให้เข้ากับสภาพ เพื่อลดปัญหาต่อตน เองและต่อครอบครัว หาเครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆเพื่อการช่วยเหลือตนเอง จัดบ้าน ห้องพัก และห้องน้าเพื่อช่วยตัวเองให้ได้มากที่สุด เพื่อลดภาระครอบครัว ควบคุมโรคต่างๆที่เป็ นสาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง พบแพทย์ตามนัดเสมอและรีบพบก่อนนัดเมื่ออาการต่างๆเลวลง หรือผิดไปจากเดิม หรือ เมื่อกังวลในอาการ รีบพบแพทย์เมื่อมีไข้สูงเพราะเป็ นอาการจากการติดเชื้อ ซึ่งควรต้องรีบรักษาเพราะดัง กล่าวแล้วว่า มักเป็นการติดเชื้อรุนแรง การป้ องกันโรคอัมพาตโรคอัมพฤกษ์คือ การป้ องกัน/หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวแล้ว ที่สาคัญคือ ป้ องกันโรคหลอดเลือดแดงแข็งด้วยการไม่สูบบุหรี่ เลิกบุหรี่ และจากัดอาหารไขมัน ป้ องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง และโรคเบาหวาน โดยกินอาหารมีประโยชน์ห้าหมู่ทุกวัน ในปริมาณพอควรที่ไม่ทาให้เกิดโรคอ้วน จากัดอาหารไขมันและอาหารแป้ ง น้าตาล อาหารเค็ม/เกลือ เพิ่มผักและผลไม้ (ไม่หวานจัด) ออกกาลังกายสม่าเสมอตามควรกับสุขภาพทุกวัน ในคนปกติประมาณ 30 นาทีต่อวัน ตรวจสุขภาพประจาปี เพื่อตรวจความดันโลหิต โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือด และโรค หัวใจ เพื่อให้การรักษาควบคุมโรคแต่เนิ่นๆ กินยาเพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือดตามแพทย์แนะนา
  • 7. 7 แหล่งอ้างอิง 1. CDC in Thailand http://www.cdc.gov/globalhealth/countries/thailand/ [2015,Mach28] 2. Poungvarin, N. et al. (2011). Prevalence of stroke and stroke risk factors in Thailands: Thai Epidemiologic Stroke (TES) Study. J Med Assoc Thai.94, 427-436. 3. Braunwald, E., Fauci, A., Kasper, L., Hauser, S., Longo, D., and Jameson, J. (2001). Harrison’s principles of internal medicine (15th ed.). New York: McGraw-Hill. 4. Lambert, M. (2011).AHA/ASA guidelines on prevention of recurrent stroke. Am Fam Physician. 83, 993-1001. 5. Stroke . http://en.wikipedia.org/wiki/Stroke[2015,March28]. 6. The top 10 cause of dead http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs310/en/[2015,March28 ] Updated 2015, March 28 วิกิโรควิกิยาสุขภาพเด็กสุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพผู้หญิงและความงามเกร็ดสุขภาพสุข ภาพทั่วไปเพศศึกษาBLOG