SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงานภัยร้ายของโรคความดันโลหิตสูง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ พงศ์ภัทร์ทิพวัยเลขที่ 40 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายพงศ์ภัทร์ ทิพวัยเลขที่ 40
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) : ภัยร้ายจากความดันโลหิตสูง
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) : Threatfrom Hypertension
ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน: นายพงศ์ภัทร์ ทิพวัยเลขที่ 40
ชื่อที่ปรึกษา: ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ความดันโลหิตสูงเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สาคัญทางสาธารณสุขที่ควรได้รับการเอาใจใส่ดูแล
เพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น โรคหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมองและโรคไตวายระยะสุดท้าย พื้นฐานการดูแลสุขภาพที่สาคัญสาหรับการควบคุมความ
ดันโลหิตสูง
ได้แก่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพของตนเองและการรักษาโดยการรับประทานยา การดูแลสุขภา
พดังกล่าวจะทาให้ผู้มีภาวะความดันโลหิตสูงมีสุขภาพที่ดีและสามารถอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุข
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง
2. เพื่อใช้เป็นสื้อในการศึกษาสาหรับผู้ที่สนใจในเรื่องโรคความดันโลหิตสูง
3. เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องภัยร้ายจากความดันโลหิตสูง ผ่านสื่อเว็บไซต์ www.blogger.com
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1)ความดันโลหิตสูงคืออะไร
ความดันโลหิต
ความดันโลหิต หมายถึง แรงดันของกระแสเลือดที่กระทบต่อผนังหลอดเลือดแดงซึ่งเกิดจากการสูบฉีดของหัวใจ
(คล้ายแรงลมที่ดันผนังของยางรถเมื่อเราสูบลมเข้า) ซึ่งสามารถวัดได้โดยการใช้เครื่องวัดความดัน
(Sphygmomanometer) วัดที่แขน และมีค่าที่วัดได้ 2ค่า คือ
1. ความดันช่วงบน หรือ ความดันซิสโตลี (Systolic blood pressure) หมายถึง
แรงดันเลือดในขณะที่หัวใจบีบตัว ซึ่งอาจจะสูงตามอายุ
และความดันช่วงบนของคนคนเดียวกันอาจมีค่าแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ตามท่าของร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ และปริมาณของการออกกาลังาย
2. ความดันช่วงล่าง หรือ ความดันไดแอสโตลี (Diastolic blood pressure) หมายถึง
แรงดันเลือดในขณะที่หัวใจคลายตัว
ในปัจจุบันได้มีการกาหนดค่าความดันโลหิตปกติและระดับความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงสาหรับ
ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
2)ความดันโลหิตสูงส่งผลกระทบอย่างไร
อาการความดันโลหิตสูง
ในรายที่เป็นความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ (พบได้เป็นส่วนใหญ่)
ส่วนใหญ่จะมีไม่อาการแสดงแต่อย่างใด และมักตรวจพบได้โดยบังเอิญจากการตรวจคัดกรองโรคหรือเมื่อมาพบแ
พทย์ด้วยปัญหาอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง
 มีส่วนน้อยที่อาจมีอาการปวดมึนท้ายทอย ตึงที่ต้นคอ เวียนศีรษะ ซึ่งมักจะเป็นตอนตื่นนอนใหม่ๆ
พอตอนสายอาการจะทุเลาไปเอง
 บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะตุบ ๆแบบไมเกรน
 ส่วนในรายที่เป็นมานาน ๆหรือมีความดันโลหิตสูงมาก ๆอาจจะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
ใจสั่น นอนไม่หลับ ตามัว มือเท้าชา หรือมีเลือดกาเดาไหล
 หากปล่อยทิ้งไว้นาน ๆโดยไม่ได้รับการรักษา อาจแสดงอาการของภาวะแทรกซ้อนได้ เช่น
หอบเหนื่อย เจ็บหน้าอก บวม แขนขาเป็นอัมพาต เป็นต้น
ส่วนในรายที่เป็นความดันโลหิตสูงชนิดทราบสาเหตุ (พบได้เป็นส่วนน้อย)
อาจมีอาการแสดงของโรคที่เป็นสาเหตุ เช่น มีระดับความดันโลหิตแกว่งขึ้น ๆ ลง ๆร่วมกับมีอาการปวดศีรษะ
ใจสั่น และเหงื่อออกเป็นพัก ๆ(อาจเป็นเนื้องอกต่อมหมวกไตฟีโอโครโมไซโตมา), นอนกรนผิดปกติ
(อาจเป็นภาวะหยุดหายใจขณะหลับ), ต้นแขนและขาอ่อนแรงเป็นพัก ๆ
(อาจเป็นภาวะแอลโดสเตอโรนสูงชนิดปฐมภูมิ), ปวดหลังร่วมกับปัสสาวะขุ่นแดง (อาจเป็นนิ่วไต), รูปร่างอ้วนฉุ
หน้าอูม มีไขมัน (หนอกควาย) ที่หลังคอ และมีประวัติการรับประทานยาสเตียรอยด์ ยาชุด หรือยาลูกกลอนมาก่อน
(อาจเป็นโรคคุชชิง) เป็นต้น
3)ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง
หากไม่ได้รับการักษาหรือปล่อยให้ความโลหิตสูงเป็นเวลานาน ๆ
ผู้ป่วยมักจะเกิดความผิดปกติของอวัยวะที่สาคัญต่าง ๆ ตามมา เช่น สมอง ประสาทตา หัวใจ ไต
หลอดเลือดแดงใหญ่ และหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความพิการและเสียชีวิตได้
เนื่องจากความดันโลหิตสูงจะทาให้หลอดเลือดแดงแทบทุกส่วนของร่างกายเสื่อม เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง
(Atherosclerosis) หลอดเลือดตีบ เลือดไปเลี้ยงอวัยวะไม่ได้ โดยภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญนั้น ได้แก่
 สมอง อาจเกิดภาวะหลอดเลือดสมองตีบหรือแตก
กลายเป็นโรคอัมพาตครึ่งซีกซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย
บางรายถ้าเป็นเรื้อรังอาจกลายเป็นโรคความจาเป็นเสื่อม สมาธิลดลง นอกจากนี้
ในรายที่มีหลอดเลือดฝอยในสมองส่วนสาคัญแตกก็อาจทาให้เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว
หรือในรายที่มีความดันโลหิตสูงรุนแรงที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันก็อาจทาให้เกิดอาการปวดศีรษะ ซึม เพ้อชัก
หรือหมดสติได้ ซึ่งเรียกว่า “Hypertensive encephalopathy”
 หัวใจ จะทาให้หัวใจห้องล่างซ้ายโต (LVH)
ซึ่งถ้าปล่อยให้เป็นมากขึ้นจะทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนร้ายแรงอื่น ๆ เกี่ยวกับหัวใจตามมาได้
และโรคนี้ยังอาจทาให้หลอดเลือดที่เลี้ยงหัวใจตีบกลายเป็นโรคหัวใจขาดเลือด มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ซึ่งถ้าเป็นรุนแรงอาจเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย นอกจากนี้ ยังอาจทาให้เกิดภาวะหัวใจวาย
ซึ่งจะทาให้มีอาการบวม หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ ส่วนในรายที่มีความดันโลหิ ตสูงรุนแรง
อาจตรวจพบหัวใจเต้นมากกว่า 120 ครั้งต่อนาที และจังหวะไม่สม่าเสมอจากหัวใจห้องบนเต้นแผ่นระรัว
 ตา จะเกิดภาวะเสื่อมของหลอดเลือดแดงภายในลูกตาอย่างช้า ๆในระยะแรกหลอดเลือดจะตีบ
แต่ต่อมาอาจแตกมีเลือดออกที่ตา ทาให้ประสาทตาเสื่อม ตามัวลงเรื่อย ๆ จนถึงขั้นตาบอดได้
 ไต อาจเกิดภาวะไตวายเรื้อรัง เนื่องจากหลอดเลือดแดงแข็ง เลือดไปเลี้ยงไตไม่พอ
ซึ่งไตที่วายจะยิ่งทาให้ความโลหิตของผู้ป่วยสูงขึ้น กลายเป็นวงจรที่เลวร้าย
 หลอดเลือดแดงใหญ่และหลอดเลือดแดงส่วนปลาย หลอดเลือดแดงใหญ่เกิดภาวะหลอดเลือดแดง
แข็ง ทาให้เกิดภาวะหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง และภาวะเลือดเซาะผนังหลอดเลือดแดงใหญ่
ซึ่งอาจทาให้เกิดอันตรายถึงเสียชีวิตได้ นอกจากนี้
หลอดเลือดแดงส่วนที่มาเลี้ยงขาและปลายเท้าอาจเกิดภาวะแข็งตัวและตีบได้
(โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีการสูบบุหรี่ร่วมด้วย) ทาให้เลือดไปเลี้ยงที่ขาและปลายเท้าได้น้อย
อาจเป็นตะคริวบ่อย หรือปวดน่องขณะเดินมาก ๆ
หากหลอดเลือดแดงเกิดการอุดตันก็อาจทาให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นขาดเลือดจนกลายเป็นเนื้อตายเน่า
(Gangrene) ได้
ภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้จะเกิดขึ้นรวดเร็วหรือรุนแรงเพียงใดนั้นจะขึ้นอยู่กับความรุนแรงและระยะของโรค
ถ้าผู้ป่วยสามารถควบคุมความดันให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ก็อาจป้องกันภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้หรือทาให้ภาวะแท
รกซ้อนที่เกิดขึ้นลดความรุนแรงลงได้ ส่วนในรายที่เป็นเพียงเล็กน้อย
หากปล่อยทิ้งไว้ไม่รักษาการเกิดภาวะแทรกซ้อนก็อาจใช้เวลานานถึง 7-10 ปี แต่ในรายที่มีความดันสูงมาก ๆ
ก็อาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้รวดเร็ว
และผู้ป่วยอาจเสียชีวิตได้ภายในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปี (ถ้ารุนแรงมากอาจเสียชีวิตภายใน 6-8เดือน) นอกจากนี้
ผู้ป่วยที่สูบบุหรี่หรือดื่มแอลกอฮอล์จัด มีโรคอื่นร่วมด้วย (เช่นโรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ)
ก็อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้เร็วยิ่งขึ้น ผู้ป่วยจึงควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและควบคุมโรคเหล่านี้ควบคู่กันไปด้วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อโครงานตามความสนใจ
2. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ
และนาข้อมูลที่ได้มาเสนอครูที่ปรึกษาพร้อมทั้งตั้งคาถามและสมมติฐาน
3. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อโดยค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ
4. ลงมือปฏบัติตามแผนโครงร่าง
5. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพร้อมแก้ไขข้อบกพร่อง
6. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์ส่วนตัวและโรงเรียน
2. โปรแกรม Microsoft Word
3. บราวเซอร์ และเว็บไซต์ในการค้นหาข้อมูล
งบประมาณ
ไม่มีจ่ายใช้จ่าย เนื่องจากในอุปกรณ์ส่วนตัวและสาธารณะ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง
2. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวประจาวันได้
3. นาความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้อื่น
4. ผู้ที่สนใจบทความสามารถนาความรู้ไปใช้ได้จริง
สถานที่ดาเนินการ : โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. หนังสือตาราการตรวจรักษาโรคทั่วไป 2. “ความดันโลหิตสูง (Hypertension)”. (นพ.สุรเกียรติ อาชานานุ
ภาพ). หน้า680-691.
2. หาหมอดอทคอม. “ความดันโลหิตสูง (Hypertension)”. (ศ.เกียรติคุณ พญ.พวงทอง
ไกรพิบูลย์). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: haamor.com. [03 ต.ค. 2017].
3. พบแพทย์. “ความดันโลหิตสูง”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.pobpad.com. [05 ต.ค. 2017].
สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. “ประเด็นสารรณรงค์วันความดันโลหิตสูงโลก 2556”. (ธาริณี
พังจุนันท์, นิตยาพันธุเวทย์). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.thaincd.com. [05 ต.ค. 2017]
1 คิดหัวข้อโครงงาน /
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / /
3 จัดทาโครงร่างงาน /
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน /
5 ปรับปรุงทดสอบ /
6 การทาเอกสารรายงาน /
7 ประเมินผลงาน /
8 นาเสนอโครงงาน /

More Related Content

Similar to 2562 final-projectpongpat40-190923163452

2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
ssuser5d7fc5
 

Similar to 2562 final-projectpongpat40-190923163452 (20)

กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
Project
ProjectProject
Project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
โครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรโครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอร
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
Fill
FillFill
Fill
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 

2562 final-projectpongpat40-190923163452

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงานภัยร้ายของโรคความดันโลหิตสูง ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ พงศ์ภัทร์ทิพวัยเลขที่ 40 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นายพงศ์ภัทร์ ทิพวัยเลขที่ 40 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) : ภัยร้ายจากความดันโลหิตสูง ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) : Threatfrom Hypertension ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน: นายพงศ์ภัทร์ ทิพวัยเลขที่ 40 ชื่อที่ปรึกษา: ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ความดันโลหิตสูงเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สาคัญทางสาธารณสุขที่ควรได้รับการเอาใจใส่ดูแล เพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองและโรคไตวายระยะสุดท้าย พื้นฐานการดูแลสุขภาพที่สาคัญสาหรับการควบคุมความ ดันโลหิตสูง ได้แก่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพของตนเองและการรักษาโดยการรับประทานยา การดูแลสุขภา พดังกล่าวจะทาให้ผู้มีภาวะความดันโลหิตสูงมีสุขภาพที่ดีและสามารถอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุข วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง 2. เพื่อใช้เป็นสื้อในการศึกษาสาหรับผู้ที่สนใจในเรื่องโรคความดันโลหิตสูง 3. เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องภัยร้ายจากความดันโลหิตสูง ผ่านสื่อเว็บไซต์ www.blogger.com
  • 3. หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1)ความดันโลหิตสูงคืออะไร ความดันโลหิต ความดันโลหิต หมายถึง แรงดันของกระแสเลือดที่กระทบต่อผนังหลอดเลือดแดงซึ่งเกิดจากการสูบฉีดของหัวใจ (คล้ายแรงลมที่ดันผนังของยางรถเมื่อเราสูบลมเข้า) ซึ่งสามารถวัดได้โดยการใช้เครื่องวัดความดัน (Sphygmomanometer) วัดที่แขน และมีค่าที่วัดได้ 2ค่า คือ 1. ความดันช่วงบน หรือ ความดันซิสโตลี (Systolic blood pressure) หมายถึง แรงดันเลือดในขณะที่หัวใจบีบตัว ซึ่งอาจจะสูงตามอายุ และความดันช่วงบนของคนคนเดียวกันอาจมีค่าแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ตามท่าของร่างกาย การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ และปริมาณของการออกกาลังาย 2. ความดันช่วงล่าง หรือ ความดันไดแอสโตลี (Diastolic blood pressure) หมายถึง แรงดันเลือดในขณะที่หัวใจคลายตัว ในปัจจุบันได้มีการกาหนดค่าความดันโลหิตปกติและระดับความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงสาหรับ ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป 2)ความดันโลหิตสูงส่งผลกระทบอย่างไร อาการความดันโลหิตสูง ในรายที่เป็นความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ (พบได้เป็นส่วนใหญ่) ส่วนใหญ่จะมีไม่อาการแสดงแต่อย่างใด และมักตรวจพบได้โดยบังเอิญจากการตรวจคัดกรองโรคหรือเมื่อมาพบแ พทย์ด้วยปัญหาอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง  มีส่วนน้อยที่อาจมีอาการปวดมึนท้ายทอย ตึงที่ต้นคอ เวียนศีรษะ ซึ่งมักจะเป็นตอนตื่นนอนใหม่ๆ พอตอนสายอาการจะทุเลาไปเอง  บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะตุบ ๆแบบไมเกรน  ส่วนในรายที่เป็นมานาน ๆหรือมีความดันโลหิตสูงมาก ๆอาจจะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น นอนไม่หลับ ตามัว มือเท้าชา หรือมีเลือดกาเดาไหล  หากปล่อยทิ้งไว้นาน ๆโดยไม่ได้รับการรักษา อาจแสดงอาการของภาวะแทรกซ้อนได้ เช่น หอบเหนื่อย เจ็บหน้าอก บวม แขนขาเป็นอัมพาต เป็นต้น ส่วนในรายที่เป็นความดันโลหิตสูงชนิดทราบสาเหตุ (พบได้เป็นส่วนน้อย) อาจมีอาการแสดงของโรคที่เป็นสาเหตุ เช่น มีระดับความดันโลหิตแกว่งขึ้น ๆ ลง ๆร่วมกับมีอาการปวดศีรษะ ใจสั่น และเหงื่อออกเป็นพัก ๆ(อาจเป็นเนื้องอกต่อมหมวกไตฟีโอโครโมไซโตมา), นอนกรนผิดปกติ (อาจเป็นภาวะหยุดหายใจขณะหลับ), ต้นแขนและขาอ่อนแรงเป็นพัก ๆ
  • 4. (อาจเป็นภาวะแอลโดสเตอโรนสูงชนิดปฐมภูมิ), ปวดหลังร่วมกับปัสสาวะขุ่นแดง (อาจเป็นนิ่วไต), รูปร่างอ้วนฉุ หน้าอูม มีไขมัน (หนอกควาย) ที่หลังคอ และมีประวัติการรับประทานยาสเตียรอยด์ ยาชุด หรือยาลูกกลอนมาก่อน (อาจเป็นโรคคุชชิง) เป็นต้น 3)ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง หากไม่ได้รับการักษาหรือปล่อยให้ความโลหิตสูงเป็นเวลานาน ๆ ผู้ป่วยมักจะเกิดความผิดปกติของอวัยวะที่สาคัญต่าง ๆ ตามมา เช่น สมอง ประสาทตา หัวใจ ไต หลอดเลือดแดงใหญ่ และหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความพิการและเสียชีวิตได้ เนื่องจากความดันโลหิตสูงจะทาให้หลอดเลือดแดงแทบทุกส่วนของร่างกายเสื่อม เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis) หลอดเลือดตีบ เลือดไปเลี้ยงอวัยวะไม่ได้ โดยภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญนั้น ได้แก่  สมอง อาจเกิดภาวะหลอดเลือดสมองตีบหรือแตก กลายเป็นโรคอัมพาตครึ่งซีกซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย บางรายถ้าเป็นเรื้อรังอาจกลายเป็นโรคความจาเป็นเสื่อม สมาธิลดลง นอกจากนี้ ในรายที่มีหลอดเลือดฝอยในสมองส่วนสาคัญแตกก็อาจทาให้เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว หรือในรายที่มีความดันโลหิตสูงรุนแรงที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันก็อาจทาให้เกิดอาการปวดศีรษะ ซึม เพ้อชัก หรือหมดสติได้ ซึ่งเรียกว่า “Hypertensive encephalopathy”  หัวใจ จะทาให้หัวใจห้องล่างซ้ายโต (LVH) ซึ่งถ้าปล่อยให้เป็นมากขึ้นจะทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนร้ายแรงอื่น ๆ เกี่ยวกับหัวใจตามมาได้ และโรคนี้ยังอาจทาให้หลอดเลือดที่เลี้ยงหัวใจตีบกลายเป็นโรคหัวใจขาดเลือด มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ซึ่งถ้าเป็นรุนแรงอาจเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย นอกจากนี้ ยังอาจทาให้เกิดภาวะหัวใจวาย ซึ่งจะทาให้มีอาการบวม หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ ส่วนในรายที่มีความดันโลหิ ตสูงรุนแรง อาจตรวจพบหัวใจเต้นมากกว่า 120 ครั้งต่อนาที และจังหวะไม่สม่าเสมอจากหัวใจห้องบนเต้นแผ่นระรัว  ตา จะเกิดภาวะเสื่อมของหลอดเลือดแดงภายในลูกตาอย่างช้า ๆในระยะแรกหลอดเลือดจะตีบ แต่ต่อมาอาจแตกมีเลือดออกที่ตา ทาให้ประสาทตาเสื่อม ตามัวลงเรื่อย ๆ จนถึงขั้นตาบอดได้  ไต อาจเกิดภาวะไตวายเรื้อรัง เนื่องจากหลอดเลือดแดงแข็ง เลือดไปเลี้ยงไตไม่พอ ซึ่งไตที่วายจะยิ่งทาให้ความโลหิตของผู้ป่วยสูงขึ้น กลายเป็นวงจรที่เลวร้าย  หลอดเลือดแดงใหญ่และหลอดเลือดแดงส่วนปลาย หลอดเลือดแดงใหญ่เกิดภาวะหลอดเลือดแดง แข็ง ทาให้เกิดภาวะหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง และภาวะเลือดเซาะผนังหลอดเลือดแดงใหญ่ ซึ่งอาจทาให้เกิดอันตรายถึงเสียชีวิตได้ นอกจากนี้ หลอดเลือดแดงส่วนที่มาเลี้ยงขาและปลายเท้าอาจเกิดภาวะแข็งตัวและตีบได้ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีการสูบบุหรี่ร่วมด้วย) ทาให้เลือดไปเลี้ยงที่ขาและปลายเท้าได้น้อย อาจเป็นตะคริวบ่อย หรือปวดน่องขณะเดินมาก ๆ
  • 5. หากหลอดเลือดแดงเกิดการอุดตันก็อาจทาให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นขาดเลือดจนกลายเป็นเนื้อตายเน่า (Gangrene) ได้ ภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้จะเกิดขึ้นรวดเร็วหรือรุนแรงเพียงใดนั้นจะขึ้นอยู่กับความรุนแรงและระยะของโรค ถ้าผู้ป่วยสามารถควบคุมความดันให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ก็อาจป้องกันภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้หรือทาให้ภาวะแท รกซ้อนที่เกิดขึ้นลดความรุนแรงลงได้ ส่วนในรายที่เป็นเพียงเล็กน้อย หากปล่อยทิ้งไว้ไม่รักษาการเกิดภาวะแทรกซ้อนก็อาจใช้เวลานานถึง 7-10 ปี แต่ในรายที่มีความดันสูงมาก ๆ ก็อาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้รวดเร็ว และผู้ป่วยอาจเสียชีวิตได้ภายในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปี (ถ้ารุนแรงมากอาจเสียชีวิตภายใน 6-8เดือน) นอกจากนี้ ผู้ป่วยที่สูบบุหรี่หรือดื่มแอลกอฮอล์จัด มีโรคอื่นร่วมด้วย (เช่นโรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ) ก็อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้เร็วยิ่งขึ้น ผู้ป่วยจึงควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและควบคุมโรคเหล่านี้ควบคู่กันไปด้วย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดหัวข้อโครงานตามความสนใจ 2. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ และนาข้อมูลที่ได้มาเสนอครูที่ปรึกษาพร้อมทั้งตั้งคาถามและสมมติฐาน 3. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อโดยค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ 4. ลงมือปฏบัติตามแผนโครงร่าง 5. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพร้อมแก้ไขข้อบกพร่อง 6. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ส่วนตัวและโรงเรียน 2. โปรแกรม Microsoft Word 3. บราวเซอร์ และเว็บไซต์ในการค้นหาข้อมูล งบประมาณ ไม่มีจ่ายใช้จ่าย เนื่องจากในอุปกรณ์ส่วนตัวและสาธารณะ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17
  • 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง 2. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวประจาวันได้ 3. นาความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้อื่น 4. ผู้ที่สนใจบทความสามารถนาความรู้ไปใช้ได้จริง สถานที่ดาเนินการ : โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. หนังสือตาราการตรวจรักษาโรคทั่วไป 2. “ความดันโลหิตสูง (Hypertension)”. (นพ.สุรเกียรติ อาชานานุ ภาพ). หน้า680-691. 2. หาหมอดอทคอม. “ความดันโลหิตสูง (Hypertension)”. (ศ.เกียรติคุณ พญ.พวงทอง ไกรพิบูลย์). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: haamor.com. [03 ต.ค. 2017]. 3. พบแพทย์. “ความดันโลหิตสูง”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.pobpad.com. [05 ต.ค. 2017]. สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. “ประเด็นสารรณรงค์วันความดันโลหิตสูงโลก 2556”. (ธาริณี พังจุนันท์, นิตยาพันธุเวทย์). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.thaincd.com. [05 ต.ค. 2017] 1 คิดหัวข้อโครงงาน / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / 3 จัดทาโครงร่างงาน / 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / 5 ปรับปรุงทดสอบ / 6 การทาเอกสารรายงาน / 7 ประเมินผลงาน / 8 นาเสนอโครงงาน /